สวัสดีครับคุณน้อง วันนี้มาเจอพี่เบนครั้งที่ 2 แล้วนะครับ ครั้งแรกยังจำได้ไหมครับว่าพี่มาพูดเรื่องอะไร พี่มาพูดเรื่องมาตรก้าวนะครับ จำได้ไหมครับ ผู้มีอำนาจทำการแทนเป็นใครนะครับ ใครทำการแทนไม่ได้บ้างนะครับ วันนี้เราจะเข้าสู่เนื้อหาส่วนที่ 2 เนื้อหาส่วนที่ 2 เป็นเรื่องของเข็มหน้าสาร มาตราที่เกี่ยวข้องคือ 16, 17, 18, 19 ทับ 1 มาตราที่สำคัญที่น้องๆต้องท่องให้ได้คือมาตรา 17-18 ซึ่งเดี๋ยวพี่จะอธิบายไปพร้อมๆกับเรื่องโอนคณะผู้ภาษามาตรา 24-25-26 ตอนนี้มาเรียนเรื่องมาตรา 16 กับ 19-1 กับพี่ก่อนนะครับ เพราะว่าเนื้อหาเนี่ยค่อนข้างคล้ายๆกันเป็นเรื่องของการโอนคดีนะครับ เรามาเริ่มกันเลยนะครับ จะได้ไม่เสียเวลา มาตรา 16 เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร มาตรา 16 เป็นเรื่องเกี่ยวกับเขตอำนาคตของสร้างสาร แพ่งและศาลายานะครับ มีกี่วัก มีสามวัก วักแรกไม่ต้องสนใจมันครับ มันไม่ออกสอบครับ มาดูที่วักสองเลย วักสองมันก็ไม่น่าออกสอบ แต่จะต้องทําความเข้าใจเพิ่มเติมนิดหน่อย เพื่อที่เราจะได้ทําความเข้าใจในเนื้อหาส่วนอื่นได้ง่ายขึ้นนะครับ มาตราสิบหกวักสองเป็นเรื่องที่บอกว่าสามพ่งและศาลายาเนี่ยมีเขตอํานาจอยู่ในกรุงเทพมหานครนะ แต่ไม่ได้มีทั้งกรุงเทพมหานครนะครับ เพราะว่ามันจะมีบางท้องที่ ที่สารแพ่งและสารอายาไปยุ่งไม่ได้ ก็คือท้องที่ที่อยู่ในเขตตามสารบน Power Point ถามว่ามีกี่สาร มี 10 สาร ต้องท่องไหม เป็นพี่ๆ ก็จะไม่ท่อง เพราะมันไม่ออกสอบ แต่ให้ใช้วิธีทำความเข้าใจเอา วิธีการทำความเข้าใจของพี่ก็คือ ตัวสารที่อยู่ในมาตรา 16 วัก 2 มันจะเกี่ยวข้องอยู่ในเรื่องของกรุงเทพมหานคร ยกตัวอย่างสารแพ่งกรุงเทพใต้ สารอายากรุงเทพใต้ เห็นไหมครับว่ามีคำว่ากรุงเทพอยู่ หรืออย่างเช่นสารแพ่งธนบริสารอาญาธนบริ คำว่าธนบริก็เป็นเมืองหลวงเก่าของกรุงเทพ เห็นไหมครับว่าจุดเกาะเกี่ยวมันจะอยู่ในกรุงเทพ ทีนี้คอนเซปต์ของมาตรา 16 วัก 2 ให้น้องๆจำแค่ว่าสารแพ่งกับสารอาญามีเขตอำนาจยังไง ยกเว้นท้องที่อะไรบ้างแค่นี้พอส่วนอื่นไม่ต้องไปจำมันนะครับเพราะส่วนที่สำคัญและน่าจะออกสอบอีกเนี่ยก็คือมาตรา 16 วัก 3 มาตรา 16 วัก 3 บอกว่า กรที่ยื่นคดีฟ้องต่อสารแพ่งหรือสารอาญา แต่คดีไม่ได้เกิดในสารแพ่งและสารอาญาจะทำยังไง 16 วัก 3 บอกว่า ให้สารแพ่งหรือสารอาญามีทางเลือก 2 ทาง 1. ใช้ดุลพินิษฐ์ยอมรับคดีไว้พิจารณาเอง 2. มีคำสั่งโอนคดีไปยังสารอื่น มีทางเลือก 2 ทาง ทีนี้สิ่งที่น้องๆจะต้อง ต้องทำความเข้าใจต่อมาคำว่า นอกเขตสารแพร่งดิสารอาญาเป็นยังไง นอกเขตสารแพร่งดิสารอาญา ก็คือสารยุทธรรมอื่นนั่น แต่ที่นี้ในมาตรา 16 วัก 3 ให้น้องสนใจอยู่แค่ 2 สาร คือสารแขวงกับสารจังหวัด และมีเทคนิคการจำ อย่างนี้ว่า 16 วัก 3 ห้ามมีสารแขวง ถามว่าทำไมห้ามมีสารแขวงในเรื่องของการโอนคดีตามมาตรา 16 วัก 3 เพราะว่าเรื่องของสารแขวงเนี่ย จะไปอยู่ในมาตรา 19 ทับ 1 ดังนั้นมาตรา 16 วัก 3 ห้ามมีสารขวายข้างโดยเด็ดขาด โอเคนะครับ ทีนี้คอนเซปต์ของมาตรา 16 วัก 3 ให้น้อง เข้าใจตามลำดับอย่างนี้ ถ้าในกรณีที่สารแพ่งหรือสารอาญา ใช้ดูลพินิษยอมรับคดีไว้พิจารณาแล้ว ก็จะมีคำสั่งโอนคดีไปยังสารอื่นไม่ได้ แต่ถ้ายังไม่ได้ใช้ดูลพินิษยอมรับคดีไว้ ยอมรับคดีไว้พิจารณา ก่อนดีแบบนี้ สารแพ่งหรือสารรัยา ก็สามารถดีคำสั่งโอนคดีไปยังสารยุติธรรมอื่นได้ คอนเซ็ปตรงนี้ต้องแม่นก่อน หลักการตรงนี้ต้องแม่นก่อน เมื่อแม่นตรงนี้แล้ว ให้น้อง ดูต่อไป สิ่งต่อมาที่น้อง ต้องทำความเข้าใจ คือเรื่องของสารยุติธรรมอื่นที่มีเขตอำนาจ ในที่นี้ ในมาตรา 16 วักษร มันคือเกี่ยวกับสารอะไร