Transcript for:
การบรรยายพื้นฐานการเงินและการลงทุน

สวัสดีครับ ผมอาจารย์โดงดีนะครับ เดี๋ยววันนี้ผมจะมาแนะนํานะครับว่า ก่อนที่เราจะต้องไปเรียนนะครับ คอร์สไอซีนะครับ ไอซีเพลนของเราเนี่ย เราควรจะต้องมีความรู้พื้นฐานอะไรบ้างนะครับ คราวนี้มันจะมีความรู้หลายหลายอย่าง ที่เราจะได้เข้าไปเรียนนะครับ มันจะมีเรื่องมากมายเลยให้เรา เพราะฉะนั้นการที่เรามาเรียนปูคื้นก่อนนะครับ มันทำให้เราสามารถไปในคลาสได้เร็วขึ้น วันนี้ผมจะโอ้วิวทุกอย่างเลยนะครับ มีทั้งหมด 3 โหมดนะครับ เดี๋ยวเรามาดูกันว่ามีอะไรบ้างนะครับ ในเรื่องแรกของเรา มาดูก่อนว่า ก่อนที่เราจะเข้าไปสอบก็ต้องรู้ก่อนว่า แล้ว Target ของเราจะเป็นไหนนะครับ ของเราเป็นยังไงนะครับ ของเราตอนนี้นะครับ คะแนนสอบของเรานะครับ ทั้งหมดเนี่ยมันจะมีอยู่หนึ่งร้อยข้อนะครับ หนึ่งร้อยข้อ ก็คือหนึ่งร้อยคะแนน การที่เราจะผ่านนะครับ เราจะต้องผ่านที่อย่างน้อยนะครับ เจ็ดสิบข้อนะครับ ต้องได้เจ็ดสิบคะแนนนะครับ เพราะฉะนั้นหนึ่งร้อยข้อ หนึ่งต้องได้เจ็ดสิบนะครับ คราวนี้ที่เราจะต้องเรียนทั้งหมดเนี่ย มันมีทั้งหมดสามเรื่อง สามหมวดใหญ่ใหญ่นะครับ หมวดที่หนึ่งจะเป็นหมวดพื้นฐานนะครับ หมวดที่สอง จะเป็นเรื่องจัญญบัน หมวดที่สามนะครับ จะเป็นเรื่องของ Product ลายตัวนะครับ คราวนี้หมวดที่สองเนี่ย จัญญบันเขาให้ความสําคัญนะครับ ว่าถ้าเกิดคุณจะไปขายของ คุณต้องเป็นคนที่มีจัญญบันที่ดี เพราะฉะนั้นจัญญบันเนี่ย มันมีอยู่ประมาณยี่สิบ มันมีอยู่ยี่สิบข้อนะครับ ยี่สิบข้อเนี่ย คุณต้องผ่านสิบสี่ข้อนะครับ หรือเจ็ดสิบเปอร์เซ็นต์อย่างน้อยนะครับ เพราะฉะนั้นหมวดที่สองนะครับ ถ้าคุณไม่ได้สิบสี่ข้อนะครับ ต่อให้คะแนนรวมของคุณเนี่ย ไปได้ถึงแปดสิบนะครับ คุณก็ตกข้อสอบ IC Plane อยู่ดีนะครับ เพราะฉะนั้นหมวดที่สอง เป็นหมวดที่สำคัญหมวดหนึ่งนะครับ จัญญาบันของเรานะ แต่แน่นอนครับ Overall ทั้งหมดเราต้องได้ 70 ข้ออย่างน้อยนะครับ ตอนนี้เรามาดูกันนะครับว่าในแต่ละหมวดมีอะไรบ้างนะครับ หมวดที่หนึ่งความรู้พื้นฐานของเรานะครับ มีทั้งหมด 30 ข้อนะครับ 30% ของแน่นอนนั่นเองนะ จะเป็นเรื่องทุนฐานทั้งหมดเลยนะครับว่า เราจะลงทุนเนี่ยมีอะไรบ้าง การคิดคำนวณผลตอบแทน ความเสี่ยงต่างๆ การวิเคราะห์ ภาพรวมของอุตสาหกรรมเศรษฐกิจและบริษัท เพื่อเอาไปใช้ในการตัดสินใจในการลงทุน ทั้งหมดมี 30 ข้อ หนักๆจะไปเลือกคำนวณอยู่ประมาณ 2 บท บทที่ 3 บทที่ 4 วันนี้เราจะเลือกเป็นบางตัวมาสอน ให้เรารู้จักพื้นฐานการคำนวณเอาไว้ ต่อมาผมขอข้ามไปหมวดที่ 3 หมวดที่ 3 ตัวนี้จะเป็นหมวดที่คะแนนเยอะที่สุด ต้องหมด 50 คะแนนเลยครึ่งหนึ่งของข้อสอบ จะอยู่ที่หมวดที่ 3 ตรงนี้นะครับ แล้วก็เป็น เป็นหมวดที่ทําให้ทุกคนมีปัญหานะ ทุกคนอาจจะมีปัญหาทั้งหมดนี้พอสมควร คะแนนจะค่อนข้างน้อยนะครับ หมวดนี้จะบอกอะไรครับ หมวดนี้จะพูดถึงเรื่องโปรดักต์ทั้งหมดเลย ที่คุณจะต้องเรียนนะครับ ว่าคุณจะไปขายของเนี้ย ของที่คุณจะขายมันมีอะไรบ้าง ดูในชุดแรกนะครับ สี่บทแรกของเราจะเป็นเรื่องหุ้นนะครับ โปรดักต์ของเราแล้วจะเป็นหุ้นนะครับ แล้วก็สี่บทต่อมาจะเป็นเรื่องตราสารหนี้นะครับ หุ้นกู้ของเราตราสารหนี้ต่างต่างนะครับ จะเป็นสี่บทและสามบทสุดท้ายนะครับ จะเป็นเรื่องของกองทุนรวมนะ เพราะฉะนั้นเราจะมาเรียนรึกกันในหมวดที่ 3 ตรงนี้นะครับ ว่าแต่ละ Product นะครับ เขามีความเสี่ยงยังไง มีลักษณะเป็นยังไงนะครับ แล้วก็เวลาคิดที่จะซื้อจะขายจะต้องทำยังไงนะครับ ก็เดี๋ยวผมขอมาเริ่มหมวดที่ 1 ของเราก่อนเลยนะครับ หมวดที่ 1 และหมวดที่ 2 ของหมวดที่ 1 ของเราเนี่ย มันจะเป็นเรื่องของพื้นฐานตลาดการเงินนะครับ แล้วก็เรื่องตาร์สารทางการเงินแบบคร่าว เอาก่อนนะครับ คราวนี้ 2 หมวดนี้มันคะแนน ไม่ได้เยอะนะครับ บทที่หนึ่งกับบทที่สองเนี่ย มันเป็นแค่บทละสามคะแนน รวมเป็นหกคะแนนเองจากร้อยคะแนนนะครