เธอย้สงสัยนะครับว่าเราเรียนรู้ประวัติศาสตร์ไปทำไม เรียนไปเพื่อหลีกเลี่ยนความผิดพลาดในอดีต เรียนเพื่อรู้ที่มาของสรรพสิ่ง หรือเรียนไปเพื่อไม่ให้ประวัติศาสตร์ซ้ำรอย เราเรียนรู้อะไรจากประวัติศาสตร์ มาหากันตอบได้ใน 8-Minute History On Stage ออกโชว์ประวัติศาสตร์ครั้งแรกของผม วิทย์ สินที ไว้กิน ในรูปแบบ เอดูเทรนมัน สาระครบถ้วน แสง สี เสียง กราฟิก ที่จะพาทุกท่านไปท่องโลกประวัติศาสตร์ พร้อมเรียนรู้จุดเปลี่ยนสําคัญของประวัติศาสตร์โลก นี่คือ พลังงานแบบแบบ แม่ง สำหรับคุณ 8 นิดนึง ที่สุดท้าย ในยุคศตวรรษที่ 15 แล้วก็ศตวรรษที่ 16 อย่างมโหลนานทีเดียว ประวัติศาสตร์ 8 นาทีของเราในวันนี้ครับ จะคุยถึงเรื่องของหัวข้อของ ยุคแห่งการค้นพบ หรือว่า Age of Discovery นะครับ ว่าที่เราจะเห็นโลกอย่างที่เป็นอยู่ทุกวันนี้ ว่าเกิดมาจากอะไรบ้าง จะพบแบบนี้นะครับว่า Age of Discovery ชื่อมันยิ่งใหญ่มากครับ แต่จริงๆช่วงเวลาแห่งประวัติศาสตร์ช่วงนี้ กินเวลาโดยประมาณ 40 กว่าปีแค่นั้นเองนะครับ เราคงจะได้ยินนะครับ เรื่องของนักสำรวจหลายๆคนเลย ซึ่งคนไทยนั้นคุณชื่อกันดี แม้ว่าจะเป็นคริสโตฟอโรโคลมโบ แม้ว่าจะเป็นอเมริกุสเวสปุชิอุส วาสกูดากามา แฟราเนาเดมากายานิส ก็เป็นนักสำรวจหลายๆคนเลยที่เราจะได้ยินชื่อ ซึ่งบุคคลเหล่านี้รวมกันนะครับ ในการที่ต่อเติมความเข้าใจของพวกเขา การสำรวจของพวกเขา บนเส้นรอบโลกเลย หรือที่ก็เรียกกันว่า สิริคุมนาวิเกเกชั่น หรือว่าการเดินทาง รอบเส้นรอบวงของโลก แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น วันนี้ครับ ในในจะมาคุยกันว่า นักสำรวจแต่ละคนนั้นเรียงร้อยกันอย่างไร ก็ยังจะมีนักสำรวจอีกหลายคน นักประดิษฐ์อีกหลากหลายคนนะครับ รวมถึงส่วนที่สัญญาหลากหลายฉบับที่เราจะมาคุยกันด้วยนะครับ ขอกลันชื่อไว้ก่อนเลย บาร์โตโลมิยู ดีอัส มาติน วาลเซมือลเลอร์ คนเซบาสเตียน เอลคาโน มุคคลเหล่านี้เกี่ยวข้องเชื่อมโยงกันอย่างไร รวมถึงอีกหนึ่งส่วนครับ ส่วนที่สัญญาที่เราอาจจะเคยได้ยินชื่อ แต่อาจจะบอกว่ามีนัยสำคัญอย่างไร นั่นก็คือสนทิศัญญาที่มีชื่อว่า ตอรเดสยาส ซึ่งจะเป็นอีกหนึ่งองค์ประกอบหลักในการที่เราจะคุยกันด้วย สารฟโกสต์นะครับ ของเอพิโซดที่เราจะไล่เรียงกันต่อไปนี้ จะอยู่ที่การเดินทางรอบเส้นรอบวงของโลกใบนี้ ที่เราได้เกิดมาสักครู่ครับ circumnavigation มาจากคำว่า circumference หรือว่าเส้นรอบวงหรือว่าเส้นผ่าศูนย์กลาง navigation ก็คือการเดินทาง กล่าวคือการเดินทาง รอบโลกโดยนักสำรวจแบบนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งครับ ความสำเร็จของนักสำรวจชาวโปรตุเกต ที่ถวายตัวเข้ารับใช้นะครับ ราชสำนักของสเปน ในยุคศตวรรษที่ 16 ที่มีชื่อกันว่า Fernal de Magallanes หรือที่เรารู้จักในชื่อของ เฟอร์ดินาน แมคเจลลันด์ครับ สำหรับความสำเร็จแรกของยุคนี้นะครับ ที่หลายคนคงจะได้ยินก็เริ่มต้นมาจาก คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส นะครับ หรือที่เรารู้จักกันในนามอิตาเลียน ชื่อ Original เขาคือ คริสโตเฟอร์โล โคลัมโบ ในปี 1492 นะครับ ซึ่งในช่วงปีนั้น ถ้าหากว่าใครติดตาม Episodes ของเรา ว่าได้เรื่อง Renaissance คงจะรู้ว่าในยุคนั้น ก็คือยุคที่ตรงกันกับยุคของ Renaissance นี่แหละครับ โดยที่ปีเกิดของ Leonardo da Vinci คือปี 1452 นั้น อยู่ห่างจากการที่คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ค้นพบทวีปใหม่หรือว่าอเมริกา 50 ปีคือปี 1492 พูดง่ายๆ เราต้องการจะบอกว่า ยุคแห่งการตื่นรู้ทางปัญญา กับยุคแห่งการสำรวจโลก การค้นพบโลกใหม่นั้น อยู่ในยุคที่ใกล้เคียงกัน ห่างกันแค่ไม่กี่สิบปีเท่านั้นเองครับ ก่อนอื่นที่เราจะเริ่มไล่เลียงนะครับ เราไปดูกันที่การเริ่มต้นของยุคเรอเนสซองซ ถึงถือได้ว่าเป็นต้นน้ำสายแรกเลย ของการตื่นรู้ทางปัญญาและการเดินหน้าสำรวจโลกนะครับ ยุคของเรือในสองทัพหลายฝ่ายยอมรับกันว่า จุดเริ่มต้นก็คือการล่มสลายของกรุงคอนสแตนตินโนเปิล จากการลุกราญของจักรวรรดิออตโมนภายใต้สุรตารเมเมษที่ 2 ในปี 1453 ซึ่งในเวลานั้นสุรตารเมเมษที่ 2 สถาปนาตัวเองเป็นจักรพรรดิแห่งโรม หรือว่า เคซออิรุม และก็ 1 ปีก่อนหน้าการแตกสลายของกรุงคอนสแตนตินโนเปิล ก็คือปีเกิดของเลโอนาโดดาวินชี 1452 ในช่วงก่อนยุคนั้น ดังที่เราเคยไล่เลียงกันไปในเอพิโซดที่เกี่ยวข้องกับ Renaissance นะครับ ตำราต่างๆ ที่บรรจุภูมิปัญญาของกรีกโรมัน ถูกล้ำเลียงออกจากยุโรปครับ ไปยังบริเซนไทน์ ก็คือโรมันตะวันออก แต่หลังจากการแตกสลายของ Constantinople การเข้าไปครอบครองโรมันตะวันออก หรือ Constantinople ของอัตโมนั้น ทำให้ตำราและภูมิปัญญาเหล่านี้ครับ ไหลกลับเข้าไปสู่ยุโรปตะวันตกมากยิ่งขึ้น ฟลอร์เรนซ์ครับ กลายเป็นศูนย์กลางภูมิปัญญาของโลก พื้นที่คาบสมุทรอิตาลี กลายเป็นพื้นที่ที่เต็มไปด้วยปัญญาชน ศิลปิน นักประดิษฐ์ เกิดขึ้นจำนวนมากมายเลยนะครับ แต่ต้องบอกครับว่า ความเจริญเหล่านี้ ไม่ได้จำกัดอยู่เฉพาะศิลปะ วิทยาการ แต่ยังครอบคลุมไปในเรื่องของ นักสำรวจและวิทยาการในการสำรวจด้วย ในขณะที่พื้นที่อื่นๆ ในยุโรปเอง เราค่อยๆ มาดูกันนะครับ เยอรมันในวันนี้ในช่วงศตวรรษนั้นคือศตวรรษที่ 15 เป็นเพียงแค่รัฐเล็กๆครับ ที่อยู่ภายใต้จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ในขณะที่เกาะบริธานียะ หรือว่าอังกฤษ หรือว่าสหราชนาจักรในช่วงเวลานั้น ยังถือได้ว่าประสบกับปัญหาการรบพุ่งกันภายใน จนกระทั่งยังไม่ได้มีเวลาในการเดินหน้าออกไปสำรวจโลก เหมือนกันกับชาติมหาอำนาจอื่นๆในเวลานั้น ในศตวรรษที่ 15 ครับ ถ้าหากว่าไม่พูดเรื่องนี้ เดี๋ยวจะบอกว่าไม่ครอบคุมแล้วก็คาใจกันไปตลอดเลย ในศตวรรษที่ 15 ครับ จริงๆ เรื่องของการสำรวจของจักรวรรดิจีน สมัยต้ามิงก็เริ่มเดินหน้าเช่นเดียวกันนะครับ ในศตวรรษนั้นเป็นยุคที่พระเจ้าหมิงไทยจง หรือว่าหมิงเฉิงจู่ ที่เรารู้จักกันในนามของพระเจ้าหย่งเลอ หรือว่าหย่งเลอตี้นะครับ ซึ่งเป็นพระจักรพรรดิองค์ที่ 3 ของราชวงศ์หมิง ได้มีการส่งกองเรือภายใต้การบรรชาการของเจ้งเหอไปสำรวจโลก ก็อยู่ในปี 1402-1424 โดยมีการล่องเรือจากจีน ตามมหาสมุดอินเดีย ก็คือไปทางทิศตะวันตก ขึ้นฝั่งบางช่วงบางตอนที่เอเชียอาคเนก็คือ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พื้นที่เหล่านี้ ไปที่เอเชียตะวันตกจนกระทั่งถึงฝั่งตะวันออกเลยของทวีปแอฟริกา แต่หลังจากการสวรรคตของพระเจ้าหย่งเลอตี้ จักรพรรดิองค์ต่อมาก็คือ จักรพรรดิหงษี หรือว่า หมิงเหรือนจง ไม่ได้มีการปลดปลาในเรื่องของการสำรวจโรค การเดินเรือ ก็เลยไม่ได้ให้การสลับสนุนต่อยอดการสำรวจโรคของเจ้งเหออีกต่อไป กลับมาจากเอเชียมาสู่ยุโรปกันบ้างครับ ในสัตวัตรเดียวกันครับ เป็นยุคหลังจากสงครามครูเสดไปแล้ว ดังนั้นชาวยุโรปครับ จะรู้จักกับสินค้าที่มาจากพื้นที่ห่างไกล แต่เดิมครับ โลกของเขาจะสุดขอบนะครับ ที่พื้นที่ตะวันออกสุดเลยของเมริเตอร์เรนียน แต่หลังจากสงครามครูเสด เริ่มต้นมีคนชาติพันธุ์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นชาติอารับ คนจากเอเชียกลาง ก็จะเอาสินค้าแปลกๆ นี้มาขาย รวมถึงบรรดาเครื่องเทศ น้ำตาล การพลู พริกไทย ชาวยุโรปเองในช่วงเวลานั้นครับ เริ่มต้นในการฝันถึงการเดินทางนะครับ ไปสู่ทิศตะวันออก แล้วไปเอาของแปลกๆพวกนี้ เครื่องเทศที่มีคุณค่าเหล่านี้เนี่ย กลับจากโลกตะวันออกมาขายในโลกตะวันตกก็คือยุโรป และหนึ่งในนั้นซึ่งเกิดขึ้นในยุคก่อนหน้าเนี่ยนะครับ ก็คือมาโคปโลล่ะครับ ซึ่งเป็นนักเดินทางจากสาธารณรัฐเวนิส ซึ่งเดินทางนะครับไปยังแผ่นดินจีน ในยุคของราชวงศ์หยวนก็คือมองโก ด้วยการเดินทางทางราบนะครับ เดินทางเท้า ขี่ม้า ขี่อูด หลังจากนั้นหนังสือของเขาคือ หนังสือที่มีชื่อว่า Il Milione กลายมาเป็นแรงบันดาลใจครับ ให้นักสำรวจจำนวนมากมายเลย หาวิธีการในการเดินทางไปยังดึงแดนใหม่ๆ เพื่อประโยชน์ทางการค้า ด้วยภูมิศาสตร์นะครับ ความเป็นมหาอำนาจทางทะเลของยุโรปในเวลานั้น สองชาติใหญ่ซึ่งเป็นมหาอำนาจ ก็คือ สเปนกับโปรตุเกตครับ ในแง่ภูมิศาสตร์แล้ว สองชาตินี้ยิ่งใหญ่และกลายเป็นชาติผู้นำในการสำรวจทางเรือ ในแง่ภูมิศาสตร์แล้ว สเปนครับ ทิศตะวันออกพวกเขาติดกับทะเลเมริเตอร์เรนียน แต่ในขณะที่ทิศตะวันตกของพวกเขาติดกับช่องแคบยิปราลต้า มีความหมายว่าพวกเขาสามารถที่จะเดินเรือเข้าถึงมหาสมุดทางทิศตะวันตกของยุโรปก็คือแอตเลนติกได้ ในขณะที่ปรโตรเกตครับ ชาติที่ประวัติศาสตร์แปดนาทีของเราแทบจะไม่เคยพูดถึงเลยนั้น พวกเขานั้นมีชายฝั่งทางด้านตะวันตกที่หันหน้าเข้าหาแอตแลนติกโดยตรง ในศตวรรษที่ 15 ซึ่งเป็นท้องเรื่องของเราครับ ในขณะที่ภาคพื้นยุโรปนั้นกำลังเข้าสู่ยุคสิ้นสุดของยุคกลาง เริ่มต้น Renaissance เจ้าชาย Enrique แห่งโปรตูเกตครับ ที่ชาวโปรตุเกียตเรียกว่า Infante Dum Enrique โอรสองค์ที่ 4 ของพระเจ้าชูอาวที่ 1 แห่งราชวงศ์อาวิส เป็นผู้ที่มีความสนใจในเรื่องของการสำรวจโลกครับ ด้วยเส้นทางทางทะเล ต้องบอกแบบนี้ มาโคโปโลเดินทางไปยังโลกตะวันออก ด้วยการใช้วิธีการเดินเท้า ขี่ม้า แล้วก็การขี่อูดพูดง่ายเดินทางทางบกครับ แต่ว่าโปรตุเกียตในยุคนั้นครับ ของพระเจ้าโจอว์อวที่ 1 ผ่านเจ้าชาย Enrique ครับ พระองค์มีความสนใจเรื่องของการสำรวจโลก โดยเส้นทางทางทะเลมากกว่าราชนิกูลองค์ใดในยุโรป และพระองค์คือเจ้าชายเอ็นริเก ตั้งสถาบันสำรวจโลกใหม่ที่เมืองเชเกรส โดยการเอาปัญญาชนนะครับ ในสองแขนงหลักๆเลย ได้แก่แขนงดาราศาสตร์ Astrology และแขนงว่าด้วยการทำแผนที่ หรือว่าศาสตร์ว่าด้วยการทำแผนที่คือ Cartography จากคนหลายๆชาติในยุโรปเลย ไม่จำกัดว่าจะต้องเป็นชาวโปรตุกีส เป็นสเปนิช เป็นอิตาเลียน หรือว่าจะเป็นคนจากกวัดโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่พูดเยอรมัน หรือว่าชาติอื่นๆ ก็ได้ ให้มารวมตัวกันนะครับ เพื่อที่จะสนับสนุนกองเรือสำรวจที่พระองค์ส่งตั้งขึ้นมา ทั้งนี้ครับ การรวมตัวกันตั้งสถาบันวิจัย สถาบันในการศึกษาการสำรวจ โดยการผนกเอานักดาราศาสตร์กับนักทำแผนที่มารวมตัวกันนี้ เพื่อที่จะได้เรื่องราวรายละเอียดให้มากที่สุด ก่อนที่จะมีการส่งกองเรือเหล่านั้นไปสำรวจโลกใหม่ โดยที่พระองค์ทรงได้รับฉายาว่า Enrique u Navigador หรือพระเจ้าเจ้าชายเอ็นริเก นักสำรวจ ด้วยความที่ทั้งสองชาติก็คือ สเปนกับโปรตูเกส ต่างฝ่ายต่างมีความรู้ในเรื่องการเดินเรือ ราชสำนักของทั้งสองแห่งก็เลยเริ่มต้นการแข่งขันกัน ในการทรงกองเรือสำรวจ เพื่อไปหาดินแดนใหม่ โดยเฉพาะยังยิ่งเลยต้องการเดินเรือไปอย่างทิศตะวันออก เพื่อที่จะนำเอาสินค้าที่มีค่าเหล่านี้ล่ะครับ มาอย่างเป้าหมายกล้าวคือนำเอาสินค้าเช่นจากจีน จากอินเดียแล้วกลับประขายครับ ที่โลกตะวันตกก็คือในยุโรป นักสำรวจชาวอิตาเลียนเองหลายละคนนะครับ ซึ่งต่อมาเดี๋ยวเราคงได้ไล่เลี้ยงกัน ไม่ได้จำกัดตัวเองอยู่แค่การยุกต์การตื่นรู้ว่าพวกเขาเป็นศูนย์กลางของโลก พวกเขาตื่นตัวกับประแสที่สเปนกับโปรตุเกรดนั้นเริ่มต้นเดินหน้าที่จะสำรวจโลก ทำให้นักสำรวจชาติอิตาเลียนหลายๆคนเลยถวายตัวเข้าไปรับใช้กับราชสำนักสเปนและโปรตุกีสด้วย ดังที่เราคุ้นชื่อกันมีอยู่หลายคนเลยนะครับ เช่น คริสโตเฟโรโคลอมโบ้ ก็จะเป็นชื่อ Original ของคริสโตเฟอร์โคลอมบัสที่เรายิน Americus Vespucius ก็คือ America Vespucci ที่เราได้ยิน ทั้งสองคนเป็นชาวอิตาเลียนนะครับ นำเอาโปรเจกต์การเดินเรือของพวกเขา เอาไปเสนอของเงินสนับสนุนจากราชสำนักของทั้งสองมหาอำนาจ กล้องที่เราจะเดินหน้า ขออนุญาตนะครับ พูดถึงชื่อบุคคลต่างๆนะครับ ในเอปิโซดว่าได้เรื่องการสำรวจโลกกันก่อน ชื่อที่พวกเราใช้ในการเรียกนักสำรวจต่างๆนั้น ที่เราเคยได้เรียนมานั้น เป็นชื่อที่สุด Englishized มีความหมายว่า เขามีชื่อ Original ในภาษาของเขาอยู่แล้ว แต่ว่าถูกปรับให้เป็นภาษาอังกฤษ คนที่เป็นผู้บันทึกประวัติศาสตร์ ระยะหลังๆ ซึ่งเป็นคนอังกฤษ จะได้สามารถเรียกได้ง่ายขึ้น อย่างเช่น กรณีที่เราได้ยิน Christopher Columbus จริงๆ คือ คริสโตเฟอร์โร โคลมโบ เพียงแต่ว่าถูก Anglicize ถูกทำให้เป็นภาษาอังกฤษแล้ว เช่นเดียวกัน America Vespucci จริงๆ ชื่อเป็นอิตาเลียน แต่ชื่อ Original ของเขาจริงๆ เป็นภาษาลาติน ก็คือ Americus Vespuccius นักสำรวจคนอื่นก็จะมีชื่อลักษณะแบบเดียวกันนะครับ เดี๋ยวคงจะได้มีการไล่เรียงนะครับ ขยายความเพื่อที่จะได้เป็นอัธรรดิ์เพิ่มเติม ในเอพิโซดว่าได้เรื่องของการสำรวจโลกด้วย โปรตุเกตครับ ด้วยความที่อยู่ติดกันเลยกับมหาสมุทรแอตแลนติกครับ พวกเขาทรงกองเรือลงใต้เพื่อที่จะหาทางไปยังทิศตะวันออก เป้าหมายหลากหลากครับ ในการเข้าสู่มหาสมุทรอินเดีย ไปยังอินเดียให้ได้ สำหรับกองเรือนักสำรวจที่รับการสปอนเซอร์นะครับ โดยกษัตริย์องค์ต่อมาของปรตุเกตก็คือพระเจ้าชูอาวที่ 2 นะครับ ที่มีชื่อเล่นอีกชื่อว่า ปรินชิเปเปเฟริตโต ภายใกล้การนำของหัวหน้ากองเรือสำรวจที่มีชื่อว่า บาร์โตโลมิอู ดีอัส เดินทางล่องใต้ และตัวเขาวิธีการเดินเรือครับ ละชายฝั่งของทวีปแอฟริกาลงใต้ไปเรื่อยๆ จนกระทั่งลงไปสู่พื้นที่ใต้ที่สุดของทวีปแอฟริกา และพื้นที่ใต้สุดนั้นเขาขนานนามชื่อนี้ว่า กาบูดาบัวเอสเปรอนซ่า แปลว่าแหลมแห่งความหวังอันประเสริฐ แปลเป็นภาษาอังกฤษ Anglicize ชื่อนี้สักหน่อยว่า Cape of Good Hope ซึ่งก็เป็นจุดใต้สุดเลยนะครับของทวีปแอฟริกา ซึ่งเป็นจุดที่มหาสมุทรทั้ง 2 มหาสมุทรคือ Atlantic และมหาสมุทรอินเดียนั้นบันจบเข้าหากัน การเดินทางและการค้นพบแหลม Good Hope นะครับของบาตรโลมีอูดีอาซนั้นเกิดขึ้นในปี 1488 ท่านอาจจะ เอ๊ะแล้วปีนี้คืออะไร 4 ปีครับ ก่อนหน้าท่ายีคริสโตเฟอร์โฮลโลมโบหรือคริสโตเฟอร์โคลอมบัส จะเดินทางไปอย่างที่ตะวันตกและพบกับบาฮามาส ซึ่งเป็นศูนย์หนึ่งของทวีอเมริกานี่แหละครับ กลับมาที่บาตูลูมิโอ ดีอาร์สนะครับ จากจุดนั้นก็คือกาโบเดอบูอา เอสเปรานซ่า หรือว่า Cape of Good Hope นะครับ ซึ่งถือได้ว่าเป็นรอยต่อของ 2 มหาสมุทร