ก็สารทั่วไปครับ สารชำนาญพิเศษก็ได้ สารเยาวชน สารครอบครัว สารลดมาลาย สารภาษีอากร แต่สารที่สำคัญในมาตรา 16 วัก 3 ซึ่งอยู่ในเรื่องของสารยุติธรรมอื่นที่มีเขตอำนาจคือเรื่องของสารจังหวัด พี่ย้ำหลายรอบแล้วว่า พระธรรมนุษย์สารยุติธรรมชอบออกข้อสอบในส่วนของสารจังหวัดกับสารแขวงเป็นหลัก ดังนั้นในเรื่องมาตรา 16 วัก 3 ที่ 5 มีสารแขวงมันมีสารจังหวัดได้ จดลงไปในตัวบทก็ได้ครับ มาตรา 16 วัก 3 โดยเฉพ เป็นเรื่องของสารจังหวัด โอเคมั้ยครับ ทีนี้ในเรื่องของสารยุติธรรมอื่น ในตามมาตรา 16 วัก 3 พี่บอกแล้วใช่มั้ยครับว่า มันเป็นสารยุติธรรมไหนก็ได้ ดีการ์ 6488 ทับ 2560 ก็มายืนยันข้อเท่าจริง ที่พี่ได้พูดไปนะครับ เรื่องนี้ เป็นเรื่องที่โจทย์เขาฟ้องคดีต่อสารแพ่ง ปรากฏว่าต่อมามันมีคำนี้ใช้ของประธานสารดิการ์บอกว่า คดีนี้มันไม่ได้อยู่ในอำนาจของสารแพ่งนะ มันไปอยู่ในอำนาจของสารทรัพย์สินทางปัญญา ตัวดีการ์ก็เลยบอกว่า การที่สารแพ่งมีคำสั่งโอนสำนวนคดี ปัญญางสารทรัพย์สินทางปัญญา ถือเป็นการโอนคดีปัญญางสารยุติธรรมอื่นที่มีเขตน้ำนาจ ตามมาตรา 16 วัก 3 เห็นมั้ยครับ คอนเซ็ปต์ของมัน เรื่องของการโอนคดี โอนคดีปัญญางสารยุติธรรมอื่นที่มีเขตน้ำนาจ ไม่จำเป็นต้องเป็นสารจังหวัดก็ได้ เป็นสารยุติธรรมอื่นก็ได้ ห้ามอย่างเดียวคือห้ามโอนไปสารแขวง เพราะสารแขวงอยู่ในมาตรา 19 ทาง ก็ทับหนึ่งนะครับ ประเด็นต่อมาในมาตรา 16 วัก 3 ที่เราจะต้องทำความเข้าใจกันต่อนะครับ และเป็นส่วนสําคัญที่ข้อสอบชอบนํามาออก มาถามให้เรางงนะครับ คือกรณีที่ถือว่าสารเนี่ยใช้ดุลพินิษยอมรับคดีไว้พิจารณาคืออะไร ตัวอย่างตามพวอร์เฟ้อทพยกไว้ให้แล้ว เช่น มีคำสั่งประทับฟ้องคดี มีคำสั่งรับฟ้องคดี สืบพยานโจร รับคำให้การทำเลย ซึ่งไม่ว่าข้อสอบจะให้ข้อเด้นจริงยังไงมา ไม่ต้องสนใจมันครับ พี่มีเทคนิคในการทำความเข้าใจ เทคนิคการจำของพี่คือ สารต้องทำงานแล้ว สารต้องทำงานแล้ว การที่สารทำงานแล้ว ถือว่าสารใช้ดุลพินิษย์ยอมรับคดีไว้พิจารณาพิพธาศาสตร์ ทีนี้น้องๆก็ต้องทำความเข้าใจเพิ่มเติมอีกนิดนึงครับ ว่าการที่สารทำงานแล้วเนี่ย มันแบ่งเป็นคดีแพ่งกับคดีอาญา ในคดีแพ่งเนี่ย จะถือว่าสารทำงานแล้วต่อเมื่อสารมีคำสั่งรับฟ้องคดี ตามป.วิภอมาตรา 172 วัคท้าย แต่ในคดีอาญาที่จะถือว่า สารทำงานแล้วต่อเมื่อสารท่านมีคำสั่งประทับฟ้อง ตามป.วิอมาตรา 162 ทำไมสั่งไม่เหมือนกัน ง่าย ครับ ในคดีแพ่งไม่มีการไต่สวนบุญฟ้อง แต่ในคดีอาญามีการไต่สวนบุญฟ้อง จึงต้องมีคำสั่งประทับฟ้อง ทีนี้ต้องย้อนไปนิดนึงครับ การที่สารในคดีอาญามีคำสั่งประทับฟ้อง แล้วต่อมาจะต้องมีกระบวนการไต่สวนมูลฟ้อง ถ้าสมมุติว่าสารบอกว่า คดีไม่มีมูล สารก็จะมีคำสั่งไม่ประทับฟ้อง ก็แปลว่าสารยังไม่ทำงาน แต่ถ้าสารไต่สวนมูลฟ้องแล้ว ปรากฏว่าเป็นคดีมีมูล ต่อมาสารจะต้องมีคำสั่งประทับฟ้อง เมื่อสารมีคำสั่งประทับฟ้อง ถือว่าสารทำงานแล้ว อย่างงงเนอะ เทคนิคของพี่คือสารต้องทำงานแล้ว แค่มาแยกดูว่าคดีแพ่งสารทำงานตอนไหน คดีอาญาสารทำงานตอนไหน โอเคนะครับ ในมาตรา 16 นะครับ พี่ย้ำอีกทีนึง สิ่งที่มันน่าจะมาออกสอบคือมาตรา 16 วัก 3 วัก 1 วัก 2 ไม่ต้องสนใจมันครับ ไม่ต้องอ่านเสียเวลา ดูวัก 3 เป็นหลักนะครับ ทีนี้พี่ก็จะสรุปให้ฟังว่ามาตรา 16 วัก 3 เนี่ย เงื่อนแง่หลักเกณฑ์มันเป็นยังไงนะครับ อีกรอบดูตัวอย่างตามที่พี่ทำให้ เห็นคดีสีแดงๆมั้ยครับ คดีสีแดงๆเกิดขึ้นนอกเขตอำนาจของสารแพ่งหรือสารนาญา เมื่อคดีเกิดขึ้นนอกเขตสารแพ่งหรือสารนาญาทำยังไง มาตรา 16 วัก 3 มีให้ทางเลือก 2 ทาง คือ 1. ใช้ภูมิคณิตยอมรับคดีไว้พิจารณาซะเอง