Transcript for:
การเลือกหุ้นรายตัวสำหรับ New Gen Investor

ไม่มีหุ้นตัวไหนดี 100% นะคะเหมือนเราหาผู้ชีวิตเนอะ แล้วจะหวังใคร Perfect 100%คงยากนะคะ ทีนี้คำถามก็คือ เรารับความเสี่ยงได้ไหมและเราบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างไรแต่เชื่อไหมว่า เรามักตกม้าตาย ตอนที่เราเข้าไปซื้อ ไปขายหุ้นค่ะเพราะเหตุผลจะหายไปอารมณ์จะมาแบบเต็มๆ เลยนะคะวันนี้อยากจะเอาใจคนที่อยากจะซื้อหุ้นรายตัวกันสักหน่อยนะคะแต่ว่าก็ไม่รู้จะเลือกยังไงมี Checklist 4 ข้อนะคะที่อยากให้ New ทุกคนลองไปทำตามดูแล้วก็ไปเลือกหุ้นในแบบของตัวเอง New Gen InvestorNew Gen Investor EP นี้นะคะ อยากชวนทุกคนมาเลือกหุ้นรายตัวกันนะคะต้องบอกเลยนะคะว่าโดยปกติแล้วเนี่ย การลงทุนมีหลายรูปแบบเราคุยกันไปแล้วแต่ว่าวันนี้เนี่ย อยากจะเอาใจคนที่อยากจะซื้อหุ้นรายตัวกันสักหน่อยนะคะแต่ว่าก็ไม่รู้จะเลือก จริงๆแล้วการซื้อหุ้นรายตัวจะว่าง่ายก็ง่าย จะว่ายากก็ยากนะคะแต่ก็ต้องยอมรับว่าอาจจะมีความเสี่ยงที่มากกว่าการซื้อหุ้นผ่านกองทุนรวมหรือว่าผ่าน ETF นะคะแต่อย่างไรก็ตามเราเป็นนิวเจนอยู่แล้วนะคะ เราก็ต้องทำความเข้าใจ เราก็ต้องเรียนรู้หลากหลายรูปแบบเพื่อหาสไตล์ให้เหมาะกับตัวเองมากที่สุดกันนะคะทีนี้ก่อนอื่น ก่อนที่เราจะไปเลือกหุ้นเนี่ยนะคะโดยปกติแล้วเชื่อเหลือเกินว่า เวลาใครจะเลือกหุ้นรายตัวเนี่ยก็มักจะไปฟังนักวิเคราะห์บ้าง ไปฟังเซียนหุ้นบ้างไปฟังนักลงทุนที่เราชื่นชอบบ้าง แล้วก็อาจจะเลือกหุ้นตามคำแนะนำแต่ว่าอย่างนั้นเองอาจจะไม่ใช่คำตอบที่ถูกต้องสักเท่าไหร่ค่ะเพราะว่าการซื้อหุ้นตามคนอื่นเนี่ย ก็มักจะมี... มีปัญหาตามมาหลายข้อทีเดียวค่ะ ข้อแรกเลยนะคะที่มักจะเป็นปัญหาของการซื้อหุ้นตามคนอื่นก็คือจริงๆเราไม่ค่อยรู้หรอกว่าหุ้นตัวนั้นเนี่ยดียังไงไม่ดียังไงมีโอกาสแบบไหนแล้วก็มีความเสียงอะไรบ้างแต่เราซื้อเพราะเราเชื่อคนที่แนะนำก็เลยซื้อตามไปนะคะแต่ไม่ใช่แค่ข้อแรกเท่านั้นค่ะจะมีข้อ 2 3 4 ตามมาปัญห เพราะไม่รู้ว่ากำไรมาจากไหน กำไรจะยั่งยืนหรือเปล่ากำไรจะไปต่อไหม กำไรสุดทางแล้วหรือยังอันนี้ถือว่าเป็นปัญหาเชิงบวกนะคะ คือมีกำไรก็ยังดีเนอะทีนี้มันมีปัญหาเชิงลดด้วยคือข้อที่ 3 ค่ะ ก็คือแล้วถ้าหุ้นมันขาดทุนล่ะ เราก็ไม่รู้แหละว่าตกลงมันขาดทุนจากอะไรการดำเนินธุรกิจหรือเปล่า จากการเปลี่ยนผู้บริหารไหมจากเรื่องของ disruption ที่เกิดขึ้นกับกิจการนั้นๆซึ่งพอเราไม่รู้ตั้งแต่แรกแล้วนะคะว่าหุ้นนั้นทำอะไร