Transcript for:
การใช้และอนาคตของไฮโดรเจน

แท่งนี้คืออะไรรู้ไหมครับคุณผู้ชม มันคือไฮโดรเจนที่ทำเป็นของแข็งครับ ตัวนี้เรียกว่าอะไรครับ เซลวเชื้อเพิง ไฮโดรเจนเนี่ย เวย์ของการใช้ของเขา หนึ่งคือในเซลวเชื้อเพิง สิ่งที่ได้คือน้ำ แล้วก็ก็โอ้ ลองเอาไฟฟ้ามาจี้ อ้าว น้ำแยกออกมาเป็นไฮโดรเจนได้ด้วย มันแบ่งเป็นเฉียดสีใช่ไหมครับ ว่าไฮโดเจนแต่ละประเภทเนี่ย มันแตกต่างกันอย่างไร มีกี่ประเภทครับ 3 อันหลักๆที่เค้าจะพูดกันคือ Bluetooth Green Battery EV เนี่ย มันบอกได้แล้วว่าไฟฟ้านะ มันขับเคลื่อนรถได้ ฉะนั้นบอกว่าไม่อยากจะอีก น้ำมันไม่ต้องได้ไหม ได้ ไฮโดเจนทำได้ เพราะว่านี่คือการวางยุตสาหรัฐ โดยส่วนใหญ่ที่เขาคุยกันอยู่ เขาเอาไฮโลเจนไปใช้ทำอะไร ตอนก่อนพลังงานทางเลือกมันยังไม่ถูกมาก แต่พอทุกอย่างมันเริ่มพร้อม หลาย ประเทศเขาตั้งเป้าแล้ว 2030 แล้วก็ราคาจะถูกลง ถ้าราคาถูกลงกว่านี้อีกสักครึ่งนึง ความเท็จที่ทีบเลย สําหรับใครที่ซื้อบัตร The Secret Sauce Summit 2023 ไม่ทันนะครับ นี่คือโอกาสสุดท้ายและข่าวดีที่สุด เพราะว่าเราหลังจากที่ขายหมดไปแล้ว 5,000 กว่าใบ เปิดให้ทุกคนได้ซื้อบัตรรับชมออนไลน์ ร้อนหลังแล้วนะครับ ราคาเพียง 590 บาท ผ่านทาง Zip Event สิ่งที่คุณจะได้ก็คือคอนเทนต์ดีๆทั้งหมดเลยจากเวที Main Stage นะครับ ทั้งในเงี้ยของการบันทึกเก็บไว้ หรือการที่คุณสามารถที่จะได้รับตัว Framework เอากลับไปใช้ และมีเรื่องของการสรุป Key Tape Away ให้ด้วยนะครับ สามารถรับชมได้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม จนถึงวันที่ 3 สิบเอ็ดพันวาคม ซื้อบัตรได้แล้วนะครับ วันนี้ที่ Zip Event 590 บาท เท่านั้นนะครับ แท่งนี้คืออะไรรู้ไหมครับคุณผู้ชม ไม่ใช่ถ่านนะครับ มันคือไฮโดเจนที่ทำเป็นของแข็งครับ ผมเห็นของแรกผมก็ตกใจเหมือนกันนะครับ พูดถึงไฮโดเจนผมเชื่อว่าหลายคนที่ไม่ได้เรียนวิทยาศาสตร์น่าจะพอรู้นะครับว่า ตั้งแต่เด็กๆ เราเรียนกันมาครับ มันคือส่วนประกอบสําคัญของอะไรฮะ น้ําครับ ใช่ไหมครับ มี สอง แล้วก็ รวมกันกลายเป็นน้ํา นอกจากนั้นถ้าเกิด ก็มาอีกนิดหนึ่ง เมื่อนึกถึง หลายคนก็จะ เราจะนึกถึงพลังงานจากดวกอาทิตย์เป็นต้น เพราะฉะนั้นไฮโดรเจนถือว่าเป็นท่าที่มีความสำคัญมาก โดยเฉพาะในช่วงระยะหลัง ที่เราคุยกันเรื่อง Net Zero หรือการพาโลกของเราเป็นพลังงานสะอาด ปล่อยคาร์บอนให้น้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้หรือติดลบเลย เราก็จะเริ่มเห็นการพูดถึงพลังงานทางเลือกต่าง แล้วก็มีไฮโดรเจนนั่นแหละครับ ถ้าไปเสิร์ชใน Google ครับ หรือใน YouTube ก็จะเห็นนะครับ บอกกันว่านี่คือ ผลทางรอดของโลกเลยก็ว่าได้ หรือว่านี่คือ คือแหล่งพลังงานที่สำคัญที่จะทำให้โรคเรานั้นไปถึงใน Zero คำถามก็คือมันจริงหรือเปล่า แล้วถ้าจะทำมันมีข้อดีข้อเสียอะไร เมื่อเทียบกับพลังงานสะอาดแบบอื่นๆ แล้วประเทศไทยครับ ถ้าเราจะมีสิ่งที่เรียกว่า Green Hydrogen เนี่ย มันต้องใช้อะไรบ้าง เรื่องนี้ต้องคุยกันยาวกับผู้เจ้าชาญนะครับ โอเคใช่ไหมครับ ไม่มีอะไรผิดใช่ไหมครับ ยังไม่มีอะไรผิด ตัวผิดมากเลย เพราะว่าผมเชื่อว่าคำว่าฮาโดรเจนเนี่ยมันบัสเวิร์ด คุยกันเยอะมากโดยเฉพาะ ถ้าเกิดใครที่ติดตามเรื่องของรถยนต์ ก็จะเชียร์กัน มีรถยนต์ EV แล้วก็มีรถยนต์ฮาโดรเจน อะไรแบบนี้เป็นต้น วันนี้ก็เลยอยากให้อาจารย์อธิบาย แต่ว่าผมว่าต้องมี Background นิดนึงก่อน ในเชิงเคมีเลยก่อนที่จะไปถึง Use Case หรือว่าพวก Apply ต่างๆเนี่ย ฮาโดรเจนเนี่ยมันคืออะไรครับท่านเนี่ย แล้วปกติแล้วเนี่ยเขาเอาไปใช้ ทำอะไรบ้าง คือไฮโดรเจน ถ้ามองก็คือ ธาตุชนิดหนึ่ง ใช่ มันคือโดรกศร H ใช่ไหมคะ แต่ไฮโดรเจนที่มีให้เราเห็น แล้วเราใช้กัน มันคือไฮโดรเจน 2 ตัว มันอยู่ด้วยกันเป็น 1 มลคุณ H2 H2 นะคะ ตอนนี้เราเอามาใช้เยอะในเรื่องของการผลิตแอมโมเนีย ในอุตสาหกรรมปุ๋ย ในอุตสาหกรรมอาหารและสารเคมี เยอะเลย เยอะเลย เพราะว่า ไฮโดเจนมันถูกเติมเข้าไป ถ้าชมนึกถึงไขมัน หรือการทำมัจจุรีตก็ได้ เป็นการทำให้ตัวไขมัน ตัวน้ำมัน มันกลายเป็นหน่วยแข็งได้ ไขมันไม่อิ่มตัว พอใส่อารูเจนมันจะมีความอิ่มขึ้นมา แล้วมันก็จะแพ็คตัว มันกลายเป็นของแข็งได้ ถ้าจะเห็นภาพเนอะ อันหนึ่งที่น่าสนใจคือเพิ่มคุณภาพน้ำมัน เพราะว่าเรากำจัดตัวนายโตรเจน ด้วยการฟีดไฮโดรเจนเข้าไปนั่นแหละในระบบ เพราะว่าถ้าเกิดการมีนายโดรเจนหลงเหลืออยู่ มันก็ทำให้เกิดนายโดรเจนออกไซด์ ซึ่งเป็นสารมุรพิษเนอะ ก็เป็นเพิ่มคุณภาพน้ำมันได้ คือมันเป็นวัตถุดิบที่สำคัญในกระบวนการต่างๆมากๆ ผมก็จะว่าจริงๆเรื่องของเหล็ก เซเมน ไฮโดเจนก็มีความสำคัญในกระบวนการออลิดด้วยใช่ไหมครับ ใช่ค่ะ อุตสาหกำหนัก แล้วก็ใช้เป็นเชื้อเพลิงจริงๆมาการใช้ไฮโดเจน ไฮโดเจนเป็นเชื้อเพลิงมีมาอย่างช้านานนะ ครับ เราเคยเห็นบอลลูนเนอะ เห็นที่เหมือนเป็นเรือบินอะ น่าใช่ อันนั้นคือใช่ใช่ไหมครับ เป็นการใช้ไฮโดเจนครั้งแรก เลยนะคะ นึกว่าเห็นเติดในการ์ตูน แต่จริง มันมีของจริง โอ้โฮ เยอรมันเขาใช้แสดงแสนยานูภาพเขานะ คือว่าต้องบอกว่าไฮโดเจนเขาถูกพบโดยเผอิญ จากการที่ตอนนั้น โอ้โฮ ถ้าเกิดเราพูดถึงช่วงปฏิวัติวิทยาศาสตร์ แต่ก่อนยังดูดาวนี่เลย จนวันหนึ่งแบบโอ้โฮ สังเกตเห็นอะไรได้เต็มไปหมด เริ่ม ก็เห็นทำไมอัปเปิ้ลหล่นลงมา แล้ววันหนึ่งเขาก็พบว่า ทำไมเอาโลหะมาเจอกับกรด มันได้อะไรติดไฟได้ด้วย แล้วเบากว่าอากาศ ไอ้การเบากว่าอากาศนั่นแหละ มันทำให้เกิดกันว่า ตอนนั้นเขาก็เริ่มมีการสำรวจ โดยการล่องเรือไปล่านานิคม สำรวจโลก อันนี้มันบินได้ เขาก็เลยสร้างแอร์ชิปขึ้นมาค่ะ เป็นสิ่งที่เขาอยากทำให้เกิดการคมนาคม การสื่อสารคมนาคม ก็จะมองตรงนั้น กระทั่งในยุคที่มันเริ่มมีสงครามเข้ามา ก็ใช้เป็นการส่งอุทหาร ส่งอาวุธยุทธุปกรณ์ได้ ใช้ไม่มานานเลย ใช้มานานเลย แล้วถ้านอกจากลักษณะที่ใช้เป็นเรื่องของการคมนาคม จริง ในเชื้อเพลิงนี่ใช้ อย่างไรบ้าง เพราะว่าอย่างที่ผมเกลื่อนตอนต้นว่า เข้ามาใช้ในรูปแบบพลังงานนี่อย่างไรบ้างครับ ไฮโดรเจนพอ นอกจากการที่มันเบากว่าอากาศ มันติดไฟได้ใช่ไหม ติดไฟได้เขาก็ ก็มองว่ามันให้พลังงานนี่นา ใช่ไหม ตอนนั้นมันเกิดคอนเซ็ปต์แล้วว่า ตัวนี้มันอะไรหว่า แล้วเขาก็พิสูจน์ว่า มันเจอกับออกซิเจนแล้วมันได้น้ำ มันเลยชื่อฮัยโดร ที่มาจากคำว่าน้ำแล้วเจน มันคือตัวสร้างน้ำ มันชื่อชื่อฮัยโดรเจน ทำไมมันตรงตัวขนาดนี้ ตรงล่าง แต่ก่อนเขาต้องไปตรงล่างมาก แต่พอการสร้างน้ำเนี่ย มันให้พลังงานของเราด้วย มันให้พลังงาน