นักเดินเรือชาวปลูตุเกตเองก็ได้มีการเตรียมการต่อยอดมุ่งไปในทางทิศตะวันออกเข้าสู่มหาสมุทรอินเดีย ซึ่งต่อมาพวกเขาก็สำเร็จภายใต้หุนากองเรือที่มีชื่อว่า Vascu da Gama เดี๋ยวให้รายละเอียดกันต่อนะครับ ทุกครั้งเลยเวลาที่เราคุยถึงเรื่องการสำรวจเราจะนึกถึงบุคคลเขานี้ Christopher Columbus กันบ้าง ดังนั้นเราจะเริ่มออกเดินทางไปด้วยกันครับ คริสโตเฟอร์ คอนลัมบาส เป็นชาวเมืองเจนูนะครับ ในข้าวสมุทรอิตาลี ตัวก็เองมีความฝ่ายฝันเหมือนกับนักสำรวจทั่วไปละครับ ตัวเขาต้องการที่จะเดินทางไปยังอินเดียเช่นเดียวกันนะครับ โดยเขาได้เอาโปรเจคการเดินเรือไปยังอินเดียเนี่ย ไปขายกับราชสำนักโปรตุเกตก็คือไปพบไปเข้าเฝ้าพระเจ้าชูอาว ในกรอบเวลาช่วงนั้นละครับ โดยมีการเสนอแผนการเดินเรือที่แปลกไปกว่าคนอื่นครับ ตัวเขานั้นต้องการเดินเรือไปอย่างทิศตะวันตก แทนที่จะเดินเรือผ่านไปทางทิศตะวันออกเหมือนคนอื่นๆ โดยที่เขาบอกแบบนี้ ก็เพราะว่าโลกมันกลมไงครับ ดังนั้นถ้าเขาเดินเรือผ่านทางทิศตะวันตกไปเรื่อยๆ ในที่สุดเขาก็จะพบกับอินเดีย แต่ว่าจะเป็นอินเดียทางทิศตะวันตก ไม่เหมือนคนอื่นที่จะเดินเรือไปแล้วจะไปพบกับอินเดียทางตะวันออก แต่ต้องบอกแบบนี้ครับ ความเชื่อที่ว่าโลกกลม หลายท่านอาจจะตั้งคำถามว่า ยุคของโคลัมบัสนี้เนี่ย เป็นยุคก่อนที่จะมีการปฏิวัติความเข้าใจ เกี่ยวข้องกับจักรวาลและดวงดาวนะครับ ในยุคนั้นเนี่ย คนยุคโรยในสอง เขาเริ่มต้นทราบแล้วหรือยัง ว่าโลกนั้นกลม เพราะโลกยุคนั้นเป็นยุคก่อนหน้า ของนิโคลัสโคเปอร์นิคัส โยฮัเนส เคปเลอร์ กาลิเลโอ กาลิเลฮี เรื่องของโลกกลมโลกแบนครับ มีหลักฐานปรากฏชัดนะครับว่า มนุษยชาติเองนะครับ รู้อยู่แล้วนะครับว่า โลกอยู่ในสันฐานกลม อันนี้ตั้งแต่ 500 ปีก่อนคริสต์ศักดิ์การแล้ว โดยนักวิทยาศาสตร์ นักดาราศาสตร์ชาวกรีกที่มีชื่อว่า Megasthenes โดยที่เมริกาสเตรเนสระบุว่าโลกนั้นมีสันฐานกลม โดยที่ณ เวลานั้นอาจจะยังไม่ได้มีการยืนยันที่ชัดเจนนะครับ แต่ว่าคนยุโรปในยุคนั้นมีความเชื่ออยู่มานานแล้วว่าโลกไม่ได้แบน และโคลัมบัสก็เป็นหนึ่งในคนที่เชื่อแบบนั้น และเชื่อว่าโลกนั้นกลม ดังนั้นการเดินเรือไปยังอินเดียผ่านทางทิศตะวันตก ก็คงจะเป็นแนวทางอีกแนวทางหนึ่งในการที่จะเดินทางไปสำรวจโลก เพียงแต่ว่าโคลัมบัสครับ ณ เวลานั้นยังไม่รู้นะครับว่า ขนาดของโลกนั้นใหญ่ขนาดไหน เส้นผ่าศูนย์กลางของโลก หรือว่าเส้นรอบวงของโลกนั้นใหญ่ขนาดไหน ไหนๆ คุยกันถึงเรื่องโลกกลมไปแล้ว ในช่วงเวลานั้นครับ คงจะต้องคุยถึงนะครับ ผู้ทำแผนที่ชาวเยอรมันสักคนหนึ่ง ซึ่งมีคุณุปการต่อเรื่องของคำว่าโลกกลมเยอะพอสมควรเลย นั่นก็คือนักทำแผนที่ชาวเมืองเนินแบก ตอนใต้ของเยอรมันนะครับ ที่มีชื่อว่า Martin Beheim ชายคนนี้ครับ เริ่มต้นทำลูกโลกจำลองเป็นครั้งแรกนะครับ เขานั้นทำลูกโลกเสร็จในปี 1492 ก็เป็นปีเดียวกันแล้วครับ ที่ Columbus นั้นเดินทางไปถึงดินแดนใหม่ ก็คืออเมริกา สำหรับลูกโลกของมาร์ทิน เบไฮนด์ ครับ ถือได้ว่า ฉีกแนวมาก เพราะแผ่นที่ในสมัยนั้น จะทํากันเป็นแผ่นแบนแบน นะครับ แต่ว่า เบไฮนด์ นั้นคิดแบบนี้ ไม่ใช่ ในเมื่อโลกมันกลม เราหาวิธีไหม เอาแผ่นที่ไปอยู่บนสันฐานที่กลม ลูกโลก ลูกแรกที่เขาทํา มีชื่อว่า แอด อัปเฟล เป็นภาษาเยอรมันนะครับ คําว่า แอด แปลว่าโลก ก็คือ เอิร์ท นั่นแหละครับ อัปเฟล แปลว่า แอปเปิ้ล มีความหมายว่าลูกโลก ลูกแรกที่มนุษยชาติประดิษฐ์ขึ้นนั้น มีชื่อว่า แอด อัฟเฟิล ด้วยการทำให้แผนที่ซึ่งเคยเป็นแผ่นแบรนด์นั้น ทำให้เป็นส่งกลมครับ แต่ความน่าสนใจก็คือ แผนที่ของเขายังไม่ได้มีการบรรจุทวีปใหม่ ที่มีชื่อว่า อเมริกา ลงไป กลับมาที่ข้อเสนอโคลัมบัสกันบ้างนะครับ โคลัมบัสนำข้อเสนอของเขาในการที่จะไปพบอินเดียเนี่ย ในทางทิศตะวันตกให้กับพระเจ้าชูอาวที่ 2 นะครับ พระเจ้าชูอาวที่ 2 เนี่ย เอาแผนการอันนี้แล้วไปคุยกับผู้เชี่ยวชาญการเดินเรือของโปรตุกิส แปลว่าผู้เชี่ยวชาญเดินเรือในโปรตุเกตบอกว่า ใช้ระยะทาง 2,400 มายทีเร มันดูสั้นเกินกว่าที่จะวนไปอีกขอบโลกนึง แล้วไปพบอินเ���ียทางทิศตะวันตก ผู้เชี่ยวชาญจากสถาบันที่มีเชื่อว่า Chegres ดังที่ได้บอกเชื่อว่าโคลัมบัสคงคำนวณผิดพลาด เพราะโลกนั้นไม่ได้เล็กอย่างที่โคลัมบัสคิดแน่ๆ นอกจากนี้ครับ จากความสำเร็จของบาทโตโลมิยูอูดีอัส ในปี 1488 ทำให้ราชสนักโปรตูเกตครับ ปฏิเสธการสนับสนุนแผนของโคลัมบัส เพราะคิดว่า พวกเขาอยากทุ่มศพกำลังทั้งหมดเลย ให้กับการเดินทางไปอย่างทิศตะวันออก มากกว่าการแบ่งทรัพยากรไปในการสำรวจ 2 ทิศทางในเวลาเดียวกัน ด้วยสาเหตุนี้ล่ะครับ โคลอัมบัสจึงบ่ายหน้าไปขายโปรเจกต์ของเขากับราชสำนักสเปนแทนที่ ราชสำนักสเปนในเวลานั้นครับ อยู่ภายใต้ราชวงศ์ คัสเจลโย ลีออน ที่มีนะครับ ราชินีอิซาเบลล่าเป็นประมุข พร้อมกับพระสวามีก็คือเจ้าชายเฟอร์นาโดแห่งอารกร หลายคนถาม อารกรคืออะไร ท่านดูง่ายๆ อารกรปัจจุบันนี้ก็คือกาตาลุนยา บาเซโลน่านี่แหละครับ ในเวลานั้นครับ ราชสนักสเปนยอมเดิมพันธุ์กับโคลัมบัสครับ โดยได้ให้งบประมาณในการที่เขาจะเดินเรือไปสำรวจทางทิศตะวันตก การเดินทางไปยังทิศตะวันตกเพื่อไปหาอินเดียของเขาครับ ประกอบไปด้วยเรือ 3 ลำ เป็นเรือลำใหญ่ที่มีชื่อว่า Santa Maria เรือลำเล็กอีก 2 ลำ มีชื่อว่า Pinta และก็ Ninja พวกเขาเดินทางออกจาก Palos de la Frontera ในเดือนสิงหาคมปี 1492 พวกเขาใช้เวลา 60 วันในการข้ามมหาสมุดแอตแลนติก และได้พบกับแผ่นดินที่พวกเขาเชื่อว่า นี่แหละคือเป้าหมายที่พวกเราหา และนั่นแหละคือทิศตะวันตกของ India จุดที่พวกเขาพบครับ จริงๆ แล้วยังไม่ใช่พื้นพันธุ์ดินอเมริกานะครับ แต่ว่าเป็นเกาะที่อยู่ไม่ได้ไกลจากทวีปอเมริกาในเวลานี้ นั่นก็คือกเกาะบาฮามัส นั่นคือจุดที่เราได้ยินกันมานะครับว่า คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ก็คือ คริสโตเฟอร์โร โคลัมโบ และน้องชายของเขาที่มีชื่อว่า บาร์โตโลเมโย โคลัมโบ รวมถึงกล่องเรือสเปนนั้น เดินทางไปพบทวีปอเมริกาแล้ว โดยพวกเขาในเวลานั้นยังไม่รู้นะครับว่านี่คือแผ่นดินใหม่ พวกเขาเชื่อแค่ว่านั่นคือทิศตะวันตกของอินเดีย ว่าง่ายๆ ล่ะครับ เขาเชื่อว่าโลกนั้นมีเส้นรอบวงที่ไม่ได้ใหญ่มากนัก การเดินทางไปสู่อินเดียสามารถทำได้ด้วยการเดินทางไปสู่ทิศตะวันตก แล้วก็จะพบอีกทิศหนึ่งของอินเดีย ต้องยอมรับว่าเวลานั้นยังไม่มีใครรู้นะครับว่าโลกใหญ่ขนาดไหน และยังไม่มีใครรู้ด้วยซ้ำคำว่า นอกจากเอเชีย ยุโรป และแอฟริกา โลกนี้ยังมีทวีปใหญ่อีกหนึ่งทวีป เป็นที่น่าสังเกตนะครับว่า ลูกโลกของเบไฮมดังที่เราได้บอกไปแล้ว ที่มีชื่อว่า แอดอัฟเฟิล ที่ทำขึ้นในปี 1492 เป็นลูกโลกก็จริงนะครับ แต่ประกอบไปด้วยทวีปหลักๆแค่ 3 ทวีปครับ ก็คือทวีปยุโรป เอเชีย และ แอฟริกา โดยที่มีน้ำลอมๆ และน้ำนั้นก็คือมหาสมุดแอตแลนติก ส่วนตอนใต้ก็คือมหาสมุดอินเดีย เพราะตอนนั้นยังไม่มีใครรู้ครับว่า สิ่งที่โคลัมบัสพบนั้นมันคืออะไร หลังจากการค้นพบแผ่นดินบาฮามาสครับ ที่เขาเชื่อว่ามันคืออินเดียตะวันตก โคลัมบัสเดินทางนะครับ ข้ามแอตแลนติก ไปยังพื้นที่ที่เขาเชียวว่านั่นคืออินเดียอีก 3 ครั้ง รวมเป็นการสำรวจของคนลำบัดสมด 4 ครั้งด้วยกัน และนั่นล่ะครับ ก็คือการที่สเปนเริ่มต้นการขยายอำนาจของจักรวรรดิพวกเขา ในพันธุ์ดินใหม่ในเวลาต่อมาด้วย เป็นที่น่าสังเกตนะครับว่า ผู้ค้นพบแผ่นดินใหม่หรือทวีปอเมริกา เรารู้กันมาตลอดว่าคือคริสโตเฟอร์ โคลัมบัส แต่ว่าชื่อดินแดนใหม่แห่งนี้ ทำไมไม่ชื่อโคลัมบัส ทำไมไม่ชื่อโคลัมโบ ทำไมไม่มีการตั้งชื่อเป็นเกียรติให้กับตัวคนที่พบทวีปใหม่นี้ แต่กลับตั้งชื่อตามนักสำรวจรุ่นน้องที่มีชื่อว่า อเมริกุสเวสบุชิอุส หรืออเมริโกเวสบุชิ ตอนหน้าเรามาตามว่า ชายคนนี้อเมริโกเวสบุชชี เขาเจออะไร และทำไมทวีปอเมริกาจึงตั้งชื่อตามเขา และไม่ได้ตั้งชื่อตามโคลัมบัส นอกจากนี้ครับ การแข่งขันกันของราชสำนักโปรตูเกต และราชสำนักสเปน จะเดินหน้าไปอย่างไร และถ้าเกิดสำรวจและเกิดมีความทับซ้อน จะแค่ไขปัญหาความขันแย้งตรงนั้นอย่างไร The Standard Podcast Eye Opening For Your Ears This is The Standard Podcast Eye Opening For Your Ears 8-Minute History ซึ่งจริงๆ แล้วก็คือกเกาะมหามาส ซึ่งถือว่าเป็นสูตรหนึ่งของทวีปอเมริกา โดยที่ตัวเขาเองก็ไม่รู้ด้วยซ้ำว่า นั่นคือมวลแผ่นดินอีกหนึ่งมวล ประเด็นคือว่าถ้าเราพูดบอกว่า การสำรวจโลกนี้นะครับ ณ เวลานั้นเป็นการแข่งขันกันระหว่างราชสำนักสองแห่ง คือราชสำนักสเปนกับโปรดุเกต บางครั้งมันอาจจะนำไปซึ่งการขัดแย้งกันได้ เพราะว่าแผนที่ใหม่ ดินแดนใหม่เอง ก็ยังคงไม่มีใครรู้ว่าหน้าตาเป็นยังไง ดังนั้นประอบทิศาสตร์ 8 นาทีในวันนี้ครับ เราจะมาคุยกันถึงประเด็นนี้ การแข่งขันกันในการหาโลกใหม่ สำรวจโลกใหม่ การแข่งขันของ 2 ราชสำนัก สเปนและปลูตุเกต รวมถึงสนทิศัณยาที่เป็นการแบ่งอนาคตของการสำรวจโลกใหม่ ที่มีชื่อว่า สนทิศัณยาตอร์เดสียาสครับ ในกรอบเวลาแบบนั้นครับ คริสโตเฟอร์ คอลัมบัส นอกเหนือไปจากที่การที่เขาเดินเรือเนี่ย แล้วก็ไปพบกับบาฮามาส แล้วก็พื้นที่อื่นๆ ในดินแดนซึ่งเขายังคิดว่าเป็นอินเดียตะวันตก ทั้งหมดเขาเดินทางไปทั้งหมด 4 ครั้งด้วยกัน ส่วนหนึ่งครับ เขาเดินทางไปยังเกาะคานารีส ซึ่งเขาบอกนะคะว่าพื้นที่เกาะตรงนี้เป็นพื้นที่ของสเปน โปรโทเกรดบอกไม่ใช่ พื้นที่ตรงนี้ไม่ไกลจากแผ่นดินเรา ต้องเป็นพื้นที่ของเรา ประเด็นคือเมื่อ 2 มหาอำนาจทางทะเลของโลกเนี่ย เจอปัญหานี้ครับ เกิดมีความขัดแย้ง ในอนาคตถ้ากองเรือนทั้งสองเดินทางไปสำรวจแล้ว เกิดทัพเส้นทางกันแล้ว เกิดความขัดแย้ง จะทำอย่างไรครับ ดังนั้นทั้งสองฝ่ายจึงเห็นควรนะครับว่า เรามาร่วมกันทำสนทิสัญญาสักฉบับนึงไหม แบ่งเขตกันไปเลยว่า ใครสำรวจโซนไหนนะครับ ในปี 1494 ครับ คือ 2 ปีหลังจากที่คริสโฟฟเฟอร์โคลามาส เดินทางไปบาฮามาสนะครับ ราชสำนักทั้งสองแห่งได้มีการตกลงกันในสัญญานี้ ทางฝ่ายของโปรตุเกศครับ นำโดยพระเจ้าชูอาวที่ 2 สเปน โดยราชวงศ์นะครับ คัสติลยา ลีออน โดยกษัตริย์เฟอร์นันโดที่ 2 แห่งอารากอน แล้วก็พระราชินิอิซาเบลล่าแห่งคัสติลยานะครับ ครั้งนั้นได้มีการลงนามกันนะครับ โดยผู้ที่เป็นศักขีพยานคนสำคัญ ก็คือพระสันตะปาปาอเลสันโดที่ 6 โดยส่วนที่สัญญาตอเดเซียสนี้มีการลงนามกันนะครับ ชื่อก็บอกแล้วที่เมืองตอเดเซียสในสเปนนะครับ หลงน้ำกันเสร็จปั๊บ มีการไปประกาศใช้ที่เมืองสเตย์ตูบัลที่โปรตุเกต ผลของสนที่สัญญาชบับนี้ คือการนำมาซึ่งการขีดเส้นนะครับว่า พื้นที่ใดจะเป็นพื้นที่การสำรวจของสเปน พื้นที่ใดจะเป็นพื้นที่การสำรวจของทางโปรตุเกตกันบ้าง ถ้าหากว่าเราดูแผนที่โลกในปัจจุบัน อาจจะพอเข้าใจง่ายครับ แต่ต้องยอมรับว่าในเวลานั้นครับ ยังไม่มีใครที่มีแผนที่โลกฉบับสมบูรณ์แบบวันนี้ เพราะฉะนั้นการขีดเส้นอาจจะเป็นการขีดเส้นที่วางอยู่บนพื้นฐานของความเข้าใจของคนในเวลานั้น ยากที่จะอธิบายถ้าเรามอง แต่ว่านักประวัติศาสตร์ในยุคนี้สามารถใช้ความเข้าใจและการแบ่งพื้นที่ในวันนั้นเนี่ย แล้วมาขีดเส้นนะครับ ตามหลักของสนทิศัณยาต่อเดซิยาซ ซึ่งเส้นที่ได้มีการขีดนั้นต้องบอกมีการปรับเปลี่ยนหลายครั้ง จนกระทั่งตกผลึกนะครับ ในยุคของพระสันตะปาปายูลิวส์ที่ 2 ที่ได้มีการขีดเส้นและมีความชัดเจนมากขึ้น ต้องบอกแบบนี้นะครับว่า ผู้ที่ทำสัญญาคือ 2 ฝ่ายครับ โปรตุเกตและสเปน ประเด็นคือแล้วชาติยุโรปอื่นๆ ที่ก็มีกองเรือที่ในอนาคตเขาอาจจะมีความสามารถในการเดินหน้าสำรวจ เขามองว่าอย่างไร ไม่มีชาติไหนมีความสุข ไม่มีชาติไหนที่มีความแฮปปี้นะครับ เพราะเขาก็มองว่าโลกนี้ยังมีชาติอื่นที่มีความสามารถในการเข้าถึงโลกใหม่ได้ด้วย ทำไมจึงต้องให้อำนาจกับสเปนและโปรตุเกต แต่ทุกฝ่ายก็ต่างเมินเฉยครับ เพราะว่าประเทศต่างๆในเวลานั้น อาจจะยังโรมดันพันตูอยู่กับปัญหาภายใน หรือปัญหากันกับประเทศเพื่อนบ้าน ดังนั้นจึงยังไม่มีใครหรอกครับ ที่ยกมือแล้วบอกว่าไม่เคารพสัญญาต่อเดเซียสนะครับ ในที่สุดแล้วครับ 2 มหาบนหน้าจึงมีเส้นขีดจัดสนที่สัญญาในการครอบคลุมพื้นที่ว่าใครจะมีความสามารถใครที่จะมีสิทธิ์ในการเดินหน้าสำรวจพื้นที่ฝั่งใดกันบ้าง ถ้าหากว่าเรามองเส้นที่ในปัจจุบันได้มีการปรับเปลี่ยนไปแล้วจะพบว่ามหาสมุดอินเดียรวมถึงบางส่วนของมหาสมุดแอตแลนติกตกเป็นของโปรตูเกตในขณะที่ล้ำเกินไปไปสู่ทิศตะวันตก เกินไปชั้นใน ในทวีปโลกใหม่ ซึ่งพวกเขายังไม่รู้ว่ามีในเวลานั้น ตกเป็นของสเปน เป็นการแบ่งเขตกันอย่างชัดเจนด้วย ทีนี้ครับ หลังจากที่มีสนทิศสัญญาต่อเดซิยัสได้ 4 ปี คือปี 1498 ครับ โปรตูเกตครับ ประสบความสำเร็จต่อยอดความพยายามของบาตรูมิวอูดีอัส เพราะกองเรือสำรวจภายใต้การนำของกัปตันเรือคนใหม่ วาชกูดากามา เลียบชายฝั่งแอฟริกาตะวันตก เหมือนกันกับบาตรูมิวอูดีอัส ลงสู่แหลมกูดโฮป เข้าสู่มหาสมุดอินเดีย เดินทางสู่ทิศตะวันออก และพบกับ ชมพูทวีป หรือ อินเดีย ด้วยเส้นทางเรือนะครับ โดยที่พื้นที่แรกที่เขาพบคือเมืองแคลิกัทในปี 1498 มีความหมายว่า 6 ปีหลังจากความสำเร็จของคริสโตเฟอร์โคลัมบัส ปุตุเกตเองครับ ในเวลานั้นจึงได้เริ่มต้นขยายบทบาทในอินเดีย เดินเรือต่อไปยังมาลากา ไปยังหมู่เกาะโมลุกะ หมู่เกาะโมลุกะนี่ปัจจุบันก็อยู่ในพื้นที่ของอินโดนีเซียแล้วครับ สำหรับความสำเร็จในครั้งนั้นก็เลยทำให้วาสกุดากามาได้รับการแต่งตั้งเป็นค่าหลวงใหญ่ในอินเดีย และทั้งหมดนี้นะครับ อยู่ในเขตแดนที่ถูกกำหนดโดยสนทิศัณยาตอเดเซียส ซึ่งมีความหมายว่าอาทิตย์ตะวันออกของยุโรป คือเขตอิทธิพลของโปรตูเกตครับ ทีนี้มาอีกส่วนหนึ่งกันบ เส้นแบ่งเขตแดนการสำรวจภายใต้สนทิศัณยาตอเดเซียสนี้ กินเข้าไปถึงดินแดนตะวันตกสุดของมหาสมุทรแอตแลนติกอยู่เล็กน้อย และพวกเขาเมื่อกลางแผนที่ดูแล้ว ในปี 1500 พวกเขาได้มีการส่งกองเรือไปยังขอบสุดทางด้านทิศตะวันตก ที่ถูกขีดเส้นแดนเอาไว้โดยสนทิศัณยาตอเดเซียส ในปีนั้นนักสำรวจกองเรือชาวโปรตุเกตที่มีชื่อว่า เพดรู อัลบาเรส กาบราล นำกองเรือสำรวจ 13 ลำ ฆ่ามหาสมุทรแอตแลนติก