ทำธุรกิจอะไรรายได้เป็นอย่างไรมันก็เลยกลายเป็นปัญหาตามมาทั้งส่วนกำไรและส่วนขาดทุนค่ะดังนั้นการทำตามคนอื่นไปเรื่อยๆอาจจะเป็นปัญหาให้เราไม่ประสบความสำเร็จในโลกการลงทุนในการลงทุนหุ้นรายตัวได้ด้วยเหมือนกันหลังจากเรารู้แล้วว่าการซื้อหุ้นตามคนอื่นอาจจะไม่ค่อยเวิร์คคำถามคือเราควรทำอย่างไร มาจับมือทำกันนะคะวันนี้มีเช็คเลสต์ 4 ข้อนะคะที่อยากให้นิวเจนทุกคนลองไปทำตามดูแล้วก็ไปเลือกหุ้นในแบบ ของตัวเองนะคะ เพราะว่าอย่างที่บอกไวว่านี่เป็นเช็คลิสต์คร่าวๆ แล้วก็แต่ละคนน่าจะมีวิธีในการเลือกที่ไม่เหมือนกัน แม้จะมีเช็คลิสต์ที่เหมือนกันก็ตามนะคะเช็คลิสต์ข้อแรกเลยที่เราต้องรู้นะคะก่อนที่เราจะลงทุนก็คือ ต้องหาเทรนด์ให้เจอค่ะโดยปกติแล้วนะคะ เราลงทุนวันนี้แต่เพื่อผลตอบแทนในอนาคตถูกต้องไหมคะเพราะว่าถ้าเราตัดสินใจจะซื้อหุ้นของกิจการหนึ่งเราจะลงทุนในธุรกิจหนึ่ง หรือว่าใส่เงินไปกับสินค้าประเภทหนึ่งเนี่ย เราใส่เงินวันนี้เพื่อหวังให้อนาคตมันเติบโตขึ้นให้กิจการดีขึ้น ให้รายได้มากขึ้นให้กำไรโตขึ้น ให้เงินปันผลอยู่กับเราตลอดไปซึ่งแปลว่าเราลงทุนวันนี้เพื่อหวังผลในอนาคตดังนั้นเราต้องหาเทรนด์ของหุ้นของกิจการของสินทรัพย์ที่มีโอกาสเติบโตในอนาคตค่ะคำถามคือเราจะรู้ได้อย่างไร จริงๆถ้าย้อนกลับไปนะคะลองไปฟังก็ได้นะคะ EP5 เราคุยกันไปแล้วกับพี่แบงชะยานนท์นะคะว่าจริงๆเนี่ยมันมีเมกะเทรนด์ใหญ่ๆ ของโลกที่เกิดขึ้นในปีนี้ที่น่าสนใจประมาณสัก 4-5 เทรนด์ด้วยกันเทรนด์แรกคืออะไร เทรนด์แรกก็คือเรื่องของตัวการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างประชากรนะคะประชากรทั่วโลกเข้าสู่สังคมสูงวัยคนอายุยืนขึ้นแล้วก็เด็กเกิดใหม่ลดลงเทรนนี้ส่งผลอะไรต่อมิติของการลงทุนบ้างอันนี้เราต้องไปตามกันนะคะเทรนด์ที่ 2 คืออะไร ก็คือเรื่องของตัวอำนาจของโลกถูกเปลี่ยนแล้วก็ถูกปรับไปพอสมควรแต่ก่อนเนี่ยอาจจะ เรียกได้ว่าอเมริกาเป็นมหาลักษณะของโลกนะคะแต่วันนี้ต้องยอดบรรวมว่าอาจจะไม่ใช่แค่อเมริกาหรือว่าซีกโลกตะวันตกซีกโลกตะวันออก ไม่ว่าจะเป็นจีน เป็นอินเดีย กลับมีบทบัตรมากขึ้น รวมถึงญี่ปุ่นด้วยนะคะวันนี้เราอาจจะเห็นเรื่องของการ เปลี่ยนแปลงคั่วมหามนัฏเกิดขึ้นและนี่ก็จะส่งผลต่อมิติของเศรษฐกิจและการลงทุนเฟรนด์ที่ 3 ก็คือเรื่องของตัว Urbanization หรือว่าสังคมเมืองที่ไม่ได้กระจุกตัวอยู่แค่ในเมืองหลวงเพียงอย่างเดียวกระจายออกไป รอบนอกมากยิ่งขึ้นเทรนด์ที่ 4 