เขาก็ขุดกันต่อหากันต่อเพราะว่า บางกระบวนการเนี่ย ถึงแม้ว่ามันจริงๆ มีการใช้พลังงานตั้งต้นเข้าไป แต่สุดท้ายพอได้ผลิตภัณฑ์ขึ้นมาเป็นน้ำยกตัวอย่างนี้ เฮ้ย มันให้พลังงานคืนมาด้วยอ่ะ เออ ทำไมมันร้อนขึ้นอ่ะ เออ มันได้พลังงานความร้อนขึ้นมา แล้วก็พบคอนเซ็ปต์ของการเกิด Electrolysis จริงๆ มันเกิดมานานเลยนะ เพราะว่าตอนนั้นเรื่องของการคิดค้น Electricity หรือไฟฟ้า ก็กำเนิดขึ้นจากไฟฟ้าสับถิต แล้วก็เริ่มมีการผลิตไฟฟ้าตามมา แล้วก็โอ้ ลองเอาไฟฟ้ามา อ้าว น้ำแยกออกมาเป็นไฮโดเจนได้ด้วย อันนี้พอเป็นอย่างนี้ปุ๊บ เขาก็เลยมองว่า เออ มันเริ่มผลิตได้แล้ว มันเพิ่งผ่าได้ เอามาใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ สิ่งต่อมาคือเอามาใช้อย่างไร เขาก็คิดว่า งั้นมีเอนจิ้นอะไรสักอันนึง แต่ตอนนั้นก็ยังมีประเด็นเรื่องของความปลอดภัย เพราะว่าควบคุมลำบากเหลือเกิน เพราะมันเป็นกาส เราติดไฟได้ สปาร์คนิดหนึ่งก็ระเบิดแล้ว อย่างแอร์ชิป หรือว่า ซิปอลิน ของเยอรมันที่ระเบิดอย่างนี้ ฉะนั้น ICE หรือเครื่องยนต์สันดาปภายใน ที่ใช้ฮาโดเจนมันเลย ยังไม่ค่อยเป็นที่นี้ อ้าว เข้าใจแล้ว แสดงว่าจริง เรารู้จักกันมานานแล้ว แต่ว่าอาจจะเรื่องของความปลอดภัย ถูกไหมครับ แสดงว่าหลัก ถ้าดูคอนเซ็ปต์ ตั้งแต่อดีตจนถึง ปัจจุบันแสดงว่าไฮโดรเจน เป็นทั้งวัตถุดิบสำคัญ ในการทำอุตสาหกรรม โดยเฉพาะเล็กซีเมน แอมโมเนีย สำคัญมาก เลย ไก่อันนึงก็สามารถเป็นพลังงาน เป็นเชื้อเพลิง คำถามก็คือ ทำไมในระยะ ตั้งแต่เราพูดถึงโลกร้อนขึ้นมา ไฮโดรเจนถึงถูกยกกลับ แล้วมีอีกอย่าง กลับมาพูดอีกครั้งนึง มันเกิดขึ้นจากอะไร แล้วสิ่งที่มันมีพลังงานโทษแทนอื่นๆ ในตอนนี้ เช่น เรื่องของลม เรื่องของความร้อน อย่างโซล่าเซลล์ ไฮโดรเจนมันอยู่ตรงไหนในสมการตรงไหน คือพอบอกว่าโลกร้อน เขาก็โทษคาร์บอนออกไซด์ แล้วเขาก็พูดคำว่าคาร์บอนอิมิชั่น เป็นตัวแทนของว่า คาร์บอนออกไซด์นั่นแหละ หรือมีเทน หรือไอ้กลุ่มที่มันคล้ายๆกัน ที่ทำให้เกิดการเลือดกระจก ไม่ดี ไฮโดรเจนเนี่ย เวย์ ของการใช้ของเขาเนี่ย คือหนึ่งคือเกิดเป็นน้ําในเซลล์เชื้อเพลิง อืม สิ่งที่ได้คือน้ํา อืม ก็ได้พลังงานในการใช้ชีวิตประจําวัน โดยที่ไม่ได้ปล่อยคําดอกไซด์เลยเนอะ อืม ใช่ไหมคะ คือตัวเขาเนี่ย ด้วยเบสของการที่เขาถูกใช้เป็นพลังงานเชื้อเพลิงมาก่อน แต่ยังถูกเก็บไว้ เพราะว่ามันยังไม่มีแรงกระตุ้นอะไร อืม แต่วันนี้เนี่ย แรงกระตุ้นของเขาคือ มันไม่ได้ปล่อยคําดอกไซด์เลยนะ มันไม่ผิดเลยนะ เออ เขา เขามาช่วยเลยนะ และที่สำคัญคือวันนี้เราบอกว่า โอ้ จะต้อง Zero Emission เราคงคิด เราคงเข้าใจ มันคงไม่ทัน ถ้าบอกว่า 2050 ต้อง Net Zero คือวันนี้เรา Positive ไปเยอะมาก เกินแล้ว แล้วบอกว่าให้เยียบเบรก เยียบเบรกมันอาจจะแค่ Zero มันไม่ทัน เพราะว่ามันมีอุตสาหกรรมหลายอันที่ เทคโนโลยีเขายังไม่ทันที่จะปรับเปลี่ยนขนาดนั้น แล้วเขายังเป็น Backbone ของอุตสาหกรรม ของความเป็นอยู่ของเรา ของอุตสาหกรรมเรา ที่เขายังต้องยอมให้เขาปล่อยอยู่ ฉะนั้นมันต้องมีบางอย่างที่มันสร้าง Negative Emission ไฮโดเจนเขาก็เป็นตัวแปรสำคัญที่จะไปเสริม Ecosystem ของคาร์มอเดลกไซด์ Conversion พอไฮโดเจนมาเจอกับคาร์มอเดลกไซด์ ก็มีโอกาสที่จะได้เป็นฮาโดคาร์บอน ซึ่งเป็นเชื้อเพลิง มันก็คือเหมือนกับเขาสนับสนุนกัน ใช้คาร์มอเดลกไซด์ เข้าใจ ไปอีก ก็เหมือน Utilize คำดอกไซด์ได้อีก ไปช่วยกำจัดขยะอีก Waste to Hydrogen เราเคยได้ยินไหมคะ มันก็ได้คำดอกไซด์มา แล้วก็เอามากำจัดแบบเดียวกันนั่นแหละ ด้วย Hydrogen นั่นแหละ ก็จะทำให้ Waste หายไป ไม่ต้องมาฝังกลบกันอีก ครับ เท่านั้นผมอยากให้อาจารย์อธิบายเพิ่มเติมตรงนี้อีกนิดนึงว่า ขาหนึ่งเขาเป็นวัตถุดิบที่สำคัญมากๆ ซึ่งอันนี้ที่ผมอ่านมาบ้างนะ ก่อนนั้น Hydrogen มันก็เป็น Hydrogen แบบไม่ได้ Green คือมีทั้งเกรย์ มีทั้งบราว ซึ่งเดี๋ยวเราคงจะเจาะลึกกันอีกทีนึง แต่ว่าไอ้ตรงนี้ ไม่มีใครมาทดแทนได้ กระบวนการนี้ คือจะใช้พลังงานอะไรต่างๆ มันไม่เกี่ยว มันคือวัตถุดิบที่สำคัญ เพราะฉะนั้นถ้าเราเปลี่ยนตรงนี้ไม่ได้ สมการที่เราจะไปบัตถัมไลน์คือ Net Zero หรือ Negative ก็ค่อนข้างยาก ซึ่งนี่เดี๋ยวจะกลับมาคุย แต่ว่าเอาตัวชีวพลเวิร์นก่อนที่เป็นพลังงาน ทำไมเขาปล่อยให้คนอื่นแซงหน้าไป ทำไม Solar Cell มาก่อน ทำไมลมมาก่อน หรือว่าจริงๆแล้วมันมาคู่ๆกัน แต่ว่าข้อดีข้อเสียของ พลังงานในรูปแบบอื่น ที่ใช้เป็นเชื้อเพลิง เทียบกับฝั่งที่เป็นไฮโดเจน มันมีอะไรที่แตกต่างกัน ถ้ามองในมุมของไฮโดเจน มันจะมีการได้เขามา แล้วการใช้เขายังไงดีนะ ที่มันกำลังจะเป็นปัญหา ว่าทำไมเขาไม่เป็นพระเอกนานแล้ว การได้เขามา เขาไม่ได้ว่ามันมีบ่อยู่บ่อหนึ่ง แล้วมีแต่ไฮโดเจนล้วน ขึ้นมา เขาเกิดมาพร้อมกับการเกิดอยู่ใต้ดินนั่นแหละ พอมีการธรรมชาติขึ้นมาเราเพิ่งจะแยกของเขามาได้ อย่างนี้การได้มาในรูปแบบของการใช้พลังงานฟอสซิล แต่ว่าอีกอันหนึ่งก็คือน้ำได้จากน้ำ ใช่ ก็ S2O ไง ถูก แต่มันจะต้องใช้ไฟฟ้าเนอะ เพื่อจะได้เข้ามา ฉันต้องลงทุนอีก ไปหาไฟฟ้าจากไหน ก็คงจะต้องไปพึ่ง พลังงานปิโตเลียมาผลิตไฟฟ้าให้ฉันก่อน แล้วเดี๋ยวฉันค่อยไปแยกน้ำ แล้วฉันค่อยได้ไฮดีโอเจน ก็คือใช้พลังงานที่มันไม่สะอาด มาทำให้ได้ตัวเข้ามาอีกทีหนึ่ง กระบวนการสุดท้ายก็คือ อ้าว ก็ไม่กรีนอยู่ดี ใช่ไหม ใช่ แต่ทีนี้พอบอกว่า เออ พลังงานจากลม จากแดด ตอนนั้นมันก็ยังแพง กว่าจะได้ไฟฟ้ามาอีก ก็... อันนี้คือการได้มาของเขาเนี่ย มันเขาคงไม่ได้แบบเพียวๆ เอามาเหมือนคนอื่นไง อย่างของถ่านหิน อย่างของเชื้อเพลิงฟอสซิลเนี่ย ไปขุดได้เลย เจอเลยได้เลย เอาไปใช้เลย เขามันต้องทำ something something ทำบางอย่างขึ้นมา แล้วก็เพิ่งจะได้เขา อ่า ก็ปล่อยให้เขาเป็นพระเอกไปก่อน พอทีนี้ตอนใช้เนี่ย เมื่อกี้มีที่มาและที่ไป ที่ไปของเขาเนี่ย ตอนใช้น้ำมันก็ ของเหลวเนอะ ก็ใส่ถัง ถ่อส่งตามท่อมาใส่เป็นสบายเลย ท่อกาสก็มาได้ ไฮโลเจนเองเนี่ย เขาตัวเล็กมาก เขาเหมือนตัวที่มันพองๆ เหมือนปุ๋ยนุ่น อยากให้เขาคงสภาพเหมือนปุ๋ยนุ่น ก็ต้องให้พื้นที่เขาเนอะ เขาก็จะลอยออกมา คือมันเปลืองด้วยวอลลุ่ม อยากจะเผาไหม้ให้มันได้พลังงานเท่ากาโซลินดีเซล คือวอลลุ่มต้องมีที่เก็บเยอะหน่อยนะ อ๋อเหรอฮะ แต่ถ้าน้ำหนักเท่ากัน น้ำหนักเท่ากัน เอาแก๊สโซลินมาชั่งน้ำหนัก 1 กิโล ไฮดราเจนอีก 1 กิโลนี่นะ เขาจะได้ผ่างงานเยอะกว่านะ เขาถึงได้เหมาะกับพวก Long Distance Logistics -คือ Density ใช่ไหม เขาใช้คำนี้เหมือนว่า... แบบว่า...

แบบว่า... คือ Energy Density ถ้าเทียบกับน้ำหนัก เขาได้เปรียบ แต่ถ้าเกิดเทียบกับ Volume เขาเสียเปรียบ -เข้าใจ อ่า... คือที่ใช้อีก แล้วถ้าไม่นับ Safety เพราะเขาจิดจุดไฟเร็วมาก ที่ความร้อนสูงมาก สิ่งที่จะใช้เขาต้องทนความร้อนสูงนะ แล้วตัวเขาเล็ก ถ้าเกิดใช้ท่อ วันนี้เรามีท่อกาส เรามีท่อน้ำมัน สิ่งเหล่านั้นมันก็ทนทาน แต่เพียงแต่ว่าไฮโดรเจนเหล่านั้น ถ้าเกิดวัสดุมันไม่แมตช์ แล้วส่วนมากเรายังใช้โลหะธรรมดาปกติอยู่ คือเขาจะแทรกซึมเข้าไปได้แล้วทำให้ท่อเจ๋ง จริงเหรอ คือตัวเล็กเขาก็ซึมๆ เหมือนเรามีอะไรที่มันแบบ คือซึมน้ำเหมือนกับวัสดุในครัวเรา Y6 แล้วมันซึมติดสีเลยอย่างนี้ เออ มันก็ ก็ยังไม่เหมาะกับวัสดุที่เป็น infrastructure ปัจจุบันของเรา เข้าใจแล้ว แล้วจะให้ เราจะยอมเก็บมันไว้ที่บ้านไหม เสี่ยวไหม มาเป็นแก๊สตั้งอยู่ตรงนี้ เสี่ยวครับ ระเบิดเร็ว เร็วมากเลยนะ แล้วถามเขาเบา เขาไปไหนได้ทั้งหมดเลยอย่างนี้ คือเป็นคนเล็ก สีก็ไม่มี ใช้พื้นที่เยอะ แต่ว่าอนุภาพนี่ดูแรงมาก ติดไฟก็ง่าย เรื่องของ safety ก็ยังเป็นประเด็น เพราะว่าจุดระเบิดเร็วเหลือเกิน ง่ายๆ เรื่องของที่ไปของเขาการใช้ เขาก็ยังต้อง Control อยู่เยอะ ทีนี้สิ่งที่มันง่ายกว่าถูกกว่า มันก็แซงมาก่อนแหละ ตอนนี้สุดท้ายผู้ใช้ผู้ผลิต ก็ต้องมองที่ความคุมทุน การเข้าถึงได้ แต่ผมเชื่อว่า พระเอกแต่ละคน มีจังหวะของเขาที่จะออกมาหน้าเวที ทำให้ตอนนี้เราพูดถึง Green Hydrogen กันมากขึ้น ก็เลยอยากจะถาม ถามตอนนี้เขาว่า ถ้าพูดถึงเมื่อกี้ผมเรียกว่าเป็นเงื่อนไขละกัน คือการได้มาของเขากับการที่เอาไปใช้ คนอื่น อาจจะดูแล้วคุ้มค่ากว่าในยาวสร้าง รวมทั้งมนุษย์เราอาจจะมี infrastructure ที่ทำมานาน ที่ทำให้เราสามารถคุ้มค่าของคนอื่น ขนส่งอะไรได้ง่ายกว่า ทำไมคนถึงเริ่มมาพูดกัน มากขึ้นในรอบ 5-10 ปี แล้วก็มีการลงทุนเพิ่มขึ้นในเฮอโดรเจนมากมายครับ ก็ส่วนหนึ่งก็... มันจะไม่มีความกระตือลือล้นที่จะทำ ถ้ามันไม่มีเรื่องของสิ่งแวดล้อม ที่เขามากระตุ้นเหมือนกัน แต่ในส่วนของอย่างบางประเทศ ที่เขาไม่ได้มีแหล่งน้ำมัน แหล่งการ์ดธรรมชาติเยอะ เขาต้องคิดของเขาอยู่แล้วว่ามันมีอะไรได้อีก มันเลยมี Renewable Energy ในรูป...

รูปแบบต่าง กัน ไฮโดรเจนก็เป็นหนึ่งในนั้นอยู่แล้ว เรื่องของการแยกน้ำเพื่อให้ได้ไฮโดรเจน จริง อยู่ในอย่างยุโรปอย่างนี้คิดมานานแล้ว ตั้งใจจะทำให้มันเกิดเป็น อินฟราสตรัคเจอร์ของประเทศอยู่แล้ว คนตั้งเป้าไว้ตั้ง แล้ว แต่ว่ามาเร่งเอาตอนที่สงครามรัสเซีย ยุคเรน เพราะว่ายุโรปนี้เห็นสภาพแล้วว่า ถ้าเกิดอยู่เพิ่งจากทอกา จากรัสเซียตายแน่ค่ะ วันนี้ต้องเร่งผลิตให้ทัน ตัวเองใช้ให้มากที่สุด ครับ อย่างนี้เป็นต้น อย่างญี่ปุ่นเกาหลีใต้เขารู้ว่าทรัพยากรเขาไม่ได้มีน้ำมันเหมือนคนอื่น ไม่ได้มีแหล่งการ์ดธรรมชาติ ฉะนั้นญี่ปุ่นถึงได้พยายามทำเซลล์เชื้อเพลิงมานานแล้ว คือเขาก็ต้องมองขนทางของเขา เรื่องของสิ่งเหล่านี้มานานแล้ว แต่พอมาถูกซ้ำเติมด้วยว่าตอนนี้เรื่องของ Net Zero ตอนนี้มันบอกว่าไม่ได้แล้วนะถ้าเธอไม่ทำ ความพร้อมของเทคโนโลยี ความพร้อมของ Infrastructure ความพร้อมของผู้ใช้ มันจะช่วยเสริมกัน ทำให้ผู้ผลิตอยากจะผลิตหลัก โอเค เข้าใจ ถ้าผมเปรียบเทียบเมื่อกี้เหมือนอาเวนเจอร์ ก็คือเรามีทานอส ซึ่งก็คือตัวการโลกร้อนมากๆเลย ที่เราจะต้องช่วยกันเป็นภารกิจใหญ่ คนที่เขาไปต่อสู้จะเป็นไอรอนแมน จะเป็นตัวละครต่างๆ ก็จะมีทางเลือกพลังงานที่หลากหลาย เทคโนโลยีที่หลากหลาย ไฮโดรเจนก็เป็นหนึ่งในตัวละครหลักในตอนนี้ ที่จะมีส่วนช่วยทำให้โลกเราไปถึงจุดนั้นได้ ทีนี้กลับมา เพราะเมื่อกี้อาจารย์เหมือนพูดคำว่า Blue hydrogen Green hydrogen ผมว่าหลายคนจะแบบ นี่เราคุยอะไรกันอยู่หรอ มีหินเป็นสี หรือยังไง มันแบ่งเป็นเฉียบสีใช่ไหมครับ ว่าฮาโดเจนแต่ละประเภท มันแตกต่างกันอย่างไร มีกี่ประเภทครับ ต้องบอกก่อนว่าจริง ฮาโดเจนเป็นกาส ไม่มีสี โอเคครับ เดี๋ยวต้องเคลมไว้ก่อน แต่สีมันจะใช้บอกที่มา เอาไว้แบ่งประเภทค่ะ ไม่งั้นเดี๋ยวเราจะพูดกันยาว ไฮโดเจนที่มันมาจากถันหิน ไฮโดเจนที่มันมาจากการ์ดธรรมชาติ ที่มันผ่านกระบวน การที่มาก่อนมันยาว ถ้าเกิดบอกว่าไฮดรอเจนที่มาจากแค่แหล่งของเชื้อเพลิงฟอสซิลเลย ได้มาด้วยวิธีการอย่างเช่น เอามีเทนมาเจอน้ำร้อน สตรีม มีเทน วีฟอร์มมิ้งอย่างนี้ ไม่ทำอะไรล่ะ ได้มาอย่างนั้นเลยแล้วมีไฮดรอเจนเกิดในระบบนี้ อันนี้เขาใช้คำว่า Brown ว่าอยู่ก็ได้มาด้วนๆอย่างนั้นเลยไม่ได้ทำอะไร ก็เรียกว่าสกปรกก็ได้ แต่ถ้าเกิดเอามาบำบัดหน่อย เอามาบำบัดโดยเอาคาร์มแมนโอคไซด์ออกไป ทำให้เขา Clean ขึ้น ไม่มี Carbon Emission ก็จะได้สิ่งที่ว่า Blue สีฟ้า แล้วเขาเอา Carbon Dioxide ออกไปได้ยังไงครับ เอา Carbon Dioxide ออกไปก็คือ อาจจะใช้ตัวดักจับ เช่น Carbon Capture ทั้งหลายเทคโนโลยี จะใช้ Solvent มา Capture หรือใช้ตัวดูด ก็คือจับผีใส่ตุ่มไว้ ใช่ อย่างนั้นแหละ ก็จะได้เป็น Hydrogen ที่เป็นกลุ่มที่เรียกว่าสีฟ้า Blue แต่ถ้าเกิดเป็นกลุ่ม Hydrogen ที่มี ที่มาจากการแยกน้ำ แล้วพลังงานที่ใช้ในการแยกน้ำ มาจากพลังงานหมุนเวียนเลย แดด ลม หูเพียว สะอาด เป็นคนดีมากเลยเนอะ แล้วก็อาจจะใช้ Bio Waste อย่างนี้ ก็ถือว่าเป็น Renewable Energy เนอะ อันนี้เขาใช้ว่า Green Hydrogen โอเค ฉะนั้นตอนนี้ 3 อันหลัก ที่เขาจะพูดกันคือ Brown Blue Green เข้าใจว่าที่เขาคุยกันเนี่ยวันนี้คือคุยตัว Blue Green เป็นหลัก ว่าอย่างน้อยๆให้มันบลูไว้ก่อน ใช่ แต่บราวนี่ก็คืออยากให้มันเลิก หรือว่าใช้ให้น้อยที่สุดถ้าเป็นก็ได้ ใช่ค่ะ ทีนี้พอคุยกันตรงนี้ผมว่า เราจะเริ่มเข้าสู่กระบวนการทางเคมีนิดนึง เพราะวันนี้รายการพูดถึงวิทยาศาสตร์ จะได้เข้าใจพื้นฐานแล้วเวลาอ่านข่าว หรือว่าผมเชื่อว่านักลงทุนหรือว่านักธุรกิจ ถ้าอยากจะทำธุรกิจด้านนี้ต้องเข้าใจ มันก่อนในเชิงแบบ อินไซต์เลยแล้วเดี๋ยวเราจะไป มี implication กับมันอย่างไร ก็เดี๋ยวค่อยว่ากันอีกเรื่องนึง ผมว่ามันมี 2 กระบวนการที่อยาก อยากจะให้อาจารย์อธิบาย อันแรกคืออันเมื่อกี้เลยครับ ในแง่ของตัว Green Hydrogen เนี่ย การได้มาซึ่ง Hydrogen ซึ่งคือน้ำเนี่ย อันไปสุดทางก่อนแล้วกันเนี่ย กระบวนการของมันคืออะไร และอันที่สองคือ ไอ้ตัวที่ทำกลายเป็นไฟฟ้าเนี่ย กลายเป็นพลังงาน ซึ่งผมเห็นว่ามีเอาเซลล์ เอาพวกนี้มาด้วยนะครับ เดี๋ยวเราจะคุยกันต่อเนี่ย เอาอันแรกก่อนว่า น้ำมาเฉยๆ เนี่ยอาจารย์ โอ้ นี่เหมือนพ่อมดเลยนะ ทำยังไงให้มันกลายเป็น Green Hydrogen บ้างครับ คือน้ำเนี่ย ถ้าเกิดพูดถึงสูตรเคมีที่เราชอบพูดกันเนี่ย H2O ก็คือฮาโดเจนสองตัวมาเกาะกับออกซิเจน รวมกันเป็นหนึ่งแพ็ค เราสามคน มันก็เหมือนมีออกซิเจนยืนอยู่แล้วก็จุงมือกับฮาโดเจนสองคน จุงเด็กสองคนนี้ไว้ แต่ถ้าเกิดบอกว่าแยกน้ำ เท่ากับว่าเขาต้องตัดแขน ตัดกันจุงมือนี้ออก ตัดออกมาแล้วฮาโดเจนสองตัวนี้ก็มาเจอกัน แล้วออกซิเจน เดี๋ยวจะมีโมลิกุลน้ำอีกอันนึงที่ถูกทิ้งเหมือนกัน ออกซิเจนโดนเทมาจากตรงนี้ได้ใช่ไหม ก็จับคู่กัน เอาเช่น ก็ไปคู่กับอีกคนนึงที่โดนทิ้ง มันจะได้กลายเป็น O2 ได้ O2 ที่เรารู้จัก อันนี้คือการแยก ทีนี้ถามว่าในทางเคมี มันคือสิ่งที่เกาะยุกันอยู่ มันคือพันธะ ที่เกาะยุกันอยู่ คุณจะไปแยกเขา คุณก็ต้องใช้การลงทุนหน่อย ใช้พลังงานหน่อย ใช้พลังงานหน่อย ที่เค้าใช้กันหลัก ง่าย ก็คือใช้พลังงานไฟฟ้าเนี่ยแหละ แบบชาร์จมันเข้าไป ชาร์จมันเข้าไปเลย เออ ใช่ ก็คือใช้ความต่างสักนี่แหละ เข้าไปเลยแล้วทำให้พันธานนี้แตกออก ก็เบสิกง่าย อย่างนี้เลย ซึ่งในตอนนี้ที่เราคุยเรื่อง Green hydrogen พลังงานไฟฟ้าที่เรามาใช้ก็ควรจะเป็นพลังงานสะอาด ใช่ อันนี้ถึงจะคนดีแบบเพียวเลย ใช่ ถูกไหมครับ แล้วอันนี้ผมเคยเรียนเคมีนะครับ แต่ว่าเรียนกับอาจารย์อู๊มานานมากแล้ว แล้วผมก็ได้คะแนนเอนทานน้อยมากด้วย คือตอนที่ใส่พลังงานไฟฟ้าเข้าไป แล้วไฮโดรเจนมันออกมาแล้วก็มารวมกัน มันเป็นยังไง แล้วตอนนั้นกัดเก็บยังไง แล้วก็เอาไปใช้ในรูปแบบไหน หรือกระบวนการที่เป็นในห้องแล็บหรือเปล่า ไม่ได้ใจว่าเขาทำกันอย่างไร คือพอได้ออกซิเจน ถ้าเราไม่ได้อยากได้ เราปล่อยได้เลยเนอะ เพราะว่า O2 ออกซิเจนอยู่ในอากาศอยู่แล้ว มันไม่ได้ไปจับกับคนรู้คนี้เอง แต่ถ้าเกิดอยากได้ก็เก็บในลักษณะเดียวกัน ก็คือเข้าแทงนี่แหละ ก็คือเป็นการเข้าถังกาสธรรมดา ทีนี้ถามว่ามันจะ Compress ไหม อยากให้มันประหยัดที่ไหม ก็เป็นอีกกระบวนการหนึ่ง อันนึงที่อยู่ข้าง เลยว่า งั้นเอาอุณหภูมิลงไปเลยไหม ลบ 250 กว่า แล้วมันจะกลายเป็นของเหลว ไฮดรอเจนเป็นของเหลว อยากให้เป็นของแข็งลงไว้อีก ไม่ได้เป็นของแข็ง ของแข็งแบบเพียว เหมือนกับน้ำแข็งแห้ง น้ำแข็งแห้งคือคาร์มนอกไซด์ ไฮดรอเจนเหมือนกัน กระบวนการเดียวกัน ทีนี้มันมีอีกแบบหนึ่ง ก็บอกว่า โอ้ ผลส่งยาก อยากจะเปลี่ยนรูปมันเลย เปลี่ยนรูปเป็นแอมโมเนีย เปลี่ยนรูปเป็นของแข็งเลย ก็เป็นอันท่าร์เวย์ที่ งั้นเข้าอีกกระบวนการ ไปเจอกับนายโตรเจน นายโตรเจนก็ N2 เดี๋ยวจะได้แอลโมเนียมา นี่คือลักษณะของ Storage เวลาเราพูดในทางเคมีหรือว่าในทางวิชาการ การกักเก็บเราไม่ได้มองแค่ว่ามันต้องเป็นแบตเตอรี่ แค่เก็บใส่ขวดก็เรียกว่ากักเก็บแล้วเนอะ นี่แหละคือการกักเก็บพลังงาน ซึ่งอ่านนี้เมื่อกี้ที่ผมยกขึ้นมาอาจารย์ครับ อันนี้กักเก็บเป็นอะไรเพื่ออะไรครับ แล้วอันนี้มันเอาไปใช้ทำอะไรครับ มันกักเก็บในรูปของ เกลือชนิดหนึ่ง เกลือเหรอครับ เวลาเราพูดเกลือจะนึกถึงเกลือบรรโตะอาหาร โซเดียมคลอราย ไม่ใช่เข็มๆอย่างนั้นไม่ใช่นะครับ คืออันนั้นเนี่ย ถ้าเกิดเอาโลหะมาเกิดปฏิกิริยากับตัวเล็กๆหนึ่งตัวเนี่ย ถ้าเกิดเขาก่อกันได้เนี่ยก็จะเป็นเรียกว่าเกลือนั่นแหละค่ะ ทางวิทยาศาสตร์มันเรียกแบบนั้น อันนี้เขาก็จะเป็นเมทเทิล มันอาจจะเป็นบางชนิดที่เขาไม่ได้บอกเอาไว้ในนี้นะครับ ก็มาเจอกับไฮโดเจนเขาก็อยู่ด้วยกันแล้วเขาก็เป็นของแข็ง ก็อาจเข้าไป ทำให้เราสามารถเคลื่อนไหว แล้วก็เคลื่อนย้ายได้ง่าย แล้วก็มันไม่ได้ติดไฟขนาดนั้น ถ้าเราไม่ปล่อยมันออกมา ถ้าเกิดปล่อยออกมา มันก็จะมีไฮโดเจนออกมานั่นแหละ อันนี้จริง มันมาพร้อมกับของเล่นอันนี้ อันนี้จริง มันเป็นตัวเดโมนะคะ ก็คือเป็นเซลล์เชื้อเพลิง ที่เอามาแสดงให้เห็นว่า หลักการของเซลล์เชื้อเพลิงมันเป็นอย่างนี้นะ คือตรงนี้เขาก็จะให้ใส่กาส 2 อันนี้ ใส่กาส อันหนึ่งไฮโดเจน อันหนึ่งออกซิเจน ว่าจะแสดงให้นักเรียนดู ถ้าอาจารย์ปูปั้นถังไฮโดรเจนมาเลย แล้วก็ปล่อยมันสู่อากาศ เด็กๆ ก็คงจะนั่งหายใจเข้าไปหนึ่งแล้ว แล้วก็สิ่งติดไฟกันเนอะ แต่ว่าถ้าเกิดมีอย่างนี้มันก็ปลอดภัยหน่อย แล้วก็เชื่อมเข้าไป แล้วก็ปล่อยไฮโดรเจนเข้าไปในนี้ได้เลย ก็เป็นการ Transfer ไฮโดรเจนในรูปแบบที่ง่าย แล้วเจ้านี่พอไฮโดรเจน 2 โมลิกูลของไฮโดรเจนมันมีไฮโดรเจนเกาะกัน 2 ตัว ออสเซเจนเกาะกัน 2 ตัว แล้วเดี๋ยวสิ่งที่อยู่ในนี้ มันก็จะทำหน้าที่แยกมันออกมา แฝดไฮโดรเจนความสุข แฟดออกซิเจนคู่นี้ถูกจับแยก และเดี๋ยวออกซิเจนหนึ่งตัวเทอร์มันจูงเด็กสองคนนี้ ก็กลายเป็นถามอีกรอบหนึ่ง เดี๋ยวนะฮะ คือในนี้ก็จะกลายมีน้ำเลย อืม จะเกิดน้ำขึ้นมา แล้วทำให้กับสายไฟฟ้าเนี่ย อันนี้คือต่อคู่บุคคลบ ถ้าเราเอาสายไฟมาต่อปุ๊บ อีเล็กตอนวิ่งเลย ได้ไฟ เข้าใจละ อีเล็กติกฟิเคชั่น ใช่ อันนี้คือการเกิด แต่พอถามว่าทุกวันนี้ เรา เราคืออยากจะแกะให้ดู แต่ว่ามันจะแกะยาก ก็เลยเอาอันนี้มาเป็นตัวยา เดี๋ยวผมเบรกนิดนึงให้คนตามทันนิดนึงนะฮะ ก็คืออันนี้คือวิธีการได้มาแล้วกักเก็บ แต่วันนี้หัวข้อที่เราคุยกันคือเรากำลังพูดถึง Net Zero เราอยากได้ไฮทาเจนที่สะอาด เราอนุมารว่าในนี้เรากักเก็บเพื่อไฮทาเจนที่สะอาด ทีนี้ถ้าเกิดในโลกแข่งความเป็นจริง ก็จะกักเก็บในรูปแบบที่แตกต่างกันออกไป ทั้งใหญ่ๆ หรืออาจจะเป็นของเลวเลือกเอา อันนี้ก็เดี๋ยวเราคุยกันต่อว่าเทคโนโลยีมันไปถึงไหน หรือว่าแต่ละประเทศเขาทำอะไรกันอยู่ แต่ว่าโดยคอนเซ็ปต์ที่อันนี้อาจารย์เอาไปสอนนักเรียน ถูกมั้ย ใช่ เอาไง สัดที่เฉย โอเค ก็เป็นอย่างนี้ ทีนี้พอเราได้มาอย่างนี้ปุ๊บ ก็ต้องเอาไปใช้แหละ ใช่ เอาไปใช้เนี่ยผมเข้าใจว่าก็จะมี อย่างเมื่อกี้เราเคยมีสองแบบ แบบหนึ่งก็คือเอาไปใช้ในเป็นวัดเครือดิบ ต่าง นานา อันนี้ก็ พวกนี้ก็ไม่จำเป็น ถูกมั้ย ก็เอาไปใช้เลยอย่างที่อาจารย์บอก ใช่ สมมุติ สมมุติบอกว่ามีการพัฒนาเครื่องยนต์ เครื่องยนต์ขึ้นมาใหม่ ใช้ฮาโดรเจนฟีดเข้าไปเลย แล้วปลอดภัยด้วย เราได้พลังงานเลย ก็เอาไปต่อเลย แต่วันนี้เครื่องยนต์นั้นก็ยังไม่ถึงกับพร้อมใช้ขนาดนั้นในตอนนี้นะ อันนี้เราได้ฮาโดรเจนมาแล้ว ทีนี้เราคุยกันต่อว่า เอาไปใช้มันให้เป็นพลังงานไฟฟ้า ถูกไหมครับ ซึ่งเมื่อกี้อาจารย์อธิบายไปแล้วว่าหลักการก็คือ ตัวนี้เรียกว่าอะไรนะครับ เซลล์เชื้อเพลิง เซลล์เชื้อเพลิง ชื่อมันตรงตัวดีนะเซลล์เชื้อเพลิง ใช่ เซลล์เชื้อเพลิงคืออะไร ก็เข้าใจว่าอันนี้แกะได้เช่นแหละ อันนี้เหมือนกันใช่ไหม