Transcript for:
ความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้า

ปัจจุบันไฟฟ้ามีความจําเป็นต่อชีวิตประจําวันมาก ซึ่งไม่มีใครปฏิเสธถึงความสะดวกสบายที่ได้รับจากการใช้ไฟฟ้า รวมถึงงานอุตสาหกรรมและธุรกิจ ต้องใช้ไฟฟ้าเป็นปัจจัยสำคัญ ไฟฟ้ามีประโยชน์มากมายก็จริง แต่ในเวลาเดียวกัน ก็มีอันตรายอยู่ในตัวของมันเอง ถ้ารู้จักใช้ ก็จะได้ประโยชน์มหาศาล ถ้าใช้ผิดวิธี ก็อาจจะได้รับอันตรายถึงชีวิต จึงควรเข้าใจและรู้พื้นฐาน ทางด้านความปลอดภัยในการใช้ไว้บ้าง เพราะความประมาทหรือเพิ่มเฉยต่อสิ่งที่เกิดขึ้นเพียงเล็กน้อย ก็อาจนำมาสู่ความหายนะและการสูญเสียต่างๆ ดังนั้น ความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้า จึงเป็นเรื่องที่จำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องได้รับความใส่ใจ ไฟฟ้าให้โทษแก่มนุษย์ สามารถแบ่งออกได้เป็น 1. อันตรายแก่ชีวิต อาจเป็นอันตรายถึงเสียชีวิตได้ ถ้าหากว่ากระแสไฟฟ้านั้นได้ไหลผ่าน อวัยวะที่สำคัญๆ เช่น หัวใจ อันตรายต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับร่างกายมีอาการ 4 อย่างคือ 1.1 กล้ามเนื้อแขนตัว 1.2 หัวใจเต้นเร็วกว่าปกติและหยุดทำงาน 1.3 เซลล์ภายในร่างกายถูกทำลาย 1.4 ระบบประสาทฉะนัด 2. อันตรายต่อทรัพย์สิน เป็นสาเหตุของการเกิดเผลิงไหม้และระเบิด ทำให้ทรัพย์สินเสียหายปีและมากๆ เนื่องจากความประหมากหรือความรู้เท่าไม่ถึงการ ความปลอดภัยในปฏิบัติงานไฟฟ้า 1. ก่อนปฏิบัติงานต้องตรวจดูซิก่อนว่า เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ในงานไฟฟ้า ชำรุดแตกหักหรือเปล่า 2. ก่อนปฏิบัติงานเช่น การต่อสายไฟ ควรยกสะพานไฟ คัทเอาท์ ออกซิก่อน 3. ขณะทำงาน ไม่ควรหยอกล้อกันเป็นอันขาด 4. ไม่ควรเสี่ยงอันตรายเมื่อไม่มีความแน่ใจ 5. ขณะทำงาน มือเท้าต้องแห้งหรือสวมรองเท้า ก่อนปฏิบัติงาน ควรจะเขียนวงจรดูซะก่อน เพื่อความไม่ประมาท 7. เมื่อเสร็จงาน ก่อนจ่ายกระแสไฟฟ้า ควรตรวจสอบวงจรไฟฟ้าให้ละเอียด และถูกต้องซะก่อน 8. เมื่อจะจ่ายกระแสไฟฟ้า ต้องดูให้แน่ใจว่าไม่มีใครปฏิบัติงานไฟฟ้าอยู่ 9. ไม่ควรนำฟิลที่โตกว่าขนาดที่ใช้ หรือวัสดุอื่นๆ เช่น รวดทองแดงแทนฟิล 10. รอยต่อสายไฟฟ้า ต้องใช้ผ้าเทปพันสายให้เรียบร้อยซะก่อน 11. ต่อวงจรให้เสร็จซะก่อน จึงนำปลายสายทั้งคู่เข้าแผงสวิตซ์ 