หรือ 2. มีคำสั่งโอนคดีไปยังสารอื่นซะ หลักเกณฑ์ เทรนด์ตรงนี้เพิ่มเติมอีกนิดนึง ถ้าเกิดสารใช้กลุ่มพินิษฐ์ยอมรับแล้ว มีคำสั่งโอนคดีไม่ได้ แต่ถ้ายังไม่ได้ใช้กลุ่มพินิษฐ์รับคดีไว้พิจารณา โอนคดีได้ จุดต่อมาที่ต้องทำความเข้าใจ คือกรณีสารมีคำสั่งโอนคดีไปยังสารยุทธรรมอื่น พี่บอกแล้วใช่ไหมครับว่า ในมาตรา 16 วัก 3 16 วัก 3 ห้ามมีสารแขวง ดังนั้นเรื่องของการโอนคดีตามมาตรา 16 วัก 3 ไม่มีเรื่องสารแขวง อย่าให้ข้อสอบหลอกเราได้ แต่ถามว่าโอนคดีไปยังสารจังหวัดได้ไหม ได้ เพราะสารจังหวัดถือว่าเป็นสารยุทธธรรมอื่นที่มีเขตอำนาจ จำไว้นะครับ เพราะเดี๋ยวเวลาเราไปทำความเข้าใจกับมาตรา 19 ทับ 1 เราจะเจอเรื่องสารขวัญอีก เราจะเจอเรื่องสารจังหวัดอีก นักที่นี้จำแค่ว่า 16 วักษามห้ามมีสารแขวง คอนเซ็ปต์มาตรา 16 วักษามีเท่านี้ ไม่ยาก ทีนี้เมื่อสรุปให้ฟังแล้ว สิ่งต่อมา น้องๆ ต้องมาทำประเด็นข้อสอบกัน ประเด็นข้อสอบในมาตรา 16 วักษรเคยออกแค่ครั้งเดียว ออกสมัยที่ 66 คำถามถามว่า โจทย์ฟ้องคดีละเมื่อต่อสารแพ่ง ให้จำเนยที่ 1 รับผิดในฐานะลูกจ้าง ให้จำเนยที่ 2 รับผิดในฐานะในจ้าง ต่อสารแพ่ง ทีนี้ต่อมาข้อที่จริงปรากฏว่า โจทย์เขาถอนฟ้องจำเนยที่ 2 ไป พอถอนฟ้องจำเนยที่ 2 ไปเนี่ย คดีเนี่ย มันเกิดขึ้นที่ภูมิดำเนาของจำเลยที่ 1 แปลว่าคดีมันก็ไม่ได้อยู่ในสารแพ่งแล้ว แต่บังเอิญว่าในคดีนั้นสารแพ่งเขานัดสืบพญาจำเลยที่ 1 ต่อไป พอสารแพ่งนัดสืบพญาจำเลยที่ 1 ต่อไป คำถามก็เลยถามว่าสารแพ่งจะมีคำสั่งโอนคดีไปยังศาจังหวัดนทบุรีได้ไหม มันคือเรื่องของมาตรา 16 วัก 3 เป็นกรณีที่ยื่นฟ้องต่อสารแพ่งหรือสารนาญา แต่คดีนั้นเกิดนอก ทีนี้เรามาดูตรงนี้ก่อน การที่โจทย์ถอนฟ้องจำนวนที่ 2 ผลของการถอนฟ้องจำนวนที่ 2 มันทำให้คดีไม่ได้อยู่ดำหน้าของสารแพ่ง เพราะว่าคดีเกิดที่ภูมิเลี่ยมเดา หรือว่ามูลคดีเกิดขึ้นที่สารจังหวัดนทบุรี มันก็เลยเป็นกรณีมาตรา 16 วัก 3 บังเอิญว่าในคดีนี้ สารแพ่งเข้านักสืบพยาน เมื่อสารแพ่งนักสืบพยาน นัดสืบพยานถามถามถามว่า ถือว่าสารแพงทำงานหรือยัง เทคนิคในการจําของพี่ จําได้ไหมฮะ สารแพงทำงานหรือยังครับ ในกรณีนี้ ที่สารแพงเข้าไปนัดสืบพยานต่อ คําตอบคือ ทําแล้ว ถูกต้องไหมฮะ ในคดีแพง ทํางานตั้งแต่เมื่อสารรับฟ้อง สืบพยาน มันเป็นกระบวนการหลังรับฟ้อง ว่าไหมฮะ รับฟ้องคดี ดังนั้นในกรณีนี้น่ะ ก็ถือว่าสารแพงเนี่ย ทํางานแล้ว เมื่อสารแพงทํางานแล้ว คอนเซ็ปต์เป็นยังไงฮะ จําได้ไหม เมื่อสารแพงใช้ การใช้กรุมพินิษฐ์รับคดีไว้พิจารณาแล้ว ก็มีคำสั่งโอนคดีไปยังสรรยะหวัดลงทันตราบรีไม่ได้ กลับกัน ถ้ายังไม่ได้มีการใช้กรุมพินิษฐ์รับคดีไว้พิจารณาแบบนี้สามารถโอนคดีได้ แต่ถ้ารับคดีไว้พิจารณาแล้ว โอนคดีไม่ได้แล้ว ทีนี้เรามาดูทงคำตอบกัน ทงคำตอบบอกว่า แม้ผลของการถอนฟ้องจำเลยที่ 2 ซึ่งมีภูมินิศรับมาอยู่ใน 3 แพ่ง จะทำให้คดีมากขึ้นมากขึ้นมากขึ้นมาก มันเกิดนอกสารแพ่งแล้วนะ แต่การที่สารแพ่งนัดสืบพญาจำนวยที่หนึ่งต่อไปนะครับ กรีย์แบบเนี้ยถือว่าสารแพ่งใช้ดุลพินิษฐ์ ยอมรับคดีไว้พิจารณาพิพากษาแล้วนะครับ ดังนั้นสารแพ่งก็เลยมีคําสั่งโอมคดีพยามสารชมัดมนต์ทับตุรีไม่ได้นะครับ ตามมาตราสิบออกวักสามนะครับ ดีกาที่สองสี่ศูนย์ถาม ทับสองห้าสองสามนะครับ จดลงไปในประมวลก็ได้นะครับ นะครับ ลองจดดู มาตรา 16 วัก 3 คำถามที่เคยออกข้อสอบ เรามานั่งวิเคราะห์กันดีกว่า มาตรา 16 วัก 3 จะออกสอบอะไรได้บ้าง จุดแรกเลยคือกรณีที่ทำให้คดีเกิดนอกเกียรติสารแพ่ง หรือสารอาญา ข้อสอบเคยออกมาแล้วใช่ไหมครับว่าการถอนฟ้อง ผลของการถอนฟ้องในกรณีคดีที่มีจำนวย 2 คน มันทำให้คดีไม่อยู่ในอาณาของสารแพ่ง อันนี้ก็ได้ออกสอบไปแล้วซึ่งก็คงไม่ออกสอบแบบนี้อีกนะครับ จุดต่อมา กรณีที่สารใช้ดุลพินิษฐ์ ยอมรับคดีไว้พิจารณาภิกษาศาสตร์แล้ว คืออะไร สืบพยาน รับในคดีแพ่งคือรับฟ้อง ในคดีอาญาคือมีคำสั่งประทับฟ้อง อะไรก็ไม่รู้ ให้น้องจำหนักแค่ว่า สารต้องทำงานแล้ว คดีอาญา สารเริ่มต้นทำงานตอนไหน พี่บอกแล้ว คดีแพ่ง สารเริ่มต้นทำงานตอนไหน พี่บอกแล้ว จุดต่อมาที่สามารถออกข้อสอบในเรื่องของมาตรา 16 ว่า ก็คือเรื่องสารยังไม่ได้ใช้ดูพนิษยอมรับพฤติไว้พิจารณา ทีนี้ถามว่าอะไรบ้างล่ะ เราลองมาเก็งประเด็นข้อสอบกันดู กรณีที่สารใช้ดูพนิษยอมรับพฤติไว้พิจารณา ที่ยังไม่เคยออกสอบ ซึ่งพิคัตมาให้จากคำบรรยายแล้ว น้องๆไม่ต้องไปเสียเวลาอ่าน อยู่สารแพทย์มีคำสั่งรับฟ้องคดี รับคำให้การจำเลยตลอดจนสืบพญานเสร็จ ข้อเท็จจริงแบบนี้ยังไม่ถูกนำมาแต่งเป็นข้อสอบ จดลงในประมวลนะครับ จะได้ไม่เสียเวลา ไม่ต้องไปอ่านหลายหลายรอบนะครับ จุดต่อมาที่พี่จะเก็งข้อสอบให้นะครับ คือ กรณิทธิสารได้ใช้ ยังไม่ได้ใช้ดุลพินิษยอมรับคดีไว้พิจารณา ที่ยังไม่เคยออกสอบเลย และอันนี้น่าสนใจนะครับ คือกรณิทธิสารนายาสั่งในคําฟ้องของจดว่า นัดไต่สวนให้จดนําส่งหมายนัดนะครับ แล้วต่อ มาสั่งงดไต่สวนมูลฟ้อง และมีคำสั่งไม่ปรัชธฟ้อง จำได้ไหม พี่บอกแล้วว่า คดียายาเนี่ย สารเริ่มต้นทำงานต่อเมื่อ เมื่ออะไรฮะ เมื่อสารมีคำสั่งปรัชฟ้อง แต่ในข้อที่จริงที่พี่ยกตัวอย่างให้เนี่ยนะครับ สารเขาสั่งงดไต่ส่วนมือฟ้องแล้วต่อมามีคําสั่งไม่ประทับฟ้อง ไม่ประทับฟ้องสารทํางานหรือยังครับ ยังไม่ได้ทํางาน ใช่ไหมฮะ เพราะจะทํางานต่อเมื่อมีคําสั่งประทับฟ้อง โอเคไหมครับ ในกรณีนี้เนี่ยนะครับ มีคัมภิพากษาดีการ์ด้วยนะครับ มาลองมาดูกันนะครับ คัมภิพากษาดีการ์ที่ 2038 ทับ 2523 นะครับ ลองมาดูกันนะครับ ดิการ์บอกว่า การที่สารอาญาสั่งในคำฟ้องของจดว่า นัดไต่สวดให้จดนำส่งหมาย ดิการ์บอกว่ายังไม่ถือว่าสารอาญาใช้ดูพินิษฐ์ยอมรับคดีของจดไว้พิจารณาแล้ว เมื่อสารอาญาสั่งงดไต่สวดมูลฟ้องและมีคำสั่งไม่ประทับฟ้องของจดไว้ย่อมทำได้ แต่ในกรณีที่สารสั่งประทับฟ้องแล้วกรณีแบบนี้ถือว่าสารอาญา ใช้ดูมพินิษยอมรับคดีไว้พิจารณาแล้วนะครับ โอนมีคำสั่งโอนคดีไม่ได้ นะครับ นี่คือดีการประชุมใหญ่นะครับ ดีการนี้สําคัญนะครับ ยังไม่เคยออกสอบด้วยนะครับ ในมาตราสิบหกวักสามเนี่ยนะครับ พี่ได้อธิบายรายละเอียดในแต่ละวักมาแล้ว วักที่สําคัญก็คือสิบหกวักสาม พี่ก็อยากให้น้องน้องมาดูเรื่องของการเขียนตอบอีกสักนิดหนึ่งนะครับ หลักการณ์การเขียนตอบเหมือนเดิมครับ ที่พี่เคยพูดในคลิปวีดีโอที่แล้วนะครับ แต่ในจุดนี้เนี่ยพี่อยากจะย้ําไปที่ ที่ภาษาเขียนของมาตรา 16 วัก 3 มาตรา 16 วัก 3 คำที่น้อง ต้องท่องให้ได้ เพื่อนำไปใช้ในการเขียนตอบเพราะสอบ คือคำว่า สารใช้ดุลพินิษฐ์ ยอมรับคดีไว้พิจารณาพิพากษา คำนี้สำคัญ ต้องท่องให้ได้ และนำไปใช้เขียนตั้งแต่นตอบเพราะสอบ ต่อมา มาตรา 19 ทับ 1 มาตรา 19 ทับ 1 เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร ที่เกิดขึ้นและอยู่ในอันดังของสารแขวง แต่ยื่นฟ้องต่อสารอื่น ทีนี้ถ้าน้องไปเปิดดูตกบทมาตรา 19 ทับ 1 น้องๆจะเจอสารเยอะมาก แต่ถ้าเป็นวิธีพี่ พี่จะทำความเข้าใจกับน้องๆแบบนี้ ว่าสาร ลายชื่อสารที่อยู่ในมาตรา 19 ทับ 1 มันมีทั้งหมดอยู่ 13 สาร ถามว่า 13 สารนี้มาจากไหน 12 สารแรก มันก็มาจาก หรือ 16 วัก 2 รายชื่อสารที่อยู่ในกรุงเทพฯ ทีนี้ในการสรุปมาตรา 19 ทับ 1 พี่จะใช้ตัวย่อว่าเป็น 12 สารบวกสารจังหวัด แต่เน้นให้น้องๆ นึกถึงสารจังหวัดไว้ เพราะชอบข้อสอบ ชอบออกเรื่องสารจังหวัด ทีนี้เรามาดูกันก่อนว่ามาตรา 19 ทับ 1 สารสำคัญในแต่ละวักคืออะไร มาตรา 19 ทรัพย์ 1 มีอยู่ 2 วัก วักแรก สารสำคัญเขาบอกว่า คดีที่เกิดขึ้นในเขตของสารแขวง และอยู่ในอำนาจของสารแขวง ถ้ายื่นฟ้องต่อ 12 สารบวกสารจังหวัด ให้ 12 สารบวกสารจังหวัด 1. ใช้ดูดพิธีกรยอมรับคดีวัตติจนา 2. มีคำสั่งโอนคดีไปยังสารแขวงที่มีเขตอำนาจ หลักการวิธีการแก้ปัญหาตรงนี้คล้ายๆกับมาตรา 16 วัก 3 ถ้าเป็นกรณี 16 วัก 3 มีคำสั่งโอนคดีไปยังสารยุทธิธรรมอื่นที่มีเขตอำนาจ แต่พอมาเป็น 19 ทับ 1 วัก 1 จะมีคำสั่งโอนคดีไปยังสารแขวงที่มีเขตอำนาจ ยังจำได้ไหมครับ พี่บอกว่ามาตรา 16 วัก 3 ห้ามมีสารแขวง เพราะอะไร นี่แหละครับเหตุผล เพราะเรื่องของสารแขวง เรื่องของการโอนคดีไปสารแขวง มันถูกบรรจักษ์ไว้โดยเฉพาะแล้วในมาตรา 19 ทับ 1 ดังนั้นในมาตรา 16 วัก 3 จึงไม่มีเรื่องสารแขวง สารแขวงอยู่ที่ 19 ทับ 1 ถามว่าแล้วมาตรา 19 ทับ 1 สารสำคัญมีอะไรอีก เขาก็บอกว่าในกรณีที่เกิดขึ้นแบบนี้แล้ว ในกรณีที่เกิดขึ้น คดีอยู่ในลำด้าของสารแขวง เกิดขึ้นในสารแขวง หาก 12 สารบวกสารจังหวัดรับฟ้องคดีไว้ ก็ให้พิจารณาพิธาศาสตร์คดีต่อไป หลักเกณฑ์กันคล้าย กับ 16 วัก 3 เลย ทีนี้น้องๆอ่ะต้องทำความเข้าใจเพิ่มเติมนิดนึงนะครับว่าคดีที่อยู่ในอันด้านของสรรแขวงนะครับเกิดขึ้นและอยู่ในอันด้านของสรรแขวงมันมีคดีอะไรบ้าง ง่ายๆครับคดี แท่งก็ทุนทรัพย์ไม่เกิน 300,000 บาท คดีอาญาก็โทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือลงโทษจำคุกจริง ไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท คดีพวกนี้ครับ อยู่ในอำนาจของสารแขวง ถามว่า ต้องท่องไหม ก็ต้องท่องนะครับ แต่ถามว่าถ้าข้อสอบออกมาตรา 19 ทับ 1 มา เขาจะให้ข้อเท็จจริงพวกนี้มาครับ ว่ามีอัตราโทษเท่าไหร่ยังไง และให้เราวินิจฉันแค่ว่ามันโอนไปสาร โอนคดีไปสารแขวงได้ไหม แค่นั้นไม่ต้องกังวลนะครับ Concept มาตรา 19 ทับ 1 เหมือนเดิมครับ เหมือนกับ 16 วัก 3 เลย คือถ้าเป็นกรณีที่สารใช้ดูลพินิษฐ์ยอมรับคดีไว้พิจารณาแล้วเนี่ยนะครับ สารจะมีคำสั่งโอนคดีไปยังสารแขวงอื่นไม่ได้นะครับ ไม่ได้ แต่ ในทางกลับกันตาม Power Point ถ้าเกิดว่า 12 สาร บวกสารยังหวัด สารไหนไม่รู้แหละ 1 ใน 13 สาร ยังไม่ได้ใช้ลูมินิตยอมรับคดีไว้พิจารณา กรณีแบบนี้สามารถมีคำสั่งโอนคดีไปให้สารแขวงได้ Concept เหมือนกับมาตรา 16 วัก 3 ต่างกันเรื่องแค่ชื่อสาร โอเคไหมครับ ทีนี้พี่อยากจะย้ำอีกนิดนึงนะครับ เรื่องของกรณียื่นฟ้องต่อสารแพงหรือสารอาญา แต่คดีเกิดขึ้นในเขตของสารจังหวัดหรือสารแขวงแยกยังไง เพราะว่าถ้าเกิดข้อสอบถามเรื่องของการโอนคดี มันต้องโอนคดีไม่สารแขวงก็สารจังหวัด ทีนี้พอถ้าโอนมาสารแขวงหรือสารจังหวัด สารแขวงใช้มาตราอะไร สารจังหวัดใช้มาตราอะไร ให้แยกแบบนี้ กลับไปที่เทคนิคการจำของพี่ มาตรา มาตรา 16 วัก 3 พี่บอกว่าไงครับ 16 วัก 3 ห้ามมีสารแขวง แสดงว่าอะไรครับ แสดงว่า 16 วัก 3 มีสารจังหวัดได้ ถูกต้องไหมครับ ดังนั้นเนี่ย ถ้าเกิดข้อสอบออกเรื่องของการโอนคดีนะครับ ถ้าโอนมายังสารจังหวัดก็เป็นเรื่องของ 16 วัก 3 แต่ถ้าโอนคดีของสารแขวงจะเป็นเรื่องของ 19 ทับ 1 จุดตัดคือสารแขวง สารแขวงไปโผล่ที่มาตรา 16 วัก 3 ไม่ได้นะครับ ไปโผล่ที่มาตรา 16 วัก 3 ได้ งงไหมครับ ไม่งงเนาะ ไม่ยากนะครับ ข้อนี้ ที่หลักเกณฑ์ในมาตรา 19 ทับ 1 ก็เหมือนเดิมครับ เหมือนกับ 16 วัก 3 คือกรณีที่ ใช้รุนพิษยอมรับคดีไว้พิจารณา คืออะไร ตามตัวอย่างนะครับ ตาม Power Point พี่ก็หามาให้แล้วนะครับ มีคำสัมปรัฐฟ้องคดี รับฟ้องแย้ง