คือคลายต้องบอกว่า เวลาเขา อันนี้คือแบบบางคนเขาอยากเห็นภาพของการพัฒนาว่าทำอะไรกันอยู่ เออ คือนี่ เอ้ามันมีแล้วไม่ใช่เหรอ แล้วทำอะไรกันอีกอ่ะ เวลาได้ยินแบบฟูเซล ฟูเซล เซลช่วยเพิ่มคืออะไรอ่ะ ใช่ ก็คืออันนี้ เขาก็ไม่อยากจะแกะให้เราดูหรอกนะ เวลาเราไปตามที่ที่แบบ อย่างบางที่ที่เขาพัฒนาอยู่เนี่ย เขาไม่ยอมแกะให้ดูเลย แต่ว่า อันนี้เดี๋ยวแกะให้ดูเพราะว่าจะได้เห็นภาพ เพราะว่าอันนี้เนี่ยจะไม่ได้เหมือนเป๊ะนะคะ เพราะว่าอันนี้เอาไว้ศึกษา มันเลยมีความลุกทุ่งนิดหนึ่ง เดี๋ยวเราจะค่อย เอาน็อตออกมาทีละ อันนี้จริงๆ เราได้มาจาก 3D Printing นะ เรา Design อ่า ใช่ค่ะ เพื่อการเรียนการสอนโดยเฉพาะ อันนี้คือเพื่อวิจัยจริง อันนี้ขอยืมลูกสิทธิ์มา บอกว่าวันนี้จะทำการทดลองไหม อย่าเพิ่งทำได้ไหม อะไรอย่างนี้ โอเค จะเห็นได้ว่าเรา เราก็จะแกะออกมา มันก็คือทีละแผ่นนะคะ -อันนี้ ใช่ไหมครับ ใช่ไหมครับ ใช่ไหมครับ ใช่ไหมครับ ใช่ไหมครับ เอาเบื้องต้นก่อนผมเนี่ย เป็นพวกแบบไม่เคยเห็นอะไรอย่างนี้เลยสมมุติครับ ก้อน นี้คืออะไรบ้างครับ มันคือการประกบเซลล์ค่ะ มันเหมือนแบตเตอรี่เลย มันเกิดแบตเตอรี่รถยนต์ก็ได้ ถ้าจะนึ เราจะต้องมี Electrolyte ที่เราบอกว่าต้องเติมในแบตเตอรี่สมัยก่อน เหมือนกันเลย เซลล์เชื้อเพิง แบตเตอรี่ Electrolyzer มันใช้เหมือนกันก็คือพอแกะออกมา พอแกะออกมามันก็ต้องมีคั่วๆหนึ่ง อันนี้เอาไว้สำหรับทำให้มันไม่รวย อันนี้ไม่มีอะไร อันนี้ระบายสีไว้ให้ว่าสมมติมันมีอะไรบางอย่างที่ไว้ทำหน้าที่อยู่ตรงนี้ เราก็ไปพัฒนาตัวสีน้ำเงินนี้ขึ้นมาว่าตัวไหนหน่อที่ ที่เอามาจะเห็นได้ว่ามันจะมีแพทเทิร์นของการวิ่งของแก๊สอยู่ อันนี้คือการออกแบบค่ะ ถามว่าทุกคนต้องทำรูปนี้ไหมไม่จำเป็นนะ อันนี้เนี่ยคือเรากำลังจะบอกว่า เวลาที่สิ่งที่เราอยากให้มันเกิดปฏิกิริยา มาเจอกับตัวเร่งปฏิกิริยา เราก็พยายามจะให้เขาอยู่ด้วยกันให้นานที่สุดเนาะ เหมือน Catalytic Converter ในเครื่องยนต์ มีไอเสียออกมาเราก็พึ่งพาไอ้เจ้าก้อน คอนเวอร์เตอร์ที่จะทำให้ไอเสีย กลายเป็นสิ่งที่ไม่เป็นพิษออกไป เวลามันสั้นมากเลยนะ เพราะว่าเวลาเราขับรถ มันผลิตไอเสียเร็วมากเลย ข้างในมันจะต้องมีเวย์ มีกันให้มันวิ่ง ผ่าน Catalyst ให้เยอะที่สุด เพื่อเราจะได้เปลี่ยน ให้ Catalyst นั้นได้ทำงาน เยอะ เยอะ คือ Catalyst ก็ต้องเก่ง อย่ามาอ้อยอิ่งนะ คือ Catalyst ก็ต้องทำงานเร็ว อันนี้เนี่ย เพื่อให้เขาจะได้สัมผัสกันให้เยอะที่สุด อันนี้แค่ว่า ไม่ต้องออกแบบเป็นรูปนี้ก็ได้ แต่ว่าอาจจะทำอันนี้เป็นรูพุนให้มากที่สุด อันนี้รูปแบบชนิดของวัสดิ์ ผมมีคนที่เคล็ดเขาวงกดเก่งๆ นี่จะเก่งเลยนะฮะ แล้วก็ทำอันนี้เป็นรูพุนอีกนะ อันนี้จะเอารูปแบบง่ายๆ มาให้ดู เพราะจริงๆ แล้วเนี่ยมันจะ มันจะเป็นวัสดุที่สีมันเข้ม แล้วก็จะมองยากถ้าเกิดเราเอามาโชว์ตรงนี้ ก็จะแบบทำให้มันมีรูพุ่น มีความเป็นรังพึ่ง เป็นอะไรอย่างนี้ข้างใน 3 มิติ อันนี้ อันที่สำหรับคนที่ไม่มีความรู้วิทยาศาสตร์ครับ อันนี้ อันนี้มันคืออะไรครับ เส้น นะครับ อันนี้ อันนี้เราจะฉาบ ฉาบมัน อันนี้คือกระดาษฟอยล์หรือว่า อันนี้เอากระดาษฟอยล์มาทำให้ดูเฉย มันต้องเป็นสารกึ่งตัวนำ หรือว่าจริง แล้วทุกวันนี้เขาก็ใช้โลหะนะ อย่างพวก แพลตินัม เอาแผ่นแพลตินัมมาเลย แต่มันก็แพงนิดนึง ถ้าเกิดยอมลงทุนว่าเซลล์เชียวเพลิงชั้นจะใช้แพลตินัมก็ได้นะ แต่ในเชิงของการผลิตมันแพง แล้วใครไม่มีเหมืองก็เสียเปรียบเนอะ แล้วถามว่านี่ก็ยังเป็นอุตสาหกรรมของการผลิตโลหะเนอะ แต่ถ้าเกิดบอกว่าไซซ์ใช้ครั่วไฟฟ้าที่มาจากคาร์บอน อ่า อีพิโซดก่อนนั้นนี้ก็จะมีเรื่องของซีมมีคอนดรัคเตอร์ มีของแบตเตอรี่เนี่ย เขาก็ต้องใช้ครั่วคาร์บอนบ้ามาเป็นตัวช่วย ที่ทำให้การผลิตถูกลง แล้วการใช้คาร์บอนเป็นวัสดุมันออกแบบได้ คาร์บอนออกได้ตั้งหลายรูปแบบ แบบเตียบ ริบมาก รูพุน รูพุนมาก รูพุนน้อย แบบโฟม ได้ตั้งหลายรูปแบบแล้วมันถูก อันนี้ก็คือวัสดุนี้จ��เป็นอะไรก็ได้ ต้องบอกแบบนี้ นักวิทยาศาสตร์เขาก็พยายามจะคิดค้นกัน จะเคลือบไหม จะเคลือบแบบไหน เคลือบมาก เคลือบน้อย เคลือบผสม เลือกมา สิ่งเหล่านี้เนี่ย อันนี้ก็จะเป็นห้องที่อยู่ข้างในเนอะ ก็จะมีน้ำอยู่ข้างใน ใช่ไหม น้ำก็จะอยู่ข้างใน แล้วก็เจ้านี่ก็เป็นคั่วหนึ่ง มีคั่วบัวก็ต้องมีคั่วลบ มันต้องคู่กัน อีกข้างหนึ่งก็จะอยู่ตรงนี้ แล้วแต่มันจะเป็นอะไรเลย คราวนี้มันจะเป็นคาร์บอนทั้งคู่ คือมันก็จะมีคู่ที่เหมาะสมของมันอยู่ในปัจจุบันที่เขาใช้กันเยอะ แต่ว่าอันนี้คือทำให้มันไม่ชี้นำความคิดเกินไปว่า อาจารย์เอาคาร์บอนมาโชว์ก็แสดงว่าต้องคั่วคาร์บอน ก็เลยเอาแผ่นฟอยด์แหม มันเป็นอะไรก็ได้ อะไรก็ได้เลย นี่แหละที่ต้องพัฒนาการ พัฒนาที่ค้นกันอยู่ วิจัยที่อาจารย์ทำกันอยู่ก็คือพวกนี้แหละ ใช่ แล้วตรงนี้จริง มันต้องมีเมมเบรน เมมเบรน กั้น คือกั้นให้มันแย่ออกจากกั้น ไม่งั้นอย่างมันมาผสมกันเนี่ย เมมเบรนอีก ก็จะเป็นเมมเบรนที่ต้องเป็นชนิดเฉพาะของเขา โอ้ เข้าใจแล้ว หน้าตาไหน ควรจะใช้อะไร ครับ เอาแบบนี้ ที่เขานิยมกันมากที่สุด สักตัวอย่างหนึ่ง สมมติว่าจะทำ ไฟฟ้า อยากได้ไฟฟ้าออกมา เซลล์เชื้อเพลิง เราคุยกันได้ เรามีฮิโรเจน คิดว่าเรามีใหญ่มากเลย คิดว่าหลายคนเวลาไปดูในยูทูปก็จะเห็น ลดฮิโรเจน มีฟิลเซลล์ มันเป็นตัวนั้นเนี่ย มันต้องที่นิยมกันมากที่สุดก็ได้ จะได้เห็นภาพไง ตอนนี้ที่เขาพัฒนากันมันจะมีประมาณอยู่ 3 ชนิดนะ เป็น Alkaline Alkaline Alkaline Battery นะ นั่นแหละ คล้ายกัน คล้ายกัน ต้องใช้คำว่ารายละเอียดข้างในมันจะแค่ไม่เหมือนกันนิดเดียว แต่ว่าตัว สิ่งที่เขาใช้มันก็คือ Alkaline อีกอันหนึ่งก็เป็น Proton เป็น Membrane ที่แลกเปลี่ยน Hydrogen ไอออนของ Hydrogen ได้ เป็นเฉศทนาเมมเบรน ตอนแรกเมื่อกี้อาจารย์บอก ถ้าผมจำไม่ผิดนะครับ เมมเบรนไว้ใช้ให้มันซ้ำซ้อนกัน ใช่ แต่ว่ามันต้องเลือกว่า ความสามารถของเมมเบรนนี่ก็สำคัญ ฉะนั้นความพิเศษของเขา อย่างโปรตอนเมมเบรนเนี่ยนะ เอริกโตไลซิส หรือว่าเซลล์เชื้อเพิง หรือฟิลเซลล์เนี่ย มันจะดีกับการที่ใช้พลังงานทางเลือกได้ เพราะว่าแดดมา ลมมาเนี่ย มันจะมาแบบ วุบวาบ ถูกไหม แดดแรง ลมแรง ก็จะให้ไฟเยอะ แต่ว่าพวกนี้ ถ้ามัน response ช้า อืม ขอบคุณค่ะ คือเซลล์เชื้อเพลิงบางชนิด มันก็จะไม่ อ่า Electrolyzer หรือเซลล์เชื้อเพลิงบางชนิด มันจะ response ช้า โอเค ขอบคุณค่ะ แต่ถ้าเกิดบอกว่า ใช้พวก โบตอนเมมเบน ไทป์เนี่ย ทั้ง Electrolyzer ทั้ง Fuse