นะคะก็คือเรื่องของตัวสังคมที่เกิดขึ้นเนี่ยวันนี้เราเห็นเรื่อง Climate Change หรือว่าการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศแล้วก็เรื่องของทรัพยากรต่างๆที่ขาดแคลร์แน่นอนค่ะว่ามันเป็นปัญหา ในมิติหนึ่ง แต่อีกด้านหนึ่งก็อาจจะเป็นโอกาสในการที่จะลงทุนด้วยเช่นกันและเทรนด์สุดท้ายนะคะก็คือเรื่องของตัวเทคโนโลยีค่ะที่ถือว่าเปลี่ยนโลกในหลายด้านค่ะพูดให้ง่ายที่สุดก็คือเรื่องของ AI นั่นเองนะคะทีนี้ข้อมูลนี้จากทาง PwC ที่ร่วมกับ World Economic Forum ที่เขาทำกันเนี่ยมันก็ทำให้เราเห็นภาพใหญ่และที่เกิดขึ้นคำถามต่อมาก็คือ แล้วเราจะรู้ได้ยังไงว่าเราจะจับเทรนด์ไหนและจะลงทุนหุ้นตัวไหนดีนะคะทีนี้การ การทำการบ้านแค่ดูเมกาเทรนด์อาจจะไม่พอนะคะจริงๆข้อมูลหนึ่งที่น่าสนใจอยากให้ทุกคนลองเข้าไปดูของทาง GartnerGartner เขาจะมีการรวบรวมนะคะว่าในช่วงเวลาที่แตกต่างไปแต่ละเทรนด์โดยเฉพาะเทคโนโลยีอย่างที่เกิดขึ้นล่าสุดเนี่ยใครอยู่สเตรนด์ไหนของเทรนด์แล้วนะคะลองดูภาพนี้ไปพร้อมกัน ถ้าเราเจาะลึกไปจะเห็นเลยว่า AI ก็มีหลายส่วนที่มีเทรนด์ที่แตกต่างกันบางก็อยู่ในเทรนด์ที่อาจจะค่อนข้างพีคแล้วคือไปถึงจุดพัฒนาที่ค่อนข้างสูงแล้วอย่างเช่นตัว Generative AI เป็นต้นบางส่วนเพิ่งจะเริ่มต้นด้วยซ้ำและอาจจะเป็นเทรนด์ที่ยั่งยืนต่อไปอีกมากกว่า 10 ปีอย่างเช่นตัว Neurosymbolic AI เป็นต้นแล้วก็มีอีกหลายเทรนด์ที่เดียวที่อาจจะเป็นเทรนด์ AI แต่ว่าระยะสั้นหน่อย 2-5 ปีอย่างเช่นจุดสีฟ้าที่เราเห็นกัน หรือบางส่วนอาจจะเป็นเทรนด์ที่ยาวหน่อย ประมาณ 5-10 ปี เหมือนจุดสีน้ำเงินในกราฟของ Gardner ที่เขาทำให้เราเห็นนี่เป็นตัวอย่างนึงเท่านั้นเอง ที่อยากให้ทุกคนลองไปดูกันว่า ถ้าเราพูดถึงเฉพาะเจาะจงเทรนด์สุดท้ายคือเทคโนโลยีแค่พูดถึง AI ก็มีหลายมิติให้เราได้ศึกษากันแล้ว เห็นไหมคะว่าการลองทุนหุ้นรายตัวไม่ใช่เรื่องง่ายขนาดนั้นนะคะแม้เรารู้เทรนด์แล้วก็ต้องมาเจาะเลือกในแต่ละเทรนด์นะคะว่าแต่ละเทรนด์นั้น ส่วนไหนอยู่ในช่วงเวลาของการขึ้น ส่วนไหนเป็นช่วงเวลาของการพีคหรือว่าส่วนไหนกำลังเป็นช่วงเวลาของการเติบโตไปได้ในระยะยาวนะคะสเต็ปที่สองค่ะ พอเราร่วมเห็นเทรนด์ที่ชัดเจนแล้วนะคะถ้าเราจับมือทำต่อเนื่องหลังจากเห็นเทรนด์แล้วเนี่ยอย่างที่สองอยากจะให้มองหาผู้นำของเทรนนั้นๆนะคะคือต้องยอมรับว่าผู้นำในวันนี้อาจจะกลายเป็นผู้ตามในอนาคตก็ได้เราเห็นหลายอุตสาหกรรมแล้วนะคะ ไม่ว่าจะกลายเป็นผู้ตามในอันตรี อาจจะเป็นอุตสาหกรรมยันยนต์ยักษ์ใหญ่ Toyota เคยเป็นเจ้าตลาดของรถยนต์ Ford SILแต่แล้ววันนี้เขากลับศูนย์สีสูญแบ่งกันตลาดให้กับรถยนต์ไฟฟ้าไม่ว่าจะเป็น Tesla หรือว่าแบรนด์จีนหรือแม้แต่ในส่วนของโทรศัพท์มือถือถ้าเราคุ้นเคยกันดีนะคะ นิวเจนอาจจะไม่ทันนะแต่ว่าอาจจะพอคุ้นๆ มันมีมือถือยี่ห้อหนึ่งจำกันได้ไหมก็คือ Nokia ค่ะNokia เป็นมือถือที่นิยมมากในยุคหนึ่ง ก็คือ ยุคพี่เองนะคะแต่ว่าวันนี้หลายคนอาจจะ... อาจจะไม่เคยจับ Nokia ด้วยซ้ำถามว่าเทรนด์ที่เกิดขึ้นพอเราเห็นผู้นำแล้วแล้วเราจะรู้ได้ยังไงว่าเขาจะเป็นผู้นำหรือผู้ตามในอนาคตนะคะอยากให้ไปดูภาพของ Nokia่าค่อนข้างชัดทีเดียวย้อนกลับไปปี 2010 ค่ะNokia มีส่วนแบ่งการตลาดมากที่สุดเลยคือประมาณสัก 40%ของ Market Share สมาร์ทโฟนทั่วโลกนะคะเรียกว่าเขาเป็นเจ้าตลาดค่ะแบรนด์อื่นนี้ตามมาแบบไม่เห็นฝุ่นเลยนะคะคือทิ้งห่างมากๆ แต่ว่าถ้าดูในปัจจุบันนี้ก็ต้องยอมรับนะคะว่าเราแทบจะไม่เห็น Nokia อยู่ใน Range ของการแข่งขันสมาร์ทโฟนอีกต่อไปแต่ว่าเขายังมีบริษัทอยู่นะคะ แต่ว่าก็ไปทำในด้านอื่นๆผู้นำตลาดกลับกลายเป็นบริษัทที่ในช่วงที่ Nokia โดดเด่นแทบจะไม่ได้อยู่ในสายตาด้วยซ้ำนะคะไม่ว่าจะเป็นส่วนของ Apple หรือว่าส่วนของ Samsung เป็นต้นสเต็ปที่ 3 พาทุกคนไปดูประวัติย้อนหลัง ไม่มีบริษัทไหนหรือกิจการไหนดี 100% นะคะคำถามคือ เรารับความเสี่ยงของกิจการนั้นได้ไหมนี่คือสิ่งที่คุณต้องตอบให้ได้ถามว่าจะรู้ได้ยังไงก็ย้อนกลับไปดูประวัติเขาหน่อยค่ะว่าที่ผ่านมาเขาเป็นยังไง เขาทำรายได้ได้สม่ำเสมอไหมเขามีวินัยทางการเงินหรือเปล่าในการที่จะบริหารจัดการหนี้สินของเขาหรือว่าเขาเป็นคนที่จ่ายปัญหาสม่ำเสมอมีการเติบโตที่ค่อนข้างมั่นคงหรือไม่นะคะ ผู้บริหารมีประวัติดีไหม รวมถึงที่ผ่านมางบกันเงินของเขามีปัญหาหรือเปล่าหรือว่าเคยมีประวัติอะไรที่ไม่ดีเกิดขึ้นบ้างเราก็ควรจะทำการบ้านนะคะ จากตัวเลขง่ายๆเลยนะคะอาจจะดูสองส่วนด้วยกัน ถ้าดูเชิงตัวเลขก็คือเชิง Quantitative นะคะ ดูตัวเลขในงบการเงินนะคะ ไปค่อยๆ ดูทีละงบเลยนะคะไม่ว่าจะเป็นงบกระแสเงินสดนะคะ งบกำไรขาดทุน หรือว่างบริษัทเพื่อให้เห็นนะคะว่าตกลงสภาพคล้องเขาดีหรือเปล่านะในแง่ของกำไรขาดทุน bottom line ของเขาทำกำไรได้ต่อเนื่องไหมหรือแม้แต่ในมิติของการเติบโตของเขามีอะไรที่สะดุดบ้างระหว่างทางหรือว่าเขายังดำเนินธุรกิจได้เหมือนเดิมเลยในตลอดช่วงหลายสิบปีที่ผ่านมาแต่ว่าถ้าเป็นบริษัทที่อาจจะพึ่งกำเนิดขึ้นไม่นานนะคะ 5 ปี 10 