สารสั่งให้โจทย์ เสียค่าขึ้นสารเพิ่มเติม เทคนิคการจำเหมือนเดิมครับ สารทำงานได้ยัง ถ้าสารทำงานแล้วก็ถือว่าสารใช้ดุลพินิษฐ์รับคดีไว้พิจารณาแล้ว แต่ถ้าสารยังไม่ได้ใช้ดุลพินิษฐ์ไว้พิจารณา ก็มีคำสั่งโอนคดีได้ไหมครับ กรณีที่ดูลใช้ดูลพินิษยอมรับคดีไปพิจารณาแล้วมีคำสั่งประทับฟ้องได้ กรณีที่มีคำสั่งประทับฟ้องคดี มีคำสั่งประทับฟ้องคดี นัดชี้สองสถาน ถ้าใช้ดูลพินิษยอมรับไปแล้วนี่คือกรณีตัวอย่าง เทคนิคการจำคือสารต้องทำงานแล้ว ทีนี้ปัญหามันก็เกิดขึ้นอีกครับว่า 19 ทับ 1 เป็นเรื่องของการที่ 12 สารบวกสารจังหวัด โอนคดีไปยังสารแขวงได้ไหม คำถามกลับกันครับ แล้วสารแขวงล่ะ โอนคดีริยองสารจังหวัดได้ไหม งงไหมครับ คำตอบอยู่ในคำพิพากษาดีการที่ 993-2527 เรื่องนี้ โจทย์ฟ้องจำเลยต่อสารแขวง ฐานขับรถจนโดนประมาณ เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส ซึ่งมันอยู่ในอำนาจของสารแขวง แต่ข้อที่จริงปรากฏว่า ระหว่างการพิจารณาปรากฏว่า พอตายก็เลยต้องมีการแก้ไขเรื่องคำฟ้องตามป.วิ.อ.มาตร. 163 ทีนี้ในเรื่องนี้สารเขาบอกเลยว่าพอแก้แล้วพอแก้คำฟ้องแล้ว การพิจารณาคดีมันไม่ได้อยู่ในหน้าของสารแขวงแล้ว มันไปอยู่ในหน้าของสารจังหวัดแทน สารเขาบอกว่าเรื่องแบบนี้จะไม่อนุญาตให้แก้ฟ้องเพราะเหตุ เพราะเหตุแค่ว่าถ้าอนุญาตแล้วเนี่ย สารแขวงจะไม่มีอำนาจพิจารณาคดีไม่ได้ สรุปง่ายๆ คือ สารแขวงจะโอนคดีไปยังสารจังหวัดไม่ได้ มาตรา 19 ทับ 1 ไม่ได้อำนาจไว้ 19 ทับ 1 ให้อำนาจสารจังหวัดโอนคดีไปยังสารแขวงเท่านั้น อันนี้คือดีการที่ยืนยังข้อเท็จจริงที่ว่าสารแขวงไม่สามารถโอนคดีไปยังสารจังหวัดได้ ทีนี้ต่อมาคือเรื่องของ มาตรา 19 ทับ 1 วัก 2 มาตรา 19 ทับ 1 วัก 2 มันเป็นกรณีที่ ขณะยื่นฟ้องคดีอยู่ในอำนาจของสารจังหวัด หรือ 12 สารอยู่แล้ว ถามว่ามันมีพฤติการเปลี่ยนแปลงไป ทำให้คดีไม่ได้อยู่ในหน้าของสารจังหวัดและ มันไปอยู่ในหน้าของสารแขวงแทน ในกรณีที่มีพฤติการเปลี่ยนแปลงไปแบบนี้ พัฒนมนุลสารยุทธรรมก็ให้ 12 สารบวกสารจังหวัด พิจารณาพิภาพศาสตร์คดีต่อไป ไม่ต้องโอนคดีไปยังสารแขวง ต่างกันนะครับ 19 ทับ 1 วัก 1 กับวัก 2 ต่างกัน เดี๋ยวพี่ลองทวนให้ดูนะครับ 19 ทับ 1 วัก 1 เป็นเรื่องที่เกิดขึ้น และอยู่ในอำนาจของสารแขวง แต่ดันมาฟ้องต่อสารอื่น ก็คือ 12 สารบวกสารจังหวัด แต่มาตรา 19 ทับ 1 วัก 2 เป็นเรื่องที่ขณะยื่นฟ้องคดีมันจุด มันอยู่ในอำนาจของสารจังหวัดหรือ 12 สารอยู่แล้ว เพียงแต่มีพฤติการเปลี่ยนแปลงไป ทำให้คดีมันไปอยู่ในอำนาจของสารแขวง กรณีที่เกิดขึ้นแบบนี้ สารจังหวัดหรือ 12 สารที่พี่พูดมา มีอำนาจพิจารณาพิภาคสัตว์คดีต่อไปได้ ไม่ต้องโอนคดีไปให้สารแขวงเขา จุดสำคัญของมาตรา 19 ทับ 1 วัก 2 คือคำว่าพฤติการเปลี่ยนแปลงไป เป็นจุดที่น่าสนใจและน่านำออก พี่ย้ำเลย เพราะยังไม่เคยออกสอบด้วย ถามว่าพฤติการเปลี่ยนแปลงไปเป็นยังไง พี่ก็จะยกตัวอย่างให้ดู สองตัวอย่าง เป็นคดีแพ่งเรื่องหนึ่ง คดียายาเรื่องหนึ่ง เรามาดูฟ้องคดีแพ่งก่อน คดีแพ่งเป็นเรื่องที่โจทย์ฟ้องจำเลย ฟ้องขับไล่จำเลยออกจากที่ดิน ซึ่งการฟ้องขับไล่จำเลยออกจากที่ดิน มันเป็นคดีไม่มีทุนทรัพย์ โดยปกติแล้วคดีไม่มีทุนทรัพย์ มันจะอยู่ในอำนาจของสารจำเลย การฟ้องขับไล่จำเลยออกจากที่ดิน มันเป็นคดีไม่มีทุนทรัพย์ ก็ทำถูกต้องครับ ฟ้องขับไล่ที่สารจังหวัด แต่จําเนยเขาให้การต่อสู้ว่า ข้อพรองโดนปลอบปะ ก็เป็นเรื่องของการที่จําเนยเขาต่อสู้เรื่องกรรมสิทธิ์ มันก็เลยทําให้คดีไม่มีทุนทรัพย์เนี้ย กลายมาเป็นคดีมีทุนทรัพย์ ทีพอกลายมาเป็นคดีมาที่มีทุนทรัพย์เนี้ย