Cell ข้อปิ เขาได้เปรียบคือเขาจะ response เร็ว เขาอาจจะเหมาะ กับการที่อยู่ในยันโด เพราะว่าทำเร็วไง เผลอเกิดพลังงานได้เร็ว รับไฮโดรเจนมาปุ๊บปุ๊บปุ๊บปุ๊บ ปิดปิดดับดับ เปิดเปิดดับอะไรอย่างนี้ได้เร็ว แต่ว่าเขาก็แพงกว่า อืม อืม อืม อืม อืม อืม อืม อืม อืม อืม อืม อืม อืม อืม อืม อืม อืม อืม อืม อืม อืม อืม อืม อืม อืม อืม อืม Solid Oxide Solid Oxide นี่ ชื่อเขาเป็น Solid นะ ข้อดีคือ คราวนี้มันก็จะทน อย่างนี้ ข้อได้เปรียบของเขาก็มีของเขาอยู่ เรื่องของ Cost อาจจะได้เปรียบ แต่ว่าเขาก็ไม่เลวเท่า Membrane นะ อย่างนี้ค่ะ อยู่ที่การเอาไปใช้ เข้าใจครับ ตอนนี้เขาหลัก เขามีประมาณนี้ อัลคาไลน์ โปรตอน เมมเบรน แล้วก็โซลิดออกไซด์ คือฟังแล้ว ไม่รู้ผมเปรียบเทียบถูกหรือเปล่า เหมือนทำอาหารยังไงไม่รู้เลย คือจะเป็นมาสักจานเนี่ย จะเอาหมู เอาไก่ เอาน้ำปลา หรือจะเอาเกลือจากฮิมาไร หรือจะเอาทรัฟเฟิลเนี่ย มันเยอะมากเลยอยู่ที่เรา อยู่ที่ Resource อยู่ที่ Resource แล้วก็มาผสมแล้วเนี่ย มีการกินที่อร่อยและราคาสำเร็จสมผลอีก ได้พลังงานอีก มีประโยชน์ต่อโลกอีก ไม่ได้ทำร้ายโลก คือทุก อย่างมันคือจินธนาคารเหมือนกันนะครับ ผสมกับหลักการทางวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เคมี เข้าใจแล้ว มันก็เลยจำเป็นต้องมีการวิจัยและวัฒนาสูงมาก กว่าจะได้มาตัวที่ดีที่สุดที่ลงตัวทุกอย่าง มันถึงได้ใช้คำว่าเหมาะสมที่สุดนะ ออปติมัม คุ้มทุน ถ้าถามอย่างที่อาจารย์ตั้งคำถามเมื่อกี้เลย จะเอาไปใช้ทำอะไรในเชิงยุทธศาสตร์ เพราะว่านี่คือการวางยุทธศาสตร์ของแต่ละ แต่ละประเทศ หรือแต่ของละองค์กรแล้ว โดยส่วนใหญ่ที่เขาคุยกันอยู่เนี่ย เขาเอาไฮโนเจนไปใช้ทำอะไร เมื่ออยู่ใน เรียกว่ามี landscape ของตัวเลือกอื่นๆ ด้วย ในปัจจุบัน ยังใช้เป็นสาขำเคมีทำปุ๋ยเยอะ ทำปุ๋ย เยอะเลย ครับ ดอมิเนตมาก แต่ว่าเรื่องของเอามาทำไฟฟ้ายังน้อยมาก น้อย แต่ว่าความต้องการของการใช้ มันจะกระโดดเร็วมากในช่วงอีก 10 ปี ความต้องการไฮโดเจนจะเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 30 เท่า ไฮโดเจนจะมาช่วยตอบโจทย์ว่า เราอาจจะไม่ต้องเพิ่งน้ำมันเชื้อเพลิงอีก เพราะว่าในขณะที่แบตเตอรี่ EV มันบรรบอก บอกได้แล้วว่าไฟฟ้ามันขับเคลื่อนรถได้ ฉะนั้นอะไรก็ตามที่ได้มานำมาซึ่งไฟฟ้าเนี่ย ใช้ได้ ฉะนั้นบอกว่าไม่อยากจะอิมิต น้ำมันไม่ต้องได้ไหม ได้ไฮโดเจนทำได้ อย่างนี้คือคือบอกว่าเขาเป็นทางเลือกที่เหมาะสมแต่ถามว่า มันจะต้องเป็นทางเดียวไหมเนี่ยมันคงไม่ใช่ เพราะว่าความพร้อมของเทคโนโลยีมันยังดีเบตกันอยู่ ต้องบอกแบบนี้ก่อนว่าประเทศอย่างในกลุ่มอาเซียนอย่างนี้ เอเชียดีกว่า ชาไน่หรือว่ากลุ่มเอเซย์แบซิกฟิกอย่างนี้ มีแนชัลแก๊สเยอะ อ้าว เขาได้เปรียบนะ เพราะว่ามันผลิตไฮโดเจนได้ง่าย เป็นบลูไฮโดเจน ไม่ต้องแยกน้ำ อย่าพึ่งก็ได้นะ เอาเป็นบลูไฮโดเจนก่อน ใช่ไหม ฉะนั้นตอนนี้เขาบอกว่า พอได้ไฮโดเจนมา ก็เซลล์เชื้อเพลิงก็ได้นะ ก็ได้อีวีละ หรือว่าจะมาเบลนกับแนชัลแก๊ส 20% ก็เป็นเครื่องยนต์สำดับแนชัลแก๊สไปก่อน ก็ได้นะ เราไม่ได้ทิ้งอะไร แต่ว่าเรายังใช้ประโยชน์จากไฮโดรเจนได้เหมือนเดิม เอกโคซิสเต็มนี้ผ่าน แต่ถามว่าบางประเทศบอกว่า อย่างบางประเทศที่ใช้น้ำมันล้วนๆ เขาบอกว่าเออเนอะ ความสามารถในการแข่งขันเขามีเยอะ แต่เขามีแร่เยอะมากเลย เขามีพลัตตินัม เขามีอะไรเยอะ เอ้ย อิเล็กโตรไลเซอร์ ฉันก็ผลิตได้ถูกนะ เซลล์เชื้อเพลิง ฉันก็ผลิตได้ถูกนะ งั้นฉันเอานี้แหละ เวนี้แหละ คือจะบอกว่า จากที่เราจะไปเน็ตซีโร่เนี่ย ตอนนี้ต้องเรียกว่า ก็ตะเกียกตะกายเลยแหละว่า เวย์ไหนที่ใช้ได้ต้องใช้ เพราะถ้าเกิดยูจะพูดว่า 2050 หรือต้องเป็น Net Zero เนี่ย อ๋ออันนี้ดีกว่าอันนี้แล้วมาดีเบตกันว่าอันนี้ดีที่สุด เธอไม่ต้องทำ ไม่ได้ อ๋อผมเข้าใจแล้ว ไม่ได้ แล้วเมื่อกี้ผมชอบที่มันอยู่ที่พื้นที่ตั้ง อยู่ที่ภูมิศาสตร์ ด้วยว่า อ่ะถ้าเราอยากได้โปรตีน บางทีกินไก่กินหมูกินปลา ก็ได้เหมือนกันอ่ะ ถูกมั้ยฮะ อยู่ที่แต่ละที่มันมีอะไรที่นี่แต่ละประเทศ ก็เลยอาจจะมีการสนับสนุนหรือลงทุน คงสร้างพื้นฐานที่แตกต่างกัน ญี่ปุ่นบอกว่า เออ ตัวเองก็ไม่ได้พร้อมขนาดนั้น จะไปแข่งเหมือนกันไหมอ่ะ จะไปแข่งก็รู้แล้วอ่ะ เกมนี้ผลิตแข่งไม่ได้ จะเป็นฮัพแข่งกันทำไม ถ้าอย่างนั้นอ่ะ ฉันตั้งใจที่จะผลิต infrastructure สำหรับเอาฮิโดเจนมาใช้ พัฒนาที่มีตรงนี้ ขนหนังสือ เขาก็เลยบอกว่า หมดหมายหนึ่งของเขาก็คือบอกว่า จะใช้ ammonia technology เพราะว่า ammonia เนี่ย เป็นตัวที่ มันเป็น carrier หนึ่งของฮิโดเจน อัมโนเนีย จับฮิโดเจนมา คลายการ์ดถุงต้มเหล่า อาจเป็นของเหลวงาน ความดัน ความดันแน่นพอกัน ใช้ท่อเดียวกันอาจจะพอได้ มันปรับ infrastructure ปกติ เอามาใช้สำหรับ platform ใหม่เนี่ยพอจะได้ เขาก็บอกว่า งั้นเขาเล่นตรงนี้ เพิ่งเข้าใจแล้ว เพิ่งเข้าใจแล้ว เพิ่งเข้าใจแล้ว เพิ่งเข้าใจแล้ว เพิ่งเข้าใจแล้ว เพิ่งเข้าใจแล้ว เพิ่งเข้าใจแล้ว เพิ่งเข้าใจแล้ว เพิ่งเข้าใจแล้ว เพิ่งเข้าใจแล้ว เพิ่งเข้าใจแล้ว เพิ่งเข้าใจแล้ว เพิ่งเข้าใจแล้ว เพิ่งเข้าใจแล้ว เพิ่งเข้าใจแล้ว เพิ่งเข้าใจแล้ว ถ้าถึงสปีกข้างหน้า ถ้าเราลืมตาตื่นมา สมมุติว่าผมคุยกับอาจารย์ในวันนั้น 2033 อาจารย์คิดว่าการใช้เฮอร์เดอร์เจน ทั้งบลูทั้งกรีนแล้วกัน มันจะเป็นอย่างไรในวันนั้น วันนั้นเหรอ คิดว่า วันนั้นความพร้อมจะชัดเจนขึ้นเยอะ เพราะว่าหลายๆประเทศเขาตั้งเป้าแล้ว 2030 นี่มันจะเป็น Golden Year มากเลย เขาจะมีความสามารถในการผลิต Electrolyzer เซลล์เชื้อเพลิงเท่าไหร่ๆ ใช่ไหม แล้วก็ Capacity ในการเก็บเท่าไหร่ ฉะนั้นตอนนั้นเชื่อว่าถึงตรงนั้นความต้องการแห่งแฮนโอเจนจะเยอะ ด้วยความที่การแห่งแห่งแห่งแห่ง การแข่งขันที่เกิดขึ้น ความพร้อมที่มา ฉะนั้นตอนนี้ความต้องการจะพร้อมละ คือเทนต์มาแน่ แล้วก็ราคาจะถูกลงแน่นอน เพราะว่าตอนนี้มันคือความพยามหลักเลย ไฮโดเจนถ้าราคาถูกลงกว่านี้อีกสักครึ่งหนึ่ง คอมเพทิติฟเลย ซึ่งในมุมของเทคโนโลยี เชื่อว่าทำได้แน่นอน เพราะว่าที่ผ่านมามันผลิตเยอะ มันยังไม่มีใครใช้เยอะเท่านั้นเอง พอกระแสมาแล้ว แล้วความต้องการมาแล้ว แล้วทุกคนตอบรับ มันเป็นนโยบายแล้ว ความคุ้มทุนมันจะเร็ว เพราะว่าเทคโนโลยีค่อนข้างที่จะมีให้หยิบใช้ ครับ การสร้างคนกับ Research and Development วิจัยและพัฒนาจะเป็นคีย์สำคัญ เพราะว่านักวิชาการจะวิจัย แล้วเขาก็จะสับสนนิดหนึ่งกับเอกชนว่า เราวิจัยและพัฒนา