12. สายเครื่องมือไฟฟ้า ต้องใช้ชนิดหุ้มฉนวน 2 ชั้น ถ้าขาด ต้องเปลี่ยนใหม่ทั้งเส้น ข้อระวัง เกี่ยวกับการใช้ไฟฟ้า 1. อุปกรณ์ไฟฟ้าที่แตกชำรุดควรซ่อมแซมหรือเปลี่ยนให้เรียบร้อย 2. อย่าใช้ข้อต่อแยกเสียบลักษณ์หลายทาง เป็นการใช้กระแสไฟเกินกำลัง อาจทำให้สายร้อนและเกิดเฟ่มไหม้ได้ 3. อย่าใช้วัสดุอื่นแทนฟิวซ หรือใช้ฟิวซเกินขนาด 4. อย่าปล่อยให้สายเครื่องไฟฟ้า เช่น พัดลม ลอดใต้เสือ หรือ พรม เกลือคุ่ม หรือ ฉนวน อาจแตก เกิดไฟช็อตได้ง่าย 5. อย่าเดินสายไฟชั่วคราวอย่างลูกลวก อาจเกิดอันตรายได้ 6. อย่าแก้ไฟฟ้าเองโดยไม่มีความรู้ 7. อย่าเดินสายไฟติดรัวสังขสีหรือเหล็ก โดยไม่ใช้วิธีร้อยในท่อ ไฟฟ้าอาจรั่วเป็นอันตรายได้ 8. อย่าปล่อยให้เครื่องใช้ไฟฟ้าเปียกน้ำ เพราะน้ำจะเป็นสะพานให้ไฟฟ้ารั่วไหลออกมาได้ 9. อย่าใช้เครื่องมือไฟฟ้าที่ไม่มีฉนวนหุ้มเป็นที่จับ เช่น ไขควม หัวแรง เครื่องวัดไฟฟ้า และอื่นๆ 10. อย่านำเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้กระแสตรง ไปใช้กับไฟกระแสสลัด ควรตรวจสอบให้ดีซะก่อน 11. สวิตช์และสะพานไฟ ทุกแห่ง ต้องปิดเปิดได้สะดวก 12. อย่ายืนบนพื้นคอนกรีตด้วยเท้าเปล่า ขณะปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า ควรใช้ผ้ายางหรือสวมใส่รองเท้า เราจะป้องกันอันตรายได้อย่างไร กระแสไฟฟ้าที่ไหลไปตามทางเดินไฟฟ้านั้น ถ้ามีทางไหลของกระแสมากกว่า 1 ทางแล้ว กระแสไฟฟ้าจะไหลไปในทางที่ ที่มีความต้านทานน้อยที่สุด ดังนั้น เพื่อให้ร่างกายมีความต้านทานมาก มีกระแสไฟฟ้าผ่านน้อย หรือไม่ไหลผ่านเลย จึงพอจําแน่วิธีป้องกันได้ดังนี้ หนึ่ง การต่อสายดิน เก้า เพื่อเป็นทางให้กระแสไฟฟ้า ที่อาจจะรั่วไหลออกมาจากอุปกรณ์ไฟฟ้าเหล่านั้น เนื่องจากฉนวนเสื่อมสภาพหรือฉี่ขาด ไหลลงสู่ดิน หรือผ่านทางสาย ดินที่ได้ต่อไว้ แทนที่จะหลายผ่านตัวผู้ใช้งาน หรือผู้ที่ไปสัมผัสอุปกรณ์เหล่านั้น 2. ควรมานตรวจสภาพฉนวนของสายไฟฟ้า หรือสายอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ เพื่อหารอยแตกปริก หรือฉีกขาด โดยเฉพาะอย่างยิ่งตรงคั่วต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น คั่วหลอน ปลั๊ก ถ้าพบว่ามีการชำรุด อย่าปล่อยทิ้งไว้ ควรรีบซ่อมแซมหรือเปลี่ยนทันที การใช้สวิตตัดวงจรอัตโนมัติ Earth Leaking Circuit Breaker เพื่อตัดวงจรไฟฟ้าทันที