ปรากฏว่าทุนทรัพย์ของคดีเนี้ยมันไม่เกินสามแสน พอทุนทรัพย์ไม่เกินสามแสน มันก็เลยอยู่อันในอํานาจของสารแขวง เห็นไหมครับ ก็อันนี้แบบเนี้ยแหละครับ ที่ถือว่า มีพฤติการเปลี่ยนแปลงไป ทำให้คดีที่เคยอยู่ในร่างร่างของสารจังหวัด กลับมาอยู่ในร่างร่างของสารแขวง งงไหมฮะ พฤติการเปลี่ยนไปมันคือแบบนี้ คำตอบก็คือ การดำเนินการต่อมาก็คือ สารจังหวัดก็ดำเนินการพินาศ พินาศ สารคดีต่อไปสิ ไม่ต้องโอนมาให้สารแขวงหรอก โอเคไหมครับ ซึ่งอัตราโทษของมาตรา 328 อยู่ในสารจังหวัด แต่พอต่อมาสารจังหวัดเขาไต่สวนมื้นฟ้อง ปรากฏว่ามันเป็นเรื่องของการหมินประมาทธรรมดาเอง ซึ่งการเป็นข้ออาหารหมินประมาทธรรมดาตาม 326 มันอยู่ในอำนาจของสารแขวง ข้อที่จริงแบบนี้ที่ถือว่ามีพฤติการเปลี่ยนแปลงไป ทำให้สารจังหวัดต้องพิจารณาภาพศาสตร์คดีต่อไป ไม่ต้องโอนกดีมมายังให้สารแขวงเขาวิจารณา โอเคมั้ยครับ ทีนี้ในมาตรา 19 ทับ 1 พี่ได้อธิบายสาระสำคัญในแต่ละวักไปแล้ว เราก็จะมาทวนกันอีกสักรอบนึง ดูนะครับมาตรา 19 ทับ 1 วักแรกเป็นเรื่องของอะไร มาตรา 19 ทับ 1 วักแรกเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นและอยู่ในอำนาจของสารแขวง ดูตาม Power Point คดีเกิดขึ้นและอยู่ในอำนาจของสารแขวง แต่มายื่นฟ้องต่อ 12 สารบวกสารจังหวัด จำแค่สารจังหวัด 12 สารแค่ทำเข้าใจเพิ่มเติม ทีนี้พอมายื่นฟ้องต่อสารจังหวัด ถามว่า 12 สารบวกสารจังหวัดทำยังไง คล้าย กับ 16 วัก 3 1. ใช้ดูลพินิษยอมรับคดีไว้พิจารณา ถ้าใช้ดูลพินิษยอมรับคดีไว้พิจารณาแล้ว โอนคดีได้ไหม โอนคดีไม่ได้ แต่ถ้าใช้ดูลพินิษยอมรับคดีไว้พิจารณา โดยคดีได้นะครับอันนี้เป็นเรื่องของ 19 ทับ 1 วัก 1 แต่พอมาเป็น 19 ทับ 1 วัก 2 นะครับเป็นเรื่องเกี่ยวกับกรณีที่ตอนฟ้องนะครับคดีอยู่ในอำนาจของสารจังหวัดหรือ 12 สารอยู่แล้วเพียงแต่มีพฤติการเปลี่ยนแปลงไปทำให้คดีกลับมาอยู่ในอำนาจของสารแขวงจำได้ไหมครับเช่นคดีแพ่งทุนทรัพย์ลดลงไม่เกิน 3 แสนบ สารไต่สวนมือฟ้องแล้วประทับฟ้องเฉพาะข้ออาหารที่อยู่ในลักษณะของสารแขวง กรณีแบบนี้ถือว่ามีพฤติการเปลี่ยนแปลงใบ เมื่อมีพฤติการเปลี่ยนแปลงใบทำยังไง คำตอบคือสารจังหวัดหรือ 12 สารสามารถ ดำเนินการพิจารณาคดีต่อไปได้ ไม่ต้องโอนคดีมายังสั่นแขวง โอเคไหมครับ จุดสําคัญของมาตรา 19 ทับ 1 วัก 2 คือเรื่องพฤติการเปลี่ยนแปลงไปนะครับ ใช้คําให้ถูกนะครับ คํานี้สําคัญ ไม่ต้องใช้คำอื่น ข้ออธิตจริงเปลี่ยนแปลงไป เหตุการณ์เปลี่ยนแปลงไป ไม่เอาคำนี้ เอาคำว่าพฤติการ พฤติการเปลี่ยนแปลงไป โอเคไหมครับ พี่ได้สรุปมาตรา 19 ทับ 1 ไปแล้ว เรามาลองดูประเด็นข้อสอบที่เคยออกข้อสอบกันในเรื่องนี้ ประเด็นข้อสอบสมัยที่ 68 บอกว่าโจทย์ฟ้องจำเลยต่อสารจังหวัดลำบัง เป็นคดีแพ่งที่เรียกค่าเสียงไหน 500,000 บาท ปรากฏว่าจำเลยฟ้องแย้งกลับมา พอจำเลยฟ้องแย้งกลับมา คุณทรัพย์ที่ฟ้องแย้งกลับมา มันไปอยู่ในอำนาจของสารแขวง เพราะว่า 1 แสนบาทเอง ไม่เกิน 3 แสนอยู่ในอำนาจของสารแขวง เขาถามว่าถ้าสารจังหวัดมีคำสั่น รับฟ้องแย้งของจำเลยตามที่พี่วงไว้ ถามว่าสารจังหวัดต่าง มีอำนาจวิจนาที่ราชาธิต่อไปไหม เราก็ต้องมาดูว่า สารจังหวัดลำปังมีคำสั่งรับฟ้องแย้ง ถือว่าสารได้ทำงานหรือยัง เพราะถ้าทำงานแล้วก็ถือว่าสารใช้ดุลพินิษยอมรับคดีไว้พิจารณา เขาได้จนิดนี้ทำงานหรือยัง ทำแล้ว รับฟ้องแล้วไง เมื่อรับฟ้องแล้ว ใช้ดุลพินิษยอมรับคดีไว้พิจารณาแล้ว โอนคดีไปยังสารศัลย์ความสุข แข็งได้ไหม ไม่ได้ ไม่ได้แล้ว สารจังหวัดต้องพิจารณาคดีต่อไป ดูทงคําตอบกัน เห็นไหมครับ แม้คําฟ้องแย้งของจำเนยจะมีทุนทรัพย์หนึ่งแสนบาท ซึ่งอยู่ในอําหน้าของสารแขวงก็ตาม