และไปยังขอบสุดที่ถูกขีดเส้นโดยสนทิสัญญาตอเลเซียส และยึดพื้นที่ทิศตะวันออกของแผ่นดินใหม่ที่พวกเขายังไม่รู้ว่ามันคืออะไร พื้นที่ผืนใหญ่มหาศาลเกือบครึ่งของทวีปอเมริกาใต้ในปัจจุบัน ถูกขีดเอาไว้โดยสินที่สัญญาต่อเดียสิยาส เปดรูกาบรัลยึดพื้นที่ในส่วนนั้นให้เป็นของโปรตุเกต และถวายให้เป็นของขวัญกับกษัตริย์มานูเอลที่ 1 ซึ่งเป็นผู้ที่ครองราชต่อจากพระเจ้าชูอาวที่ 2 จากวันนั้นจนวันนี้แผ่นดินนั้นเป็นที่ตั้งของประเทศเดียวในทวีปอเมริกาใต้ ที่พูดภาษาโปรตุเกตแผ่นดินนั้นมีชื่อว่าบราซิล จนตัวเขามีฉายาว่า เพดรูดูบราซิล สำหรับเพดรู อัลบาเรสกาบราลนะครับ ถือเป็นมนุษย์คนแรกบนโลกนี้เลย ที่ได้เคยเดินทางไปถึง 4 ทวีปทั่วโลกครับ ก็คือยุโรป บ้านเกิดตัวเขาเอง แอฟริกาใต้ เอเชีย ก็คือเขาเดินทางไปถึงอินเดีย เพราะว่าครั้งนึงครับ เขาเคยเป็นลูกเรือของวาสกูดากามา เมื่อครั้งที่เดินทางไปสู่อินเดีย และตะวันออกไกล และ... พันธกิจหลังสุดของเขาก็คือการยึดแผ่นดินบราซิล ซึ่งอยู่ฝั่งตรงกันข้ามของมหาสมุทรแอตแลนติก ให้เป็นกรรมสิทธิ์ของโปรตูเกตในทวีปอเมริกา กลับมาที่คริสโตเฟอร์ โคลัมบัสกันบ้างครับ เขาตายลงในปี 1506 นะครับ โดยที่ยังมีความเชื่อว่า แผ่นดินที่เขาเจอในเวลานั้น และเดินทางเทียวไลท์เทียวขื่อ 4 รอบเนี่ย คืออินเดียที่ตะวันตกครับ โดยที่พวกเขาก็เรียกคนพื้นเมืองที่นั้นว่าอินเดีย โดยที่ตัวเขานั้นไม่เคยรู้เนี่ยนะครับว่า นั่นคือพื้นที่แผ่นดินใหม่ ที่เป็นมวลแผ่นดินที่มีขนาดใหญ่เท่ากันกับทวีปๆ นึง สำหรับสาเหตุนะครับที่โลกไม่ได้มีการเอาชื่อของเขามาตั้งเป็นชื่อทวีปใหม่ แต่กลับไปตามชื่อนักสำรวจชาวอิตาเลียนซึ่งเป็นนักสำรวจรุ่นน้องนะครับ แต่ว่าทั้งสองคนนี้เกิดปีเดียวกันคือปี 1451 กล่าวคือสองคนนี้เนี่ยอายุมากกว่าเรอร์นาโดดาวินทรี่เนี่ย 1 ปี นักสำรวจผู้นั้นมีชื่อว่า อเมริโก เวสบุชชี สาเหตุที่ตั้งชื่อทวีปใหม่ว่าอเมริกา แทนที่จะเป็นโคลัมบัส โคลัมโบ หร��ออะไรก็ตาม แต่สาเหตุเป็นอย่างต่อไปนี้ครับ ช่วงสุดท้ายของชีวิตของคริสโซเฟอร์ โคลัมบัสนี้นะครับ อเมริกุส เวสบุชชี ซึ่งเป็นนักสำรวจชาวอิตาเลียนเช่นเดียวกัน ถวายตัวทำงานนะครับ ให้กับราชสำนักของทั้งสองมหาอำนาจเลย กล่าวคือเริ่มต้นทำงานให้กับราชสำนักโปรตุเกตในปี 1499-1502 ปี จากนั้นเข้าไปทำงานให้กับราชสำนักสเปนในปี 1501-1502 ปี ในปี 1501 หรือว่า 9 ปีหลังจากที่โคลัมบาสนั้นพบบาฮามาส อเมริโก เวสบูชี่บอกมาแบบนี้ แผ่นดินที่เขาพบไม่ใช่อินเดียตะวันตกครับ แต่ว่าสิ่งที่เขาพบและเขาขึ้นฟังเป็นมวลแผ่นดิน หรือว่า Landmass ใหม่ เป็นแผ่นดินที่ไม่เคยรู้จักกันมาก่อน แม้แต่ชาวยุโรปเองก็ไม่เคยรู้ว่าโลกใบนี้มี Landmass หรือว่ามวลแผ่นดินที่มีขนาดใหญ่เป็นทวีปอีกหนึ่งแผ่นดิน 6 ปีให้หลังจากที่เขาได้มีการประกาศการค้นพบว่าพื้นที่นั้นคือแผ่นดินใหม่ คือในปี 1507 ครับ ก็คือ 1 ปีหลังการตายของโคลัมบัส นักทำแผ่นที่หรือว่า Cartographic นะครับ ชาวเยอรมัน เป็นผู้รวบรวมข้อมูลต่างๆ ในการทำแผ่นที่ในยุคนั้นที่มีชื่อว่า Martin Waldseemuller วาดแผ่นที่โลกฉบับใหม่ วางอยู่บนพื้นฐานการพ้นพบและการยืนยันของอเมริโกเวสต์วูชชี และเชื่อว่าคํากล่าวของเวสบุชชีนั้นสมเหตุสมผล แผนที่เวอร์ชั่นใหม่ของมาร์ติน วาลด์ เซเวอร์เลอร์ จึงเป็นแผนที่ฉบับแรกที่โลกใบนี้ ประกอบไปด้วยทวีปเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งทวีป และเขาก็ตั้งชื่อทวีปตามชื่อหน้าของผู้ที่ค้นพบทวีปนั้น ก็คือ อเมริกุส เวสปุทธิ์ชิวส ดังนั้นจึงเรียกชื่อทวีปนั้นเวลาที่ลงน้ำหมึกลงบนแผนที่ว่าทวีป อเมริกา เป็นการตอกยามว่า สิ่งที่โคลัมบัส และสิ่งที่เวสบูชีพบนั้นเป็นทวีปใหม่ สิ่งนี้ถือเป็นการปลี่นแปลงความเข้าใจของคนยุโรปต่อโลกใบนี้ทั้งหมด จากเดิมที่มียุโรป แอฟริกา เอเชีย นักวันนั้นเริ่มต้นมีอีกหนึ่งทวีปที่วาลเซมูลเลอร์เรียกว่าอเมริกา ด้วยความที่แผนที่ของวาลเซมูลเลอร์ฉบับนี้นะครับ ถูกแพร่หลายไปอย่างสเปนตอนที่อเมริกุสเวสบูชิอุสหรือว่าอเมริโกเวสบูชิตายไปแล้ว ทำให้เจ้าตัวครับคือเวสบูชิไม่รู้ได้ซ้ำว่าชื่อตัวเองถูกเอาไปตั้งเป็นชื่อทวีปเป็นที่เรียบร้อยไปแล้ว อย่างไรก็ตามครับสเปนปฏิเสธที่จะเรียกชื่อดินดาลใหม่แห่งนี้ว่าอเมริกา แต่ว่าพวกเขาเรียกดินแดนใหม่โดยที่ยังไม่ได้ตั้งชื่อนั้นว่า Terra Incognito เป็นภาษาลตินแปลว่า ดินแดนที่ยังไม่มีใครรู้จัก สำหรับลูกโลกครับ ที่เป็นลูกโลก ลูกแรกที่ได้มีการบรรจุทวีปใหม่ หรือทวีปอเมริกาเข้าไป มีชื่อว่า Globus Jagiellonicus ผลิตขึ้น 3 ปีหลังจากนั้น คือในปี 1510 The Jean Goudre เป็นโลกจำลองลูกแรกๆ ที่มีการบรรจุทวีปอเมริกาเข้าไว้ จึงกลายเป็นลูกโลกที่มีความสมบูรณ์มากกว่ายุคใดๆ ก่อนหน้านั้น ในแผ่นที่นั้น เรียกทวีปอเมริกาฝั่งที่ติดกับแอตแลนติกว่า Mundus Novus Terra Sancta Crucis หรือว่าเตราโดบราซิล และเรียกทวีปอเมริกาฝั่งที่ติดกับมหาสมุดที่พวกเขายังไม่รู้จัก ก็คือมหาสมุดปาซิฟิกนี่แหละครับ เรียกว่า America Novitar Reparta คืออเมริกาที่ถูกค้นพบใหม่ ต้องบอกนะครับว่าเรามองย้อนกลับไปเมื่อช่วงปีนั้น เรายังไม่รู้ว่าโรคนี้มีภูมิศาสตร์ที่สมบูรณ์แบบอย่างไร การตั้งชื่ออาจจะยังไม่ตกผลึกสักเท่าไหร่ แต่นี่แหละครับคือวิวัฒนาการ ของการทำแผนที่และการสำรวจโลกด้วย ถ้าหากว่าเราดูแผนที่โลกรุ่นใหม่จากบาลเซมูลเลอร์ หรือว่าลูกโลกลูกใหม่ เราอาจจะคิดนะครับว่าในเวลานั้นโลกรู้แล้วว่าเรามีทวีปใหม่ที่เกิดขึ้นมา แต่มหาสมุดที่มีการเชื่อมโยงระหว่างทวีปใหม่กับเอเชีย มหาสมุดนั้นโลกนี้ยังไม่รู้จัก คนยุโรปยังไม่รู้ว่านั่นคือมหาสมุดอะไร ถ้าลองคิดดูแล้วกันค่ะว่า เรามองย้อนกลับไปในเวลานั้นเราไม่รู้ แต่คนที่ค้นพบค่ะว่า มหาสมุทรมีอีกหนึ่งมหาสมุทร และนั่นคือมหาสมุทร Pacific ที่เชื่อมโยงอเมริกากับตะวันออกของเอเชีย จะยิ่งใหญ่ขนาดไหน และสิ่งนั้นจะบรรลุได้ ก็ต่อเมื่อมีคนที่สามารถที่จะเดินเรือ แล้วไปสำรวจ จากยุโรปข้ามแอตแลนติกไปยังอเมริกา จากอเมริกาข้ามไปยังเอเชีย คนคนนั้นมีชื่อโปรตุกีสว่า แฟรนัว เดอร์มากายานิส สำหรับ Fair Nouns De Magallanes เรารู้จักแนะนำของ Ferdinand Magellan นะครับ ซึ่งก็เป็นเหมือนเดิมนะครับ ก็ชื่อของเขาเนี่ย ถูก Anglicize จาก Fair Nouns De Magallanes ชื่อปลูตุกีสต์ เปลี่ยนให้เป็น Ferdinand Magellan หลายคนจะบอกว่าเป็นคนสก๊อตหรือเปล่า ไม่ใช่นะครับ ตัวเขาเป็นคนปลูตุกีสต์ แล้วบอกแบบนี้ครับว่า คุณอุปกรณ์ของเขานั้นถือได้ว่ามหาศาลทีเดียวนะครับ เพราะว่าเขามีการเดินเรือและค้นพบหลายสิ่งหลายอย่างมาก เช่น ช่องแคบแม็กเจลัน มหาสมุทรแปซิฟิก เราไปดูกันบ้างว่าพันธกิจของเขานั้นเป็นอย่างไรกันบ้าง หลังจากที่ราชสำนักโบตุเกตเดินหน้าครอบครองบราซิล เดินหน้าไปพบอินเดียแล้ว ราชสำนักสเปน อันนี้ภายใต้กษัตริย์พระองค์ใหม่ คือพระเจ้าคารอสที่ 5 ได้มีการสถาปนากองเรือสำรวจครับ ด้วยที่ต้องการที่จะเดินทางไปอย่างมูเกาะโมลุกะ ซึ่งเป็นมูเกาะที่มีการค้าขายบรรดาสไปรส หรือว่าเครื่องเทศขนาดใหญ่มาก ที่ชาวโปรตุเกตนั้นเดินทางผ่านทางทิศตะวันออกแล้วไปพบแล้ว พระองค์จึงได้มีการตั้งกองเรือสำรวจ โดยที่มีโปรเจคใหม่ที่มีชื่อว่า Armada de Molucca ชื่อชัดเจน Armada แปลว่ากองเรือ ก็คือกองเรือที่จะเดินหน้าไปสำรวจหมู่เกาะมลุกัด โดยได้มีการตั้งนักสำรวจชาวโปรตุกีส ย้ำนะครับ Fernal de Magallanes เป็นชาวโปรตุกีส แต่ถวายตัวเข้าไปรับใช้ราชสำนักสเปน สำหรับ Ferdinand Magellan นะครับ พันธกิจของเขาคือการนำกองเรือนี้เดินทางไปสู่เกาะโมลุกะ ทั้งนี้ครับ ด้วยความที่สนทิสัญญาตอเดเซียสบอกว่า สเปนไม่สามารถเดินเรือไปทางทิศตะวันออกได้ จึงจำเป็นต้องล่องเรือไปอย่างทิศตะวันตก พูดง่ายๆ คืออ้อมโลกและให้เจอโมลุกะให้ได้ สนับกองเรือนี้ อามาด่า เดินโมลุกะ ประกอบมาด้วยเรือ 5 ลำ ใช้เวลาเดินเรือ ต้องบอกแบบนี้ครับ จำได้ไหม โคลัมบัสเดินทางไปอเมริกา ก็คือไปบาฮามาส 60 วัน แต่การเดินเรือภายใต้ธนาคิดนี้ อาบาดา เดอร์มูลลูกะ ใช้เวลาเกือบสามปีเต็ม สําหรับกองเรือสํารวจนะครับ ในครั้งนี้มีเรือประกอบด้วยกันทั้งหมดห้ารําด้วยกัน ผู้นํากองเรือครับ แฟรานาลเดอร์มากายานิส หรือว่าเฟอร์ดินานแม็กเจลันด์เป็นชาวโปรตุกีสนะครับ โดยความที่กองเรือเป็นกองเรือสัญชาติสเปน ดังนั้นคนที่เป็นกัปตันเรือจึงมีผสมผสาน ระหว่างกัปตันเรือชาวโปตุกิสกับกัปตันเรือ ซึ่งเป็นขุนนางชาวสเปน แล้วก็มีลูกเรือผสมผสานของหลากหลายชาติภัณฑ์ด้วยกัน ลูกเรือชาวโปตุกิสก็มีอยู่ด้วย และหนึ่งในลูกเรือคนสำคัญ ซึ่งเป็นชาวโปตุกิส ซึ่งเป็นญาติของเฟอร์ดินัล แม็กเจลันด์ มีชื่อว่าดูอรเต้บาลวอซ่า นอกจากนี้ยังมีอีกหนึ่งคนครับที่ถูกแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการเรือหนึ่งในห้ารำที่มีชื่อว่า Joao Serral ชื่อเป็นภาษาสเปนถ้าเราไปค้นจะใช้คำว่า Joao Serral แต่ถ้าเกิดว่าเป็นชื่อโปรตุเกต Original จะมีชื่อว่า Joao Serral นอกจากนี้นะครับยังมีลูกเรือชาวโปรตุเกตอีกหนึ่งคนที่เป็นคนสำคัญครับก็คือ Estebal Gomez สำหรับลูกเรือนะครับในกองเรือนี้ประกอบมาได้คนหลากหลายสัญชาติอย่างที่บอก ปรุตุกีส สเปน อีกหนึ่งคนไม่เอ่ยไม่ได้ครับ เป็นปัญญาชนชาวเวนิสครับ มีชื่อว่า อันโตเนโย ปีกาเฟตตา เขาทำหน้าชีพเป็นผู้ช่วยนะครับ ผู้นำกองเรือสำรวจ และมีบทบาทสำคัญมาก ในการจดบันทึกการเดินทาง ตลอดการเดินทางโดยละเอียด จำคือเขาไว้นะครับ อันโตเนโย ปีกาเฟตตา เพราะว่าคนที่บันทึกเหตุการณ์ ตั้งแต่ต้นจนจบ ก็คือเขานี่ล่ะครับ เหลือลำนี้ทั้งหมดเลย มีลูกเรือ รวมผู้บัญชาการเรือ ผู้นำกองเรือ คือแม็กเจนแลนด์ 277 คน ปัญหาเป็นแบบนี้ครับ เป็นกองเรือสัญชาติสเปนครับ แต่ผู้นำเป็นคนโปรตุกีส แล้วมันจะมีปัญหาอะไรกันไหม สำหรับเรือ 5 ลำนี้ครับ ถูกต่อขึ้นที่อูตอเรือที่เมืองเซมีย่า ที่แขวนอันดาลูเซียซึ่งอยู่ภาคใต้ของสเปนนะครับ เรือลำที่ 1 เป็นเรือทงครับ สแล็กชิป มีชื่อว่า 3NIDAD มีกัปตันเรือและผู้บัญชาการกองเรือคือ เฟอรินาร แมคเจลัน ลำที่ 2 ซานอันโตนิโย คนที่เป็นกัปตันเรือคือ ควร เดอร์การตาเคน่า เป็นคนที่ทำหน้าที่เหมือนเจรในการตรวจการกองเรือทั้งหมดด้วย เป็นขุนนางที่รับการแต่งตั้งโดยกษัตริย์คารอลลอสที่ 5 แห่งสเปน คน The Cartagena คนนี้ รับผิดชอบด้านการเงิน การค้าของทั้งกองเรือ เรือลำนี้สำคัญนะครับ เป็นเรือที่บรรจุจำนวนเสมียงมากที่สุดด้วย เรือลำที่สามครับ มีชื่อว่า Concepcion ผู้นำกองเรือมีชื่อว่า Gaspar de Quezada เรือลำนี้มีลูกลืนหนึ่งคนครับ ที่จำเป็นต้องพูดถึงครับ คน Sebastian Elcano สำนักชายคนนี้เป็นอดีตอาทญากรจากแฟนบาสนะครับ ที่ได้รับการปล่อยตัวแล้วก็ติดทันบนนะครับ โดยทางการให้ทำคุณถ่ายโทษ ด้วยการให้เข้ามาเป็นลูกเรือลำนี้ ก็คือเรือ Concepcion แต่จำชื่อเขาไว้นะครับ ควร Sebastian Elcano เรือลำที่ 4 ครับ มีชื่อว่า Victoria กัปตันเรือมีชื่อว่า Louis de Mendoza และเรือลำสุดท้ายมีชื่อว่า Santiago กัปตันเรือเป็นชาวปลูตุกิสที่มีชื่อว่า João Ferrao หรือว่า Juan Serrano เรือทั้ง 5 ลำครับ มีค่าต่อเรือสูงถึง 8,700,000 กว่าเมราเวดิสต์ เมราเวดิสต์เป็นหน่วยเงินของปลูตุกิสต์ในเวลานั้น มีค่าเสมียงและค่าจ้างรวมอีก 1.2 ล้านเมราเวดิสต์ เรือทั้ง 5 ครับ ออกจากฝั่ง Sanlúcar de Berameda ของสเปนในเดือนกันยายน ของปี 1519 จากนั้นแวะพักที่สถานีแรกที่เมืองเชเนรีเฟ่ และเกาะคานารีส ระหว่างทางครับ อย่างที่เราเกริ่นเอาไว้ครับ กองเรือเป็นกองเรือสัญชาติสเปนนะครับ แต่ว่าผู้นำกองเรือครับ ลูกเรือจำนวนหนึ่ง แล้วเป็นชาวโปตุกีส จะมีข้อขัดแย้งอะไรกันหรือเปล่านะครับ เป็นธรรมชาตินะครับ ไม่พอใจกันแน่นอน เพราะว่าลูกเรือชาวสเปนเอง ไม่ค่อยเชื่อใจความสามารถนะครับ ในการเดินเรือของแมคเจอลันด์ ตั้งคำถามระหว่างทางตลอดเลย ทำไมเดินทางแล้วพยายามต้อง เรียบใช้ฝั่งตะวันตกของแอฟริกา แทนที่จะข้ามแอตแลนติกไปโดยตรง ถามแบบนี้เพราะอะไรครับ มีความรู้สึกไม่ไว้ใจครับ ผู้บัญชากรเรือเป็นคนโปรโตเกต ลองเรือเรียบฝั่งแอฟริกาตะวันตก ซึ่งเป็นเขตอิทธิพลของโปรตุเกต เขาจะทอลยศราชสำนักสเปนหรือเปล่า หลังจากนั้นครับ 7 ดื้อนหลังจากการเดินทาง คือในเดือนเมษายน 1520 ครับ ผู้นำกองเรือ 3 คนของสเปน นำโดย ควน เดอร์การาตาเคน่า กาสปาร์ด เดอร์เกซาด้า และลูวิส เดอร์เมนโดซ่า ซึ่งเป็นกัปตันเรือ คอนเซปเซยน และวิคโตเรีย ให้การสนับสนุน ควน เดอร์การาตาเคน่า นำไปสู่แผนการในการพยายาม ลอบสังหารเฟอร์ดินา เฟอรินัลแม็กเจลัน แต่ครับ ถูกจับตัวได้ซะก่อน ทําให้แม็กเจลันนําเอาหมุคคลเหล่านี้ไปทําการตัดสิน สรรคบลการสอบสวนนําโดยลูกพี่ลูกน้องของเฟอรินัลแม็กเจลันแหละครับ ที่มีชื่อว่า อัลบาโร เวเมสกิตา คําพิพากษาก็คือกัปตันเรือสองคน คือกัปตันเรือเกรซีดา ก็คือเมนโดซ่า และกัปตันเรือกอนเซปเซียน และวิคโตเรียนั้นถูกตัดคอประจาน สำหัวโจทย์ครับ ก็คือ ควรเดกาตาเทน่า ครับ ในฐานะที่เป็นขุนนางของราชสนักสเปน ถูกแต่งตั้งโดยตรงโดยกษัตริย์คารลอสที่ 5 ไม่สามารถถูกประหารได้นะครับ เพราะตามกฎหมายสเปนแล้ว แต่งตั้งโดยกษัตริย์ จะถูกประหารได้ก็โดยพระบรมราชองค์การของกษัตริย์ เมื่อฆ่าไม่ได้ครับ แม็กเจนเล่น เลยทิ้งคุณเดอร์การาตาเคน่า คนที่เริ่มก่อวอร์ดความวุ่นวาย แล้วก็เป็นนายเรือของเรือที่มีชื่อว่า สันติยากโก และบาทหลวงเปดรูสันเชสเดอเรน่า เอาไว้ที่เกาะเล็กๆ ในพื้นที่ปันตากูเนีย ซึ่งเป็นเกาะร้างทางตอนใต้ของทวีปอเมริกาใต้ โดยที่ก็ไม่รู้ว่าชะตาต่อไปของการาตาเคน่ากับบาทหลวงนี้เนี่ย จะเป็นยังไง แต่แน่นอนล่ะครับ ถูกปล่อยเกาะกันอยู่สองคน ก็คงจะต้องตายระหว่างทาง แต่สําหรับตัวเขาครับ แม็กเจนแลนด์ก็สามารถที่จะเคลมได้ว่า เขาไม่ได้มีการสั่งประหารคุณนางของราชสํานักสเปน หลังจากนั้นครับ เหลือทั้ง 5 ลำ พร้อมกับกลุ่มลูกเรือกลุ่มหนึ่ง ที่ยังพอรวมใจกันไปได้ เดินหน้าต่อไป พันธกิจสำคัญของเขาครับ จะทำอย่างไรในการที่จะเดินหน้าไปยังมู่เกาะโมลุกะ ความขัดแย้งภายในเรือที่ดูเป็นเรื่องเล็ก แต่จริงๆแล้วมันไม่ใช่เรื่องเล็ก ชะตาชีวิตของเรือทั้ง 5 ลำ และเฟอรินารด์แม็กเจลันด์จะเป็นอย่างไร ตอนจบแล้วจะมีเรือรอดกลับไปที่สเปนสักกี่ลำ พบโมโลกะเมื่อไหร่ เดี๋ยวตอนหน้ามากลิ่นครับ การเดินทางสำรวจโลกนะครับ โดยการเดินทางวนของเส้นรอบโลก หรือว่า หรือว่า ของ เฟอร์ดินาน แม็กเจลลันด์ ความเดินตอนที่แล้วครับ เล่าถึงช่วงที่ล่องเรือกันไป จนกระทั่งถึงพื้นที่อเมริกาใต้ และเกิดมีการถ่อยดของบรรดากลุ่มกัปตันเรือชาวสเปน จนกระทั่งทำให้เฟอร์ดินาน แม็กเจลันด์ ผู้บัญชาการกองเรือนะครับ อามาดา เดอร์โมลุกะ จำเป็นต้องสั่งประหารชีวิตในเรือ 2 คน และมีการปล่อยเกาะคน The Cartagena ซึ่งก็มั่นใจได้ว่าตายระหว่างทางแน่นอนนะครับ เข้าสู่เดือนที่ 8 ของการเดินทางของกองเรือ 5 ลำ Armada de Molucca นะครับ พวกเขาเข้าสู่พื้นที่สำคัญของอเมริกาใต้ พวกเขาได้พบแม่น้ำซึ่งปัจจุบันเรียกว่าแม่น้ำ Sancta Cruz สำหรับ Sancta Cruz ก็คือ Holy Cross ก็คือกางเขนอันศักดิ์สิทธิ์ ก็คือกัปตันเรือ ซานตีอาโก ชาวโปรตุกิสที่มีชื่อว่า ชูอาวแซราว นั่นนะครับ การเดินทางในยุคนั้นประสบปัญหามากมายครับ และในที่สุดครับ เรือ ซานตีอาโก เป็นลำแรกที่ต้อง Say Goodbye ไปนะครับ เพราะว่าอับปางกันที่บริเวณแม่น้ำ สังตะครูส นะครับ โดยที่เฟอรินาล แม็กเจอลันต์ ต้องส่งลูกเรือ 24 คนไปช่วยเหลือคน 35 คน ที่ลอยคออยู่ในทะเล ในเวลานั้นปัญหาที่เกิดขึ้นไม่ใช่แค่เสียเรือนะครับ แต่สะเบียงทั้งหมดซึ่งเก็บเอาไว้ในเรือ ซานตีอาร์โก้ จมลงก้นทะเลไปด้วย เข้าเดือนที่ 13 ของการร่องเรือครับ คือตุลาคมของปีถัดมาละ 1521 นะครับ เรือที่เหลืออีก 4 ลำครับ ร่องเลียบชายฝั่งตะวันออกของอเมริกาใต้ ท่านจินตนาการตามนะครับ พบกับร่องนามเล็กๆครับ ที่ทำให้เรือทั้ง 4 ลำพัดหลงกัน ทรีนิดัตและวิคโตเรียสามารถเล่นได้ปกติในหน้าน้ำ ในขณะที่อีก 2 ลำที่เหลือ คอนเซปเซียนและซานอันโตเนโย หายเข้าไปในร่องน้ำเล็กๆ 2 ลำแรกคือ ทรีนิดัตและวิคโตเรีย พยายามที่จะตามหาเรือ 2 ลำที่พัดหลงกัน ก่อนหน้าที่จะพบกัน และเดินหน้าสำรวจต่อไปด้วย หลังจากนั้น แม็คเจนแลนด์พบร่องน้ำเล็กๆ และเลือกที่จะเข้าไปสำรวจร่องน้ำเล็กๆ นั้น แทนที่จะเรียบชายฝั่ง และลงจุดใต้สุดของอเมริกา เรือสามลำในเวลานั้นคือ Trinidad Victoria Concepcion เดินทางไปด้วยกันในร่องน้ำเล็กๆ พวกเขาพบว่า San Antonio ครับ เรือที่มีเสบียงมากที่สุด มีลูกเรือ 55 คน ไม่แล่นตามไปด้วย แต่หันหัวเรือกลับ บ่ายหน้ากลับไปทางทิศตะวันออก ชัดเจนมากว่าต้องการกลับไปยังสเปน ทิ้งเรืออีก 3 ลำเอาไว้ที่ร่องน้ำเล็กๆ ปลายทวีปอเมริกาใต้ ซานอันโตนิโยที่แยกตัวไปในเวลานั้นนะครับ อยู่ภายใต้กัปตันเรือชาวโปรตุกิส อัลบาร์โหล เดอเมสกิต้า เขาเป็นลูกน้องกับเฟอร์ดินัล มัคเจนแล้วล่ะครับ ตัวเขาเองพยายามที่จะดึงเรือกลับเข้าสู่กองเรืออีก 3 ลำให้ได้ ส่งสัญญาณให้เรืออีก 3 ลำได้เห็นว่าซานอันโตนิโยนั้นอยู่ที่ไหน แต่ลูกเรือชาวสเปนของเขาก็คือเอสตาวัลโกเมส ยึดอำนาจและแทงเขา ก่อนที่จะล่ามโซ่เขาตลอดการเดินทางกลับสู่สเปน ซานอันโตเนียว เรือแตกแถวครับ กลับไปถึงเมืองเซบียาในสเปน ในเวลาอีก 6 เรือนต่อมา ก็คือ 8 พฤษภาคม ปี 1521 พร้อมผู้รอดชีวิตครบเลย 55 คน ไม่ต้องถามนะครับว่า แล้วพวกเขาจะรายงานต่อราชสำนักสเปนอย่างไร ชื่อเสียงของแม็กเจนแลนด์พังยับเยิดในข้อหาธรยศต่อราชสนักสเปน พยายามเอากองเรือของเขาเข้าไปสวามิพักกับกองเรือโปรตูเกต เมสกิต้า ลูกพี่ลูกน้องของแม็กเจนแลนด์ถูกใส่ความโดยกัปตันเรือสเปน ถูกขังคุกเป็นเวลา 1 ปี ภรรยาของแม็กเจนแลนด์คือเบอทริส ไม่ได้รับเงินสนับสนุนจากราชสนักสเปนอีกต่อไป ถูกจับกุมกักบริเวณพร้อมกับลูกชายของแม็กเจนแลนด์ กลับมาที่ชะตากรรมของลูกอีก 3 ลำครับ ธริดิดัช Victoria และ Concepcion ที่อยู่ในร่องน้ำที่คดเคี้ยวตอนใต้ของทวีปอเมริกา ถ้าเราดูเวลาครับ ดืนพฤษภาคม สำหรับซีกโลกที่อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตรคือ Southern Hemisphere ในช่วงนั้นเป็นช่วงฤดูหนาวและหนาวเด็บ เพราะจุดที่พวกเขาอยู่ใกล้กับคั่วโลกใต้เต็มที่แล้ว พวกเขาพร้อมใจในการเดินหน้า มุ่งหน้าตามความคดเคี้ยวของร่องน้ำ จินตนาการตอนนี้ครับ เราทราบแล้วว่าร่องน้ำนั้นคือร่องอะไร แต่พวกเขาไม่รู้ว่าร่องน้ำนั้นคืออะไร ในที่สุดร่องไปเรื่อยๆ ตามยฐากรรมไปสู่ทิศตะวันตก ผ่านมาจนกระทั่งถึง 28 พฤศจิกายนปี 1520 ก็คือเดือนที่ 14 แล้วของการเดินทาง พวกเขาได้พบกับสิ่งที่พวกเขาไม่เคยรู้จักมาก่อน และไม่มีคนยุโรปคนไหนรู้จักมาก่อน พวกเขาได้กลิ่นของกระแสน้ำที่เป็นมหาสมุทร เป็นมหาสมุดที่ไม่เคยปรากฏอยู่บนแผนที่ของโลกใบนี้ที่ถูกพัฒนาโดยชาวยุโรป มหาสมุดนั้นถูกตั้งชื่อต่อมาว่า มหาสมุดแปซิฟิก ร่องน้ำแคบๆที่พวกเขาเสี่ยงเข้ามาคือช่องแคบที่เชื่อมระหว่างมหาสมุดแอตแลนติกและมหาสมุดแปซิฟิก ที่สามารถเดินเรือทะลุผ่าน 2 มหาสมุดได้ สำหรับช่องแคบนี้ แม็กเจอลันต์ตั้งชื่อว่า Estrecho de todos los santos หรือช่องแคบแห่งนักบุญทั้งปวง Strate of all Sents สาเหตุเพราะว่าในวันที่พวกเขาเข้าสู่ช่องแคบ ตรงกับวันสำคัญทางศาสนาของพวกเขา นั่นคือวันแห่งนักบุญทั้งปวง หรือ The Day of All Sents ต่อมาภายหลังครับ ขอเล่าตัดช็อตเล็กน้อย กษัตริย์คาร์ลอส ําหรับสี่ห้าแห่งสเปน ตั้งชื่อช่องแคบแห่งนี้ใหม่ เพื่อเป็นเกียรติกับนักสํารวจ ที่นําความยิ่งใหญ่ไปสู่จักรวรรดิสเปน หลังจากการตายของผู้ค้นพบ ก็คือ แฟรนาลด์ เดอร์มากายันต์ หรือเฟอร์ดินาล แม็กเจลลันด์ ว่าช่องแคบแม็กเจลันด์ หรือว่า Magellan Strait Estrecho de Magallanes กลายเป็นชื่อที่เป็นอนุสรสำนักนักเดินเรือที่มีความมุ่งมั่นและไม่ยอดท้อต่ออุปสรรคใดๆ กองร้อนเหล่านี้เดินทางเรื่อยไปที่มหาสมุทรปาซิฟิกครับ โดยที่ไม่มีชาวยุโรปคนไหนเดินทางไปก่อนครับ เขาเดินเรือผ่านเกาะกว้มเข้าสู่เกาะมินดาเนา ซึ่งปัจจุบันก็คือพื้นที่ฟิลิปปินส์แล้วครับ และได้มีการทำพิธีมิซาวันอีสเตอร์ในปี 1521 บนแผ่นดินของเกาะมินดาเนา จากนั้นเข้าสู่เกาะเซบู พวกเขาพบกับคนพื้นเมืองที่เกาะเซบูครับ ทั้งสองฝ่ายปฏิบัติด้วยกันและกัน ฉันมิตร กองเรือสำรวจโน้มนาวให้คนพื้นเมืองที่เซบู เข้านับถือศาสนาคริสต์ เข้าพิธีรับศีลจุ่ม ชาวเมืองเซบูนับพันคนเลย พร้อมใจกันรับศีลจุ่มเป็นคริสต์ศาสนิกชน ต่างฝ่ายต่างมอบของมีค่าให้กับกันและกัน ยุโรปมอบเพชรนินจินดาของมีค่าจากตะวันตก ในกระดาษที่ชาวเซบูมอบสินค้าผลผลิตพื้นเมืองตอบแทนเป็นจำนวนมากมาย ด้วยความที่การเดินทางจะสิ้นสุดไม่ได้ครับ เพราะเป้าหมายของพวกเขาคือโมลุกะ พวกเขาเดินทางต่อไปอย่างพื้นที่ข้างเคียงเกาะเซบูครับ ที่มีชื่อว่าเกาะมาคตัน และพบกับคนพื้นเมืองอีกเผาหนึ่งที่มีชื่อว่าลาปูๆ ชาวลาปูลาปูครับ แตกต่างว่าอยากสาวเซบูครับ ปฏิเสธที่จะเข้ารีดรับคริสต์ศาสนา ลูกเรือของแม็กเจนแลนด์จึงตอบโต้ ด้วยการเผาที่อยู่อาศัยของพวกลาปูลาปู