ที่มีกระแสไฟฟ้ารั่วไหลออกจากวงจร ซึ่งทำหน้าที่ตัดวงจรทันที ก่อนที่จะมีผู้ได้รับอันตรายจากกระแสไฟฟ้า วิธีช่วยเหลือผู้ถูกกระแสไฟฟ้าดูด ข้อควรระวังในขณะช่วยเหลือผู้ถูกกระแสไฟฟ้าดูดติดอยู่ อย่าใช้อวัยวะร่างกายของท่าน แต่ต้องร่างหรือเสื้อผ้าที่เปรียบชื้นของผู้ถูกไฟฟ้าดูดติดอยู่เป็นอันขาด มิฉะนั้น ท่านอาจดูดไปด้วย การช่วยเหลือให้ผลจากกระแสไฟฟ้า ให้เลือกใช้วิธีใดวิธีหนึ่งดังนี้ 1. ตัดกระแสไฟฟ้าโดยปลดสวิตช์ หรือคัทเอาท์ หรือเต้าเสียบออก 2. หากตัดกระแสไฟฟ้าไม่ได้ ให้ใช้ไม้แห้ง หรือวัสดุที่เป็นฉนวนไฟฟ้า เคลียร์สิ่งที่มีกระแสไฟฟ้าออกไปให้ผล 3. ให้ใช้ผ้า หรือเชือกแห้ง คล้องแขนขา หรือลากตัวผู้ถูกไฟฟ้าดูด ชักล่าออกไปให้พ้นสิ่งที่มีกระแสไฟฟ้า หากผู้ถูกไฟดูดสลบหมดสติ ให้ทำการปฐมพยาบาลให้ฟื้นต่อไป การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับอันตรายจากไฟฟ้า 1. ห่างหัวใจหยุดเต้น ให้เราตรวจโดยเอาหูฟังที่หน้าอก หรือจับชีพจร จากนั้นใช้วิธีนวดหัวใจภายนอก โดยเอามือกดตรงที่ตั้งหัวใจ ให้ยุบลงไป 3-4 เซติเมตร เป็นจังหวะ เท่าจังหวะการเต้นของหัวใจ ถ้าเป็นผู้ใหญ่ควรกดวิธีนวดหัวใจ วินาทีละหนึ่งครั้ง ถ้าเป็นเด็กเล็กควรกดวินาทีละสองครั้ง จากนั้นทําการนวดสิบถึงสิบห้าครั้ง แล้วหูแน่ฟังครั้งหนึ่ง หากไม่หายใจ ให้ใช้วิธีเป่าลมเข้าทางปาก หรือทางจมูกของผู้ป่วย แรงจนปอดผู้ป่วยขยายออก สังเกตได้จากซี่โครงและหน้าอกผ่องขึ้น และปล่อยให้ลมหายใจของผู้ป่วยออกเอง และเป่าอีกเป็นจังหวัด โดยผู้ใหญ่ให้เป่านาทีละสิบสองถึงสิบห้าครั้ง เด็กเล็กให้เป่านาทีละยี่สิบ 20-30 ครั้ง ถ้าผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้น และไม่หายใจด้วย ให้นวดหัวใจสลับกับการเป่าปาก ถ้ามีผู้ช่วยเหลือเพียงคนเดียว ก็ให้เป่าปาก 2 ครั้ง สลับกับการนวดหัวใจ 15 ครั้ง หรือถ้ามีผู้ช่วยเหลือ 2 คน ก็ให้นวดหัวใจสลับกับการเป่าปาก เป็นทํานองเดียวกัน การประสบความสุข 1 ครั้ง นวดหัวใจ 5 ครั้ง การประสบพยาบาลนี้ต้องรีบทําทันที หากช้าเกินกว่า 4-6 นาที โอกาสที่จะฟื้นมีน้อย ขณะพาส่งแพทย์ก็ควรทำการผสมพยาบาลไปด้วยตลอดเวลา เพื่อความปลอดภัย อาชีวะอนามัย และความผสมที่ยั่งอยู่ โดยสถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวะอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน องค์การมหาชน