แต่เมื่อสารจังหวัด ลําปางมีคําศัพท์รับฟ้องแย้ง รับฟ้องแย้งสารทํางานแล้ว ถือว่าสารจังหวัดลําปางได้ใช้ดุลพินิศยอมรับคําฟ้องแย้งของจําเนยไว้พิจารณา สารจังหวัดลําปางจึงมีอําหน้าพิจารณาพิภาพสารคดีต่อไป ต่อไปตามมาตรา 19 ทับ 1 วัก 1 เห็นมั้ยฮะ ไม่ยาก ทีนี้นะครับ จากมาตรา 19 ทับ 1 ข้อสอบ เราลองมาวิเคราะห์ข้อสอบกัน ว่ามันถามอะไรได้บ้างอีกมาตรา 19 ทับ 1 ถ้าจะออกอีกมันจะออกอะไรนะครับ คำตอบก็คือ จุดแรกก็เรื่องเดิมนะครับ เรื่องสารใช้ดูลพิษยอมรับคดีไว้พิจารณา กรณีไหนถือว่าใช้ดูลพิษยอมรับคดีไว้พิจารณา เทคนิคการจำคือต้องทำงานแล้ว ต้องทำงานแล้วแยกเอามาอีก 2 กรณีคือคดีแพ่งหรือคดียายา คดีแพ่งสารทำงานเมื่อสารรับฟ้องคดี แต่คดีอาญาสารทำงานเมื่อสารมีคำสั่งประทับฟ้อง จำได้ไหมครับ แต่จุดที่น่าออกข้อสอบมากที่สุดในมาตรา 19 ทับ 1 คือวักส่องเรื่องของพฤติการเปลี่ยนแปลงไป ประเด็นที่น่าจะออกสอบ พี่ได้หามาให้แล้ว คือกรณีที่ฟ้องคดีแพ่งต่อสารจังหวัด แต่ทุนทรัพย์มันลดลง แต่ลดลงแล้วมันไม่มี ไม่เกิน 3 แสนบาท เช่น คดีฟ้องขับไล่ แล้วจำเลยให้การต่อสู้เรื่องกรรมสิทธิ์ กรณีข้อได้จริงแบบนี้ ที่ถือว่ามีพฤติการเปลี่ยนแปลงไป หรืออาจจะเป็นในคดีอาญา เช่น กรณีที่ฟ้องคดีอาญาต่อสารจังหวัด แต่สารจังหวัดเขาไต่สวนมูลฟ้อง แล้วปรากฏว่ามีคำสั่งประทับฟ้องเฉพาะข้อหาที่อยู่ในอำนาจของสารแขวงเท่านั้น ตอนยื่นฟ้อง ยื่นฟ้องต่อสารจังหวัด แต่พอประทับฟ้อง ปรากฏว่าข้อหาที่อยู่ในอันหน้าของสารจังหวัดไม่ประทับ ประทับในข้อหาที่อยู่ในอันหน้าของสารแขวง ถามว่ากรณีแบบนี้ทำคืออะไร มันก็คือกรณีที่มีพฤติการเปลี่ยนแปลงไป ทำยังไง ก็สารจังหวัด ก็ดำเนินการพินาศกรรมสถาดีต่อไป ไม่ยาก ประเด็นนี้น่าสนใจ มีดีการ์ด้วย ดีการ์ที่ 2817 ทับ 2556 ลองมาดูความจริงในดีการ์กัน คร่าวๆ เขาบอกว่าโจทย์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามบ้าตา 1373 263 28 ซึ่งความผิดตามบ้าตา 328 อยู่ในอำนาจของศาลจังหวัด แต่ต่อมาสถานจังหวัดแต่ฝวนมุมฟ้องแล้วประทับฟ้องเฉพาะความผิดตามมาตรา 1361 37 326 328 ซึ่งอยู่ในอำนาจของสถานจังหวัดไม่ประทับฟ้อง นี่ไงฮะ พฤติการเปลี่ยนแปลงไป ทําให้คดีอยู่ในอําหน้าของสารแขวง เห็นไหมฮะ พออยู่ในอําหน้าของสารแขวงเนี่ย ในดิการนี้เนี่ย เขาก็บอกต่อว่า เฮ้ย ถ้าเกิดกรณีแบบนี้เกิดขึ้นเนี่ย สารจังหวัดก็ยังคงมีอําหน้าพิจารณาพิทธภาพสาขดี ถ้าตอบไปนะ หาไช่เป็นว่าอำนาจพิจารณาเก้าสาหรัฐอยู่ในอำนาจของสารแขวง การที่สารจังหวัดมีคำสั่งโอนคดีตไปยังสารแขวงจึงไม่ชอบ เพราะสารจังหวัดมีอำนาจอยู่แล้ว ไม่จำเป็นต้องโอน เพราะมีพฤติการเปลี่ยนแปลงไป โอเค ก็ในมาตรา 19 ทับ 1 เนี่ย ก็จบแล้วครับ หลักการในการเขียนตอบข้อสอบมาตรา 19 ก็พูดซ้ำๆเหมือนเดิมนะครับว่าจะต้องมีข้อเท็จจริงนะครับ หลักกฎหมาย ฟันโทงคำตอบ แล้วก็ตอบให้ครบประเด็น ในส่วนของหลักกฎหมาย พี่ก็พยายามเน้นยำเสมอครับว่าการเขียนตอบข้อสอบเนี่ย วิธีเขียนให้ใช้ภาษาของตัวบทมาตรนะครับ อย่างเช่นในมาตร 19 ทับ 1 วัก 2 เนี่ย คำที่น้องๆต้องเขียนให้ได้คือคำว่าพฤติการเปลี่ยนแปลงไป ห้ามไปเขียนอย่างอื่นนะครับ คะแนนไม่ขึ้น โอเคไหมครับ ทีนี้ ในวันนี้เนี่ย ก็จบนะครับ วันนี้พี่ได้ติวสรุป เรื่องของมาตราสิบหกวักสาม นะครับ กับมาตราสิบเก้าทับหนึ่ง ซึ่งเป็นเรื่องของการโอนคดี โอนไปสารไหนอย่างไร โอนไปสารไหนได้บ้าง ไม่ได้บ้าง พี่ได้พูดถึง อ่า ข้อกฎหมาย สาระสําคัญไว้ให้น้องน้องแล้วนะครับ น้องก็ลองกลับไปทบทวนดูอีกรอบหนึ่ง นะครับ วันนี้พี่ก็ขอจบการสรุปเป็นเท่านี้นะครับ สวัสดีครับ โอเค