Research and Development จริง แล้วมันไม่ใช่คำเดียวกัน Research อย่างเราเนี่ย อาจารย์ก็นั่งทำได้ติ ให้มันรู้พุนเยอะอะไรอย่างนี้ แต่ถามว่าเอกชนหัวมารัย อาจารย์จะทำให้มันได้สักที อาจารย์บอกไม่ได้ มันจะต้อง Efficiency ประสิทธิภาพต้อง 100% 80% แบบน้อย ออกมาเอา 60% ก็เอาแล้วอะไรอย่างนี้ คือ Research and Development มันคือการพัฒนาเพื่อให้ตอบโจทย์ อันนี้จะเป็นกุญแจสำคัญ แล้วมันจะเร็วมากช่วงนี้ เพราะว่าความชัดเจน ตอนนี้แสดงว่าอาจารย์มองว่าความชัดเจนมาหมดแล้ว ไม่ใช่แบบมีถอยหลังกลับแล้ว มันมาแน่ คำถามก็ถามต่อนะครับว่ามันมาแน่ มันจะมาในการใช้งานแบบไหน เช่นจะเป็นรถยนต์ขนาดใหญ่ เครื่องบินมีไหม หรือว่าบ้านเรา จะได้ใช้ไฮโดรเจนหรือเปล่า หรือจริง แล้วเรายังใช้แบบเดิม หรือโซล่าเซลล์ คืออันนี้มันฟังก์ชันกันขึ้นขึ้นขึ้น เอาที่อาจารย์มองเห็นแล้วกันว่า เขามองว่าอันไหนเหมาะกับไฮโดรเจน ชีวิตเราอีก 10 ปีข้างหน้ามันจะเปลี่ยนไปยังไง ตอนนี้เรื่องของ การผลิตไฟฟ้า กับลอจิสติก ที่มองเห็นว่าไฮโดรเจนเข้ามามีบทบาทได้แน่นอน เพราะว่ามันมีการใช้ Renewable Energy สร้างขึ้นมาแล้วเรียบร้อย แล้วก็เรื่องของลอจิสติก เรื่องของการส่งในระยะไกล ไฮโดรเจนนี่เหมาะมาก เพราะว่าเขาไม่ได้ห่วง คือนึกถึงรถปันทุกข์หรือว่าเครื่องบิน ไอ้นี่มันเบาอยู่แล้ว ถ้าเกิดเขาไม่ได้งกที่ หรือว่ามีที่เก็บ เขาเหมาะกับการไประยะไกลมากเลย ยันยนต์ไฟฟ้า EV ตอนนี้คนก็กล้าๆ กลัวๆ ที่จะลงทุน เพราะว่าถามว่าสถานีที่จะชาร์จ EV มันก็ยุ่งเป็นพักๆ ช่วงที่ผ่านมาก็จะพบว่าช่วงวันหยุดยาว โอ้โห การเติม EV คือวิ่งขึ้นพักเหนือ คือมันจะต้องมีจุดต้องเติม ตรงนั้นคนจะแย่งกันใช้มากเลย แต่มันก็จะแย่งกันช่วงนี้แหละ แต่ถามว่าวันนี้เรานั่งทำงานกันธรรมดา ไม่ใช่วันหยุดยาว ตรงนั้นเขาก็เงียบเหงานะ คือความคุ้มทุนมันยังมีปัญหาอยู่ ฮาโดเจนเนี่ย เติมเหมือนอำมัน คือมันเร็ว เติมเหมือนกับอัดแก๊สอะ เหมือนรถแก๊สตะกอน แซ็กซี่ ก็มาก็ลอกไป แล้วสถานีไม่ต้องมีเยอะ เหมือนสถานีอำมันเลย เพราะว่ามันยิงยาว จริงๆไปกับสบายๆไม่ต้องไอ้นั่นก็ได้ ไม่ต้องอยู่ในเมืองก็ได้สถานีเติม คือสมมุติว่า EV เติมทีเนี่ย อาจจะวิ่งได้ 3-400 กิโลกรัมสมมุตินะ อันนี้คือจะได้ สบายเลย เราถามมันเหมาะกับเครื่องยนต์ จนพานะขนาดใหญ่ การใช้ไฮโดเจนเป็นเชื้อเพลิงในจรวด มีตั้งแต่ตอนที่คิดค้นพลังงานไฮโดเจนได้แล้วนะ ก็คือยุค NASA อย่างนั้นแหละล่ะ NASA ใช้ตั้งนานแล้ว NASA ไฮโดเจนมันตั้งนานแล้ว ใช่ใช่ลิควิดไฮโดเจน มัน Demo มาแล้วมันสาธิตมาแล้วล่ะว่ามันคุ้ม แล้วก็อย่างที่บางที่นะคะอย่างเช่น อังกฤษเนี่ยเขาบอกว่าเขามีสถานีอยู่ 11 ที่เขาว่ามันพอทั้งก่อนอังกฤษเขาบอก ไฮโดรเจนเนี่ยนะ เออเออเขาพูดอย่างนั้นแต่ว่าลองนึกสภาพสิว่าถ้าเกิดบอกว่าเออบ้านเรามีใช้ลดโยนไฮโดรเจนเนี่ย มันมีแค่ 11 อัน ขับไปเติมไหนเนอะ แต่ว่าอันนี้คือเขาพูดถึงแค่ว่า เอาเท่านี้จริงๆ แล้วอ่ะ ได้ แต่ถามว่าความสะดวกขบายของผู้ใช้มันเป็นเรื่องอีกเรื่องนึงนะ เรื่องตลาดก็เลยอีกเรื่องนึง ความพอพี ยัง sufficiency เนี่ย มันได้จริงๆ ครับ เขาก็ประเมินมาแบบนั้น สำหรับว่าอาจารย์มองแล้ว เป็นหมอดูวันนี้เลยมอง 10 ปีข้างหน้ามันมา แต่มันจะมาเป็นฟังก์ชันของมัน เช่น อะไรที่เป็นการเดินทางไกลๆ ใช่ไหมครับ รวมทั้งเป็นทางเลือกหนึ่ง ในการใช้เป็นพลังงานไฟฟ้า ค่ะ แล้วก็กระแสของการสร้างแอปพลิเคชันที่ใช้ไฮโดเจน จะพยายามมีความใช้เยอะเลย อย่างในมุมวันนักเคมีน น่าจะเห็นว่ามันมีแอปพลิเคชันอะไรบ้าง คือ คือถ้าเกิดเป็นเรื่องของอุตสาหกรรมต่าง เนี่ย เขาจะใช้ ฮาโดเจนมันจะถูกลงเยอะ เขาก็พยายามจะใช้ในกระบวนการของเขามากขึ้น อย่างนี้ค่ะ คือมันจะสร้างความคุ้มทุน พูดง่าย เพราะว่านี่คือการสร้างกำไรเลย อันนี้คือพูดถึงธุรกิจเลย แล้วแต่ว่าเราคิดอะไรได้ ทำไมใช้ในกระบวนการผลิต เรื่องของการบริการจะหลากหลายขึ้น มันก็จะมี Water as a Service เพราะว่าการที่จะแยกน้ำ แยกน้ำให้ได้ให้ เวลาที่เราใช้ฮาโดเจน เราต้องใช้น้ำคุณภาพดีหน่อย งั้นก็จะมาเกิดธุรกิจหนึ่งที่ Water as a Service คือโรงงานนี้อยากใช้พลังงานฮาโดเจน แต่ต้องไปหาน้ำ ต้องไปบำบัดน้ำหน่อย ไม่ต้อง เดี๋ยวมีบริการ ก็เหมือนทุกวันนี้ที่มีน้ำเป็นน้ำดื่มที่เราใช้ดื่ม อันนี้ก็เป็นน้ำสำหรับไปทำฮาโดเจน ผลิต ไม่ใช่แบบมีแค่เล็กแม่น้ำหนึ่ง แล้วก็ดูดขึ้นมาไม่ได้ง่ายขนาดนั้น ใช่ ก็จะเกิดธุรกิจฝักต่าง มากมาย อันที่นี้กลับมาใกล้ตัว เป็นไปได้มาที่บ้านเราหรือออฟฟิศ และฟิตผมจะเป็นไฮโดเจนในอีก 10 ปีข้างหน้า -เมืองไทยหรอ? ครับ นึกอ่ะ ทั้งโลกก่อน ทั้งโลกก่อน ทั้งโลกก่อน เอาคอนเซ็ปต์ก่อนดีกว่า เอาแบบที่เขาทำได้ในระดับโลกก่อน -เป็นไปได้? ได้ ได้ เพราะว่าใน supply chain นะคะ ตอนนี้เนี่ย ความท้าทายมันอยู่ที่จุดทุกจุด เพราะนึกสภาพว่า ถ้าวันนี้เราเพิ่งจะรู้จักน้ำมัน อืม วันนี้ โอ้โห ของเลวเนี่ยหรอ? อุ้ย มันเป็นเชื้อเพลิงได้ด้วยหรอเนี่ย เราต้องคิดถึงจะไปขุดมันมาจากไหน จะผลิตมันได้ยังไง ทำให้มันพร้อมใช้ยังไง แล้วก็ขนส่งยังไง เราจะมา... เก็บในบ้านแล้วยังไง แล้วมาใช้คือ เก็บในบ้านตอนนี้มีกาถุงต้ม มันมาเป็นถังอย่างนี้เหรอ แล้วพอตอนใช้ เราก็มาเปิดบาวต่อท่ออย่างนี้เหรอ สิ่งเหล่านี้เราต้องคิดสำหรับไฮโดรเจนหมดเลยถูกไหม คิดใหม่หมดเลยใช่ไหม ทำไมมันใช้กับแบบเดิมไม่ได้เลย เพราะว่าไฮโดรเจนอย่างที่บอกตัวมันเล็ก แล้วว่าจะคอมเพรสนี่ คือต้องใช้ความดันสูงมาก หรือว่าไอ้ถังนี้ต้องเก็บอุณหภูมิ แบบลบ 250 กว่า 53 อ่ะ เพื่อให้มันเป็นลิควิด คือถ้าเกิดมันมีแบบนี้ แบบนั้นขึ้นมาเนี่ยก็ได้นะ แต่ว่าตอนนี้มีอันนี้แล้วไง ก็อาจจะในบ้านเราบอกว่า อังั้นใช้อันนี้ไปก่อนไหม เพราะว่าอาจจะเหมาะกับสภาพปัจจุบันว่า ประเทศไทย ลอจิสติกเรา มีแบบรถบรรทุกวิ่งตลอดเวลา ก็อาจจะเหมาะแบบนี้มากกว่า หรือมีถัง ถังใหญ่ ไอ้ที่ถังน้ำมัน ไอ้แท็งน้ำมัน ก็อ้อ งั้นทำเป็นลิควิดไฮโดเจนไปก่อนไหม มันก็จะถูกพัฒนาขึ้น โครงสร้างพื้นฐานทั้งหมด โครงสร้างพื้นฐานทั้งหมดจะถูกพัฒนาขึ้น แล้วก็ให้มันพร้อมไปถึงผู้ใช้ สถานีไฮโดรเจนก็จะเห็น อย่างเงี้ย อันนี้มันเห็นอยู่แล้ว แต่ว่าถามว่าบ้านเรา ประเทศไทยเนี่ย จะเล่นตรงไหน ถูกไหมคะ ก็ต้องว่ามาว่า เข้าถึงได้ เข้าถึงแน่ สําหรับโลกเรานะ เข้าใจครับ เพราะฉะนั้นในระดับโลกเนี่ยมีแน่ ตื่นมาแล้ว อาจจะเห็นพลังงานไฮโดรเจนไปที่หมู่บ้าน แท้นี่จะเห็นแท๊งน้ําใหญ่ ใช่ไหม คุณน้ําบรรดาจะเป็นแท๊งไฮโดรเจนก็ได้ อันนี้ก็แล้วแต่ ซึ่งอันนี้มันมีข้อดีอย่างที่อาจารย์พูดก็คือ ก็คือมันแทบจะไม่มีคาร์บอนอยู่ในกระบวนการ ถ้าเกิดเราทันไปถึงจุดนั้น แต่ทีนี้กลับมาที่ประเทศไทยแล้วกัน จะทิ้งท้ายนิดหนึ่งนะครับ เรามีรัฐบาลใหม่ หรือกล่าวไม่รู้นะ ทำไม่เกี่ยวกับอาจารย์นะ แต่ว่า ผมว่าตอนนี้คนเริ่มพูดกันเยอะขึ้นในประเทศไทย เพราะเมื่อกี้อาจารย์ก็พูดว่า แล้วแต่ว่าจะเล่นท่าไหน ซึ่งคนที่จะเล่นท่าไหนในคำถามนี้ มันต้องไปถาม Policy Maker ไง ว่าจะกำหนดนโยบายอย่างไร แล้วผมเชื่อว่าเขาน่าจะได้ถามอาจารย์อยู่บ้าง เพราะอาจารย์ก็เป็นคนที่เข้าใจเทคโนโลยีนี้พอสมควร เวทได้ว่าลงทาง มองทุนนี้ดีกว่านะ เหมาะกับประชาชนไทย เรามีรีซอสประมาณนี้ แล้วผมเข้าใจว่าตอนนี้ก็มี ฮัลโดรเจนคลับอะไรแบบนี้เกิดขึ้นระดับหนึ่งแล้ว มุมวงอาจารย์ประเทศไทย ควรจะมีกลยุทธ์ หรือว่ายุทธศาสตร์ในการใช้ฮัลโดรเจนแบบไหน ในระยะอันใกล้ตั้งแต่ตอนนี้เลย Policy Regulation ต้องชัด -ต้องชัดก่อนนะครับ คือเพราะว่า สิ่งเหล่านี้มันต้อง ใช้การลงทุน จะทำยังไงให้เอกชนบอกว่า ถ้าเขาทำ รัฐเอาแน่ เอานี้ก่อน เอาแผน PDP การผลิตไฟฟ้า อย่าให้เขารังเล ว่าจะได้เข้าแผนหรือเปล่า จะได้อะไรหรือเปล่า เพราะว่ายกตัวอย่างของอเมริกา เขามี IRA Inflation Reduction ใช่ไหม อันนี้ อันนี้มันบอกได้เลยว่าถ้าคุณทำ บอกเลยได้แน่ อย่างเนี้ยมันจะทำให้อเมริกาเนี้ย จริงๆแล้วเนี้ยอีกไม่นานเขาจะเป็น เจ้าหรอ เจ้าใหญ่ คือทุกคนตอนเนี้ยทำ ถามว่าใครเป็นลีฟ มันอยู่ที่ใครมอง ใครเป็นผู้นำตอนนี้ว่า จีน จีนนำ ถ้าเกิดพลังงานทางเลือก ยุโรปนำ แต่อเมริกาเนี่ย ความชัดของ IRA เขาอ่ะ มันจะทำให้เขาอ่ะ เป็นคลองตลาดของพวก Electrolyzer ได้เร็วมาก อ๋อเหรอ เพราะว่าอย่างของ EU เขาชัดของเขามานาน เขาก็ลีฟ เพราะว่าอาจจะความชัดของเขามีมานานเท่านั้นเอง จีนเนี่ย Mass Production ได้ แต่ถามว่าในปี 2050 อย่างเนี่ย โอ้ เลเวลของความสามารถในการผลิต ของเขาจะไล่เลี่ยกัน แต่ของบ้านเรา ถามว่า สิ่งเหล่านี้มันจะชัดได้หรือยัง จริงๆทุกประเทศ ไม่ได้บอกว่าเรียกรองจากรัฐบาลไทย ระยะอันใกล้ Short Term Policy Regulation Standard ต้องชัด เพราะว่าการใช้ไฮโดรเจน มันก็มีในเรื่องของความปลอดภัย ญี่ปุ่นก็ในหนึ่งใน ไฮโดรเจน Strategy ของเขา แล้วก็ยังมี Chapter ในเรื่องของ Safety เลย รอได้ไหม สมมุติว่าบอกว่ากรูปจานมันยังไม่ชัวร์เลย ไม่รู้ว่าเป็นยังไง ให้คนอื่นเขาทำไปก่อน แล้วเดี๋ยวเรารอพร้อมกันแล้วเดี๋ยวเราจะทำ รอถืออิโตรอสับนี้ รอช้อน ถือช้อน รอตักปะทอง ได้ไหม หรือจริงๆแล้วไม่ได้ ต้องวางนโยบาย Strategy ตั้งแต่ตอนนี้ เพื่อที่จะได้ ผมอาจจะไม่คิดว่าเราจะเป็นผู้นำขนาดนั้นนะ แต่ว่าอย่างน้อยเล่นให้ถูกสนาม อะไรอย่างนี้ ในมุมผมแล้วกัน จังคิดว่าต้องเล่นตั้งแต่วันนี้เลยไหม หรือว่ารอได้ คือในส่วนของรัฐบาลหรือ Policy เนี่ย ไม่ควรรอแล้ว ช้าแล้ว นี่เราช้าแล้ว เพราะว่าตอนนี้ มีแผนพัฒนาพลังงานในด้านไฮโนเจน ก็ล่างแล้ว จะออกแล้ว รอความชัดเจน ยกเอาง่ายเอาปีไหน คืออันนี้จริงๆแล้วควรจะ Encourage มันถึงในจุดที่เร่งการลงทุน ให้เอกชนได้มีความชัดเจน เพราะว่าเดี๋ยวเขาดิ้นของเขาเองอีกรอบ เขาเห็นโอกาสเขาทำแน่ ใช่ อันนี้ถ้าเกิดทำได้ทำเลยดีกว่า แล้วก็ในส่วนของเทคโนโลยี ใช่ เพราะว่าเราอาจจะไม่ใช่ต้นทางของเทคโนโลยี ว่าสิ่งที่เราต้องมีคือกำลังคน Workforce คือทุกที่จะต้องปิด Demand กับ Supply Gap ถูกครับ กำลังคนต้องมานะ แล้วก็ Mass Production ต้องได้ เทคโนโลยีต้องถึง เราจะเข้าถึงเทคโนโลยีเนี่ย บอกว่าเราไม่ผลิตเอง เราไม่คิดเทคโนโลยีเอง เราจะไปร่วมมือกับใคร อันเนี้ยควรจะสร้างเครือข่ายได้แล้ว ไม่ใช่เครือข่ายในประเทศอย่างเดียว คือวันนี้ที่มันเกิดมา ไม่ว่าจะเป็นเครือข่าย Hynogen ไทยและอะไรอย่างเงี้ยนะ ดีนะคะ คือแล้วก็ทางด้านกระทรวงภาพ กรุงพลังงานเองเขาก็พยายามขับเคลื่อนให้ เซคเตอร์ต่างๆมาเจอกันเนี่ยจริงๆดี แต่ว่าความชัดเจนเนี่ยต้องรีบมีการตอบลับ เข้าใจครับ เพราะว่าตอนนี้แผ่นนำร่องก็มี ไม่ใช่ว่าเรามีอะไรเลย พูดเดี๋ยวๆท้อแท้ แต่ว่าถามว่าในขณะเดียวกันเนี่ย ถามว่าภาคประชาชนเนี่ยเขารับรู้ขนาดไหน เขาตื่นเต้นกับมันไหม อยากได้ขนาดไหนเนี่ย ก็คือเขาต้องเร่งสร้างเหมือนกัน เพราะว่านั่นคือคอนซูมเมอร์ ต้องสร้าง Demand อะ ใช่ๆ พอเห็นภาพทั้งหมด เพราะฉะนั้นปัจจุบันนี้ก็ ใครมีส่วนเกี่ยวข้อมูลก็คิดว่า ทุกครองก็ฝากด้วยนะครับว่าเราจะมีนโยบายอย่างไร จะมีความชัดเจน จะเอาไม่เอา จะเอาแบบไหน เอาแบบไหน ผมว่าสำคัญ ไม่เอาก็ได้ แต่ว่าไม่เอาเพราะอะไร หรือว่าคุยกับคนทั่ว ไปแล้วอยากจะทำแบบนี้เพราะอะไร แต่เราเห็นด้วยว่าต้องมีแนวทางที่ค่อนข้างชัดเจน ทีนี้สุดท้ายแล้วกัน เออ อ่า 2 อัน 3 สุดท้าย ช่วยกันได้ เพราะว่าไม่ได้บอกว่า วันนี้ไฮดราเจนมา ทุกอย่างหยุด เพราะอะไร เพราะว่าในช่วงของการเปลี่ยนผ่าน ยังไงพลังงานฟอสซิลเราต้องยอมรับค่ะ อย่าโลกสวยมากว่า บ้านเราทำไมไม่ Zero สักที ยังไงเขายังเป็น Black Bone การที่เราจะพัฒนาพลังงานทางเลือกให้มันใช้ได้ขึ้นมา ที่เราพัฒนามาได้ถึงทุกวันนี้ ก็เพราะมีเขานั่นแหละ มีพลังงานเชื้อเพลิงจากปกติของเรานี่แหละ มาช่วย Support ก่อนนะ วันนี้ลองใช้ไฟ ถ้าไม่ไหวจากพลังงานแสงแดด ไม่เป็นไร ก็พอๆ ยังมีไฟแบบปกติให้อยู่ มันจะได้เกิดการทดลอง นำร่อง ลองใช้ ลองขยายตัว อย่างนี้ วันนี้ก็อยากจะแบบว่าให้เวลา แต่ว่าต้องไม่ใช่ว่า Play safe เกินไป ต้องบอกว่าต้องมีการ transition อย่างมี timeline และมี Mind Stone ชัดเจน อย่างนี้โอเค แล้วบอกกันก่อน ทางขึ้นมาหน่อยระดับองค์ เขาก็ต้องมองหน้าที่ของเขาว่าบทบาทของเขาช่วยอะไรได้ Decision maker Decision maker จริงๆแล้วต้องบอกว่าสิ่งเหล่านี้ไม่ใช่สิ่งที่ประเทศใดประเทศเดียวทำได้ ทุกวันนี้เขามี Hydrogen Hub CCUS Hub เพราะว่าสิ่งนั้นมันแพง Infrastructure ทั้งหมด ถามว่าประเทศเราเล่นแบบนี้เราจะทำท่อส่ง Hydrogen แล้วนะ อยู่รับไหม อย่างนี้ก็ต้องคุยกันว่าประเทศเราเอาไง ทวีปเราเอาไง หรือว่าคือข่ายของเรายังไง ตรงนั้นคือถ้าเกิดทุกคนรู้ จากหน้าที่ อันนี้คือชอบ เป็นคนที่แคลร์ในเรื่องของหน้าที่นะ บทบาทหน้าที่ของตัวเอง ถ้าทำให้ดี จริง แล้วสิ่งเหล่านี้มัน มันจะกลายเป็นธรรมชาติของการใช้ชีวิตไปเลย Collaborate แล้วก็พยายามสื่อสาร ให้มันเกิด win-win situation เกิดขึ้นให้ได้