ปีก็อาจจะย้อนดูไปประมาณสัก 5 ปีย้อนหลังก็ได้เช่นเดียวกันหลังจากพอเราเห็นแล้วนะคะว่าอดีตของเขาเป็นอย่างไรก็น่าจะทำให้เราพอเข้าใจแล้วว่าโอกาสการเติบโตของเขาที่มีอดีตของเขาย้อนกลับไป ทีนี้สิ่งสำคัญคือเราจะไปต่อกับเขาไหมอันนี้คือสิ่งที่ 4 ที่เราต้องรู้ค่ะข้อที่ 4 ก็คือเราควรจะดูนะคะว่าหุ้นตัวนั้นเนี่ยนะคะ ราคาเหมาะสมไหมที่เราจะเข้าลงทุนเคยได้ยินคำนี้ไหมคะ เค้าบอกว่าของดีแต่แพงอาจจะกลายเป็นของไม่ดีก็ได้ดังนั้นแม้ของจะดีมากๆเลย แต่ถ้าราคามันแพงเกินไประวังนะคะ เพราะว่าสุดท้ายมันอาจจะทำให้เราซื้อของไม่ดีเข้ามาในตัว คำถามคือ แล้วเราจะดูได้ยังไงว่าจะถูกจะแพงมีอัตราส่วนหนึ่งนะคะที่คนในแวดบังกันเงินมักจะใช้อันนี้คืออัตราส่วนแบบง่ายที่สุดนะคะคือ PE Ratio นะคะอัตราส่วนราคาต่อกำไรต่อหุ้นคือเอาราคามาตั้งแล้วก็หารด้วยกำไรต่อหุ้นนะคะหรือถ้าพูดให้ง่ายกว่านั้นเลยนะคะเขาจะใช้การเปรียบเทียบแบบนี้ค่ะบอกว่าคุณจะต้องใช้เวลากี่ปีนะในการถือหุ้นเนี่ยถึงจะคืนทุน เช่นสมมติ 10 เท่านะคะ ก็แปลว่าคุณใช้เวลา 10 ปีในการซื้อหุ้นตัวนี้เพื่อให้ได้คืนทุนกลับมาที่ตัวเราเองนะคะแต่ก็ต้องยอมรับว่าจริงๆ PE มี 2 ส่วนเนาะส่วนบนคือราคา ส่วนล่างคือกำไรต่อหุ้นหรือตัว Earningดังนั้นเนี่ยจริงๆถ้าจะเทียบว่าราคาถูกแพงจากการวัดจาก PEโดยดูตัวเลขสุทธิอัตราส่วนอย่างเดียวอาจจะไม่ถูกต้องนักเพราะว่าถ้าคุณดูหุ้น 2 ตัวนะคะ ตัวนึง PE 10 เท่า อีกตัวนึง PE 30 เท่า และเราจะบอกว่า PE 30 แพงกว่า PE 10 เท่าแล้วต้องใช้เวลา 30 ปีกว่า หุ้นตัวนั้นจะคืนทุนพูดแบบนี้ไม่ถูกต้อง 100% เพราะอะไรคะเพราะจริงๆ แล้ว 2 ส่วนมันเปลี่ยนแปลงได้ทั้งราคาและกำไรเปรียบเทียบแบบนี้ค่ะ สมมุติหุ้นตัวที่ PE 30 เท่าวันนี้ราคามันสูง กำไรอยู่ระดับ 1 นะคะเช่น สมมุติพูดง่ายๆ เลยนะ 30 ต่อ 1 แต่ถ้าในอนาคตนะคะ ตัวกำไรของเขา ตัว Earning ตัวหารมันเพิ่มขึ้นละแปลว่าธุรกิจของเขา มีโอกาสเติบโตสูงจาก 1 เป็น 5 จาก 5 เป็น 10แปลว่าถ้าราคายังไม่ขยับไปไหนนั่นหมายเพราะว่าอนาคต PE ของหุ้นตัวนี้มันจะต่ำลงเพราะว่ากำไรมันเติบโตขึ้นอย่างมากดังนั้นในหนึ่งของหุ้น Growth หรือหุ้นเติบโตเขาก็เลยมองว่าตัว PE นี่ เขายอมจ่ายแพงหน่อยก็คืออาจจะสมมุติ 30 เท่านะคะแต่อนาคตถ้าตัว E ตัวกำไรมันสูงขึ้นมานะคะ เช่น สูงเป็น 10 เท่าPE ตัวนี้จะกลายเป็น 3 เท่าทันทีตัดภาพกลับมา หุ้นที่ PE 10 เท่า จำได้ไหมคะก็จะแปลว่าหุ้น Growth อาจจะกลายเป็นหุ้นที่ถูกเมื่อเทียบกับหุ้นที่ PE ต่ำกว่าในอนาคตก็ได้เช่นเดียวกันนะคะทั้งหมดทั้งวันนี้ เราต้องเข้าใจธุรกิจเราต้องเข้าใจวิธีการทำเงินของเขาเข้าใจวิธีการทำกำไรของเขา ถึงจะสามารถเห็นภาพแบบนี้ออกมาได้แต่ก็ใช่ว่า ไม่ใช่ว่าหุ้นแพงจะดีเสมอไป เช่นเดียวกันไม่ใช่หุ้นถูกจะดีเสมอไปต้องดูหลายอย่างประกอบกันด้วยนะคะทีนี้ถ้าตัวเราเองเป็นมนุษย์เงินเดือน ที่อาจจะไม่ได้มีเวลาศึกษาข้อมูลมากนักนะคะเป็น New Gen Investor ที่อาจจะยังไม่ค่อยเข้าใจเรื่องของการคำนวณ Ratioหรืออัตราส่วนทางการเงินควรทำอย่างไร มีทางรัฐมาให้ค่ะทางรัฐที่ว่าก็คือเราก็ไปดูคนที่เขาเนี่ยเก่งอยู่และ เขาทำงานในวัดวงการเงินอยู่และ ก็คือบรรดานักวิทยาลัย หลักศัพท์นะคะที่เขาวิเคราะห์มาให้แล้ว คำนวณมาให้แล้วแล้วเขาก็บอกเราว่าราคาไหนถึงจะเหมาะสมนะคะพาไปดูสองส่วนละกัน ส่วนของหุ้นไทยกับหุ้นนอกนะคะหุ้นไทยก่อน หุ้นไทยถ้าพูดถึงหุ้นที่มี Market Cap มากที่สุดในตลาดก็คือ ป.ต.ธ.นะคะอย่างเช่นถ้าเราเข้าไปเว็บไซต์ www.setfreight.com แล้วเราก็ไป search นะคะ ป.ต.ธ. เนี่ยแล้วเราก็ไปกดความคิดเห็นของนักวิเคราะห์นะคะสิ่งที่จะเห็นคืออะไร สิ่งที่จะเห็นก็คือเราจะเห็นว่า เราจะเห็นราคาเป้าหมายของ ตีค่ะ อย่างเช่นที่เห็นอยู่หน้าจอนี้นะคะก็จะมีราคาสูงสุด ราคาเฉลี่ย แล้วก็ราคาต่ำสุดนะคะจะเห็นเลยว่าราคาเฉลี่ยอยู่ที่ 37.73 บาทที่แต่ละเจ้าเนี่ย คำนวณมา 15 เจ้าแล้วก็มาเฉลี่ยให้ แต่ว่าอาจจะสูงสุดนะคะบางเจ้าให้ไว้ 45 บาทด้วยซ้ำอ่ะบางเจ้าบอกว่าอาจจะลงไป 29 บาทนะทีเนี้ยก็ขึ้นเหยียวกับเราว่าจะนำราคาเหล่านี้ไปทำการบ้านต่ออย่างไรอันนี้คือหุ้นไทยนะคะตัวอื่นก็ไป search ได้ใน assetfred.com เว็บไซต์ของฐานตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแต่ถ้าเป็นหุ้นนอกมีวิธีไหมมีวิธีเช่นกันถ้าเป็นเว็บไซต์ที่ใช้ได้ฟรีแล้วก็ไม่ได้เสียค่าใช้จ่ายก็คือ investing.comเราเลือกหุ้นที่ใหญ่ที่สุดในตลาดสหรัฐมริกาเรียกได้ว่าตลาดโลกเลยก็ได้คือ Microsoftมายกตัวอย่างให้เห็นอย่างกราฟที่ investing.com Microsoft ก็มีคนให้ราคาเป้าหมายไว้กราฟคล้ายๆ กันเลยคือ สูงสุด เฉลี่ย แล้วก็ต่ำสุดซึ่งแต่ละเจ้าก็จะให้ราคาไม่เท่ากันนะคะอันนี้ก็ขึ้นอยู่กับตัวเราเองนะคะว่าเราจะนำราคาเหล่านี้ไปทำการบ้านต่ออย่างไรรวมถึงยังมีภาพของตัว Bullish นะคะคือแนะนำให้ซื้อกับ Barrageคือแนะนำให้ขายมาเป็นส่วนประกอบช่วยเราให้ตัดสินใจได้ในช่วงด้านล่างด้วยนะคะก็ไปทำการบ้านกันดูได้เช่นกันนะคะนั่นก็เป็น 