ทำให้เกิดการสู้รบกันขึ้น ชาวเซบูในเวลานั้นเลือกที่จะทำตัวเป็นกลางครับ เพราะทั้งสองฝ่ายก็คือมิตร และแน่นอนด้วยความอ่อนล้า ด้วยความไม่ฉำนานภูมิประเทศ และมีจำนวนน้อยกว่ามหาศาล ทำให้นักรบสเปนและปลูทุกีส ที่แม้ว่าจะสวมเสื้อกรอกหุ้มทั้งตัว แต่พวกเขามีจำนวนแค่ 49 คน เทียบกับจำนวนนักรบของลาปูลาปู 1,500 คน ท้ายที่สุดนักรบหลายคนถูกสังหาร รวมถึงผู้บัญชาการกองเรือสำรวจ Fernal de Magallanes นักสำรวจที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่งของโลก ถูกสังหารตายด้วยชนเผ่าพื้นเมืองที่เกาะมักตัน พร้อมด้วยบุตรชายนอกสมรสของเขา คริสโตวัล ริเบโล หลังจากการตายของแม็กเจนแลนด์ครับ ลูกเรือที่เหลือจําเป็นต้องเลือกแล้วครับว่า ใครจะเป็นผู้นําของพวกเขา ในที่สุดก็เลือกน้องเขยของแม็กเจนแลนด์ ที่มีชื่อว่าดูอรเต้บาร์บอร์ซ่า และเลือกโคลเซราโน่หรือชูอาวแซราว กัปตันเรือโปรตุเกตอีกคนนึง เป็นรองผู้บัญชาการกองเรือ นักสำรวจที่เหลือต้องล่าถอยไป และพึ่งพิงชาวเซบู ระหว่างที่พวกเขากำลังใช้ชีวิตอยู่บนเกาะเซบูก่อนจะเดินเรือ พวกเขากินอาหารกัน ชาวเซบูบางส่วน มองว่าพวกเขาไม่อยากที่จะต่อสู้กันกับพวกลาปูลาปู เลยเดินหน้าในการลอบสังหารบรรดานักสำรวจที่เหลือ โดยที่พวกเขาสังหารบรรดานักสำรวจและนักรบชาวสเปนตายไปอีก 27 คน ควรเซราโน หรือ ชัวร์เซรา รอตายและกลับไปที่เรือ และขอให้ลูกเรือสเปนนั้น จ่ายค่าไถรรักษาชีวิตของตัวเอง แต่ลูกเรือสเปนในเวลานั้น เลือกที่จะทิ้งตัวเขาเอาไว้ที่เกาะเซบู แน่นอนตัวเขาก็ถูกสังหารโดยชาวกเกาะเซบูในเวลาต่อมา ในเวลานั้นครับ บุคคลสำคัญมากๆ คือปัญญาชนจากเวนิส ที่ลงเรือไปในฐานะของผู้ที่บันทึกการเดินทางคือ อันโตนิโอ ปิกาเฟตตา บันทึกเหตุการณ์ที่บอกว่า ตัวเขายังมีชีวิตรอดอยู่ และบันทึกเหตุการณ์ต่อไปว่า ในเวลานั้น ชูอาว กาวาโล คือผู้ตัดสินใจทิ้งคนเซราโน เพื่อที่ตัวเขาเองจะได้เป็นผู้นำกองเรือคนต่อไป ในเวลานั้นครับ มีคนเหลืออยู่ 115 คน พวกเขาคิดว่าพวกเขาไม่สามารถที่จะควบคุมเรืออีก 3 ลำที่เหลือได้ จึงตัดสินใจเผาเรือทิ้งไปลำหนึ่ง นั่นก็คือเรือที่มีชื่อว่า Concepcion โดย Cavallo ที่เป็นผู้นำคนหมายของกองเรือสำรวจ ซึ่งตอนนี้เหลือแค่ 2 ลำนะครับ คือ Trinidad กับ Victoria ใช้เวลาเดินทางอีก 6 เดือนต่อมา ในการเดินทางสู่เป้าหมายในฝันของเขา นั่นก็คือ Mucamaluca โดยตัวเขาได้พบกับเกาะมินดาเนาและเกาะบลูไนก่อนอนั้น 21 การยายนครับ ผู้บัญชาการกองเรือคนใหม่การวาโล ถูกลูกเรือยึดอำนาจอีกครั้งหนึ่ง พวกเขาแต่งตั้งผู้นำใหม่คือมาร์ตินเมนเดส โดยมีกอนซาโลดีเอสปิโนซ่า และคนเซบาเซียนเอลคานโนเป็นกัปตันเรือ ตรีนิดัทและวิกตอเรียตามลำดับ และในที่สุด 8 พฤศจิกายนคือเดือนที่ 26 ของการเดินทาง เรือทั้ง 2 ลำครับคือตรีนิดัทและวิกตอเรีย เดินทางถึงเป้าหมายของพวกเขาคือกเกาะโมลุกะ ชาวโมลุกะเองครับ ต้องบอกมีความพุนเคยกันกับชาวยุโรปพอสมควรทีเดียว ได้มีการค้าขายกันและกัน ลูกเรืออยู่พักผ่อนบนเกาะ 5 สัปดาห์ ในที่สุดพวกเขาได้เครื่องเทศตามที่ต้องการ และเดินทางกลับไปยังสเปน ก่อนที่จะเดินทางกลับครับ พวกเขาพบว่าน้ำนั้นเข้าใต้ท้องเรือ Trinidad ไม่สามารถที่จะซ่อมแซมได้ ดังนั้นจึงเหลือเรืออีกเพียงแค่ 1 ลำคือ Victoria ที่จะกลับสู่สเปนได้ ในเวลานั้นลูกเรือทั้งหมดโวท์กันว่า ให้คนเซบาเซียน เอลคาโน่ เป็นผู้นำกองเรือที่ตอนนี้ เหลืออยู่เพียงแค่ลำเดียวในการเดินทางกลับสู่สเปน จากโมลุกะครับ มองไปเบื้องหน้าก็คือทิศตะวันตก ที่พวกเขาจะต้องเดินทางเข้าสู่หน้าน้ำของโปรตุเกต ตามส่วนที่สัญญาต่อเดซิยาส พวกเขาจึงต้องหาวิธีการในการที่จะผ่านพื้นที่อิทธิพลของโปรตุเกต ข้ามหาสมุทรอินเดีย กลับไปยังสเปนให้ได้ ช่วง 9 เดือนในขากลับ พวกเขาเจอกับปัญหาหลากหลาย สเบียงขาดแคลน ลูกเรือตายไปเพราะหิวโหย 20 คน บางคนถูกโปรตุเกตจับตัวเอาไว้ เหลือเพียงแค่ 18 คน แต่พวกเขายังคงรักษาเครื่องเทศที่มีน้ำหนัก 26 ตันที่ได้จากโมลุกะกลับสู่สเปน และสามารถเข้าท่าเรือ Sanlúcar de Bermuda ได้ในวันที่ 6 กันยายน 1522 ใช้เวลาในการเดินทางเกือบ 3 ปีก่อนที่ลูกรัวทุกคนจะเดินทางไปยังเซบียาและบายาดูริต เพื่อเข้าเฝ้ากษัตริย์คาร์ลอส ผู้เฝ้ารอความสำเร็จตลอดเวลา 3 ปีที่ผ่านมา การเดินทางครั้งนี้ยาวนาน 3 ปี กองสำรวจขนาด 277 คน เหลือกลับมา 18 คน ผู้นำกองเรือเสียชีวิตจากการสังหารของคนท้องถิ่น แต่การเดินทางในครั้งนี้ครับ ทำให้ชาวยุโรปและชาวโลก สัมผัสกับคำว่าโลกกลมอย่างสมบูรณ์แบบ พวกเขาเดินทางจนครบเส้นรอบวง หรือว่า Circumnavigation ผ่านมหาสมุทรสำคัญทั้งหลายมหาสมุทร ที่เชื่อมต่อสื่อถวีปหลัก ว่าการเดินทาง circumnavigation นั้นมีหน้าตาเป็นอย่างไร สำหรับ Ferdinand de Magallanes หรือว่า Ferdinand Magellan แม้ว่าตัวเขาจะไม่ได้อยู่ต่อเห็นความสำเร็จของการสำรวจโลกในครั้งนี้ แต่ชื่อของเขาครับได้รับเกียรติ นอกเหนือไปจากการที่มาเป็นชื่อของช่องแคบ Estrecho de todos los Santos ซึ่งเป็นช่องแคบเชื่อมสองมหาสมุทร Atlantic กับ Pacific ที่ปลายศุกร์ของทวิปอเมริกา ชื่อของเขาครับ ยังได้รับการตั้งเป็นชื่อของยานอวกาศขององค์การ NASA ในเวลาต่อมาด้วย สำคัญมากๆครับ การเดินทางของกองเรือภายใต้การนำของเขา คือการทำให้โลกได้เข้าใจแผนที่โลก ที่เป็นพื้นฐานของการพัฒนาโลกทั้งใบในปัจจุบัน ด้วยวิทยาการที่ก้าวกระโดดและความเทยือทยานของมนุษย์ที่อยากรู้อยากเห็นอย่างไม่สิ้นสุดนะครับ ทำให้มนุษยชาติในยุโรปชาติอื่นๆ เดินหน้าในการสำรวจโลกอย่างไม่หยุดยั้ง ยิ่งเดินหน้ายิ่งมีความแม่นยำมากขึ้น หลังจากยุคของมหาลังนาศสเปนปลูตุเกต ก้าวสุยุคของมหาลังนาศฝรั่งเศสและปริเทรนดร์ใหญ่ ที่เดินหน้าสำรวจพื้นที่ต่างๆทั่วโลก ไม่จำเป็นข้าวสมุทรอาราเบีย สัพสหรา สหรา ใช้วิทยาการที่พวกเขามีในการครอบครอง สั่งสม จนนำไปสู่การครอบครองโลกในเวลาต่อมา ท่านเคยสังเกตนะครับ หากเรามองการแบ่งพื้นที่ต่างๆ ของโลกในยุคหลังจากนั้น จะพบว่าทำไมการแบ่งพื้นที่โลกในยุคหลังๆ จึงมีลักษณะเป็นเส้นสี่เหลี่ยม มีลักษณะเหมือนเป็นรูปทรงเลขาคณิต ไม่ได้มีลักษณะที่ ไม่มีสวดส่งเหมือนกับการแบ่งแผนที่ในสมัยโบราณ ถ้าลองดูการแบ่งประเทศของแอฟริกา การแบ่งประเทศในข้าบสมุทรอาราเบียร์ การแบ่งมลรัฐต่างๆในสหรัฐอเมริกา จะเป็นลักษณะเหมือนกับถูกไม้บรรทัดตีกันเอาไว้ เพราะว่าโลกในยุคหลังจากนั้น มีความเข้าใจแผนที่อย่างถ่องแท้ชัดเจนมากขึ้น และสามารถแบ่งพื้นที่ต่างๆได้ เพียงด้วยการใช้ไม้บรรทัดและวงเวียนเท่านั้น หลังจาก 3 เอพิโซดว่าได้เรื่องของการสำรวจโลก ผมเชื่อนะครับว่า การกางแผ่นที่โลก การมองลูกโลก นับแต่วันนี้ของพวกเราทุกคน จะไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป เพราะทั้งหมดมันคือการทำงานของความเทยือทะยาน ความโลก ความเสียสละ ความกล้าหาร การสูญเสียของบุคคลจำนวนมากมายในประวัติศาสตร์ครับ The Standard Podcast Eye Opening For Your Ears