4 Checklist นะคะที่อยากให้ทุกคนลองเข้าไปศึกษา แล้วก็ทำการบ้านเพื่อที่จะเลือกคุณรายตัวของตัวเองนะคะหนึ่งก็คือดูเมกาเทรนด์ก่อนนะคะว่าเทรนด์ไหนที่น่าสนใจแล้วก็ที่สำคัญคือเราควรรู้จักเทรนด์นั้นด้วยเนอะสองคือหาผู้นำของตลาดเทรนด์นั้นนั้นสามก็คือไปดูประวัติย้อนหลังหน่อยเนอะว่าที่ผ่านมาเขาเป็นอย่างไรแล้วก็เรารับความเสี่ยงความท้าทายที่เกิดขึ้นกับเขาในอดีตได้ไหมนะคะแล้วสุดท้ายคือหาราคาที่เหมาะสมนะคะอาจจะใช้ราคาจากนักวิเคราะห์ที่เขาวิเคราะห์มาให้แล้วเบื้องต้นเพื่อไปทำการบ้านต่อ ก็ได้เช่นเดียวกันนะคะ แต่อย่างที่บอกกันไว้นะคะว่าไม่มีหุ้นตัวไหนดีร้อยเปอร์เซ็นต์นะคะ เหมือนเราหาคู่ชีวิตโน้นแล้วจะหวังใครเพอร์เฟคต์หนึ่งร้อยเปอร์เซ็นต์ คงยากนะคะ ทีนี้คําถามก็คือเรารับความเสี่ยงได้ไหม และเราบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างไรและเราจะบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างไร จริงๆ มีสักสามสี่ทิพย์นะคะที่สามารถทําได้ อย่างแรกก็คือการกระจายการลงทุนค่ะถ้าเรามีเงินร้อยบาท ลงทุนหุ้นตัวเดียวร้อยบาทถ้าหุ้นตัวนั้นเกิดไม่เป็นไปตามคาด ไม่ได้โตตาม ตั้งเทรนด์แบบที่เราหวังมีอะไรมา Disrupt แล้วก็รายได้กำไรผิดจากที่ประเมินเอาไว้ ก็อาจจะส่งผลต่อ Port ของเราได้ด้วยเหมือนกันใช่ไหมคะแล้วก็ส่งผลทันทีเต็ม Port เลยนะคะทีนี้วิธีการคือกว่ากระจายการลงทุนค่ะเช่น สมมติเราไปซื้อหุ้นอาจจะมากกว่า 1 ตัว มากกว่า 1 อุตสาหกรรม มากกว่า 1 ประเทศเพื่อทำให้ภาพรวมของ Port เราไม่กระจุกตัวไปกับหุ้นตัวใดตัวหนึ่งมากจนเกินไปดังนั้นถ้าหุ้นตัวในมีปัญหาบาดเจ็บไป ก็ยังพอประคองพอร์ตเอาไว้ ไม่ให้พอร์ตแตกนั่นเองนะคะนี่ต้องระวังให้ดีค่ะส่วนที่สองคือควรจะลงทุนระยะยาวนะคะเพราะว่าอย่าลืมว่ากิจการหรือว่าธุรกิจเนี่ยก็มีวัฒนาจักรของเขานะคะ มีขึ้นมีลงมีช่วงที่แย่อย่างเช่นช่วงโควิดที่ผ่านมาอย่างเช่นช่วงสงครามกันคะ อย่างเช่นช่วงสับพร่ามนะคะแต่ถ้าเขาสามารถยืนระยะแล้วก็ผ่านช่วงที่ผันผ่วนไปได้ก็อาจจะทำให้กิจการของเขาฟื้นกลับคืนมาได้เช่นกันถ้าเราลงทุนได้ยาวพอตามไซเคล ของเศรษฐกิจ ซึ่งก็อาจจะอยู่สัก 10 ปีบวกลบก็อาจจะทำให้เราลดความเสี่ยงจากความผันผลของราคาได้3.

ก็คือเรื่องของอารมณ์ของเราอย่าลืมว่าจริงๆแล้วเราอาจจะเลือกหุ้นด้วยเหตุผลนะเราคุยกันไปแล้วว่ามี 4 ข้อที่เราควรใช้ในการเลือกหุ้นแต่เชื่อไหมว่าเรามักตกม้าตายตอนที่เราเข้าไปซื้อไปขายหุ้น ปลาเต็มไปหมดเลย ทำให้บางทีเราลืมนะคะ ไปวางเหตุผลแล้วก็ไปใช้อารมณ์ในการตัดสินใจ ต้องระวังอารมณ์ของตัวเองเอาไว้ให้ดีอย่าลืมว่าเอาเหตุผลกลับมาใช้ด้วยเสมอนะคะและสุดท้ายก็คือ จริงๆ เรื่องของการลงทุนเนี่ยเป็น lifelong learningเรียนรู้ตลอดชีวิตค่ะ แม้ว่าเราจะวิเคราะห์มาดีแล้วดูบทวิเคราะห์แล้ว ไปทำการบ้านแล้ว ดูงบการเงินแล้ว ไปหาเทรนด์แล้วไปหาหุ้นเจอๆ แล้ว ได้ราคาที่เหมาะสมแล้วแต่ทุกอย่างเปลี่ยนแปลงได้เสมอ ดังนั้นอย่าลืมติดตามข้อมูลกัน แล้วก็พยายามทำการบ้านให้ตัวเราเก่งขึ้น ดีขึ้น จะได้ลงทุนได้ชาญฉลัดมากขึ้นแล้วก็ประสบความสำเร็จได้มากขึ้นด้วยนะคะส่วนตัวเองนะคะ จริงๆเวลาเลือกหุ้นนะคะ ฟันเองก็ใช้หลักการตามนี้เลยแต่ว่าอาจจะมีเสริมบวกหนึ่งข้อนะคะ คือเราต้องยอมรับนะคะว่าพอเราอยู่ในโลกการลงทุนมันหนาเนี่ยสิ่งที่เราจะเห็นเสมอก็คือมันเป็นวัดทจักรค่ะ คือมีขึ้นและมีลงดังนั้นถ้าเราอดทนรอได้ เชื่อไหมว่าฟันเองเนี่ยมักจะซื้อหุ้นรายตัวในช่วง ช่วงวิกฤตนะคะ เพราะว่าช่วงวิกฤตเนี่ย ราคาหุ้นจะถูกลงอย่างมีนัยสำคัญทั้งๆที่พื้นฐานไม่ได้เปลี่ยนเลย อาจจะเจอแค่ noise หรือว่าเสียงกวนหรือว่าผลกระทบช่วงสั้นๆเท่านั้นเองนะคะ แต่ทำให้เราได้ของดีในราคาที่ถูกเป็นพิเศษถ้าเป็น supercell ก็ว่าได้ ซึ่งถ้าใครอยากจะใช้หลักการนี้ก็ลองหยิบไปใช้ดูได้นะคะแต่วิกฤตไม่ได้เกิดขึ้นบ่อยๆนะคะ เราเองก็อาจจะต้องเรียนรู้ว่าในแต่ล้านรอบเนี่ย เราเข้าใจเรื่องของการลงทุนมากน้อยแค่ไหนแล้วก็ถ้าเจอวิกฤตเองเราทำใจในการเข้าซื้อของดีที่ราคาถูกมาก ๆแต่ว่าอาจจะไหลลงไปเรื่อย ได้หรือเปล่าเพราะฉะนั้นอย่างที่บอกไว้ว่าการลงทุนคือนิสัยการลงทุนคือทักษะต้องฝึกนะคะจนเรามั่นใจแล้วเราก็จะสามารถลงทุนแม้จะเกิดวิกฤตได้แต่เชื่อมั้ยว่าเศรษฐีหลายคนนะคะก็เริ่มต้นจากการลงทุนในช่วงวิกฤตนั่นแหละค่ะวันนี้ก็หวังว่านิวเจนน่าจะได้เทคนิคในการเลือกหุ้นรายตรวจนะคะ ถ้าใครมีวิธีไหนที่น่าสนใจแล้วอยากแบ่งปันเพิ่มเติมก็ลองคอมเมนต์เข้ามาได้หรือว่าใครอยากจะรู้เรื่องอะไรเพิ่มเติมเพื่อทำให้การลงทุนของเราดีขึ้นก็บอกกันได้ด้วยเช่นเดียวกันแล้วเดี๋ยวเจอกันใหม่อพิสดิ์หน้าค่ะ ใครที่พลาดงาน The Seekersource Summit ขอนแกนเพราะบัตรขายหมดไปแล้ววันนี้คือข่าวดีครับเพราะว่าเราเปิดให้คุณสามารถซื้อบัตรรับชมย้อนหลังได้ถึง 6 เดือนเต็มเก็บครบทุกกลยุทธ์ ชุดความรู้ธุรกิจพร้อมสรุปเนื้อหาทุกหัวข้อฟรีครับซื้อบัตรได้แล้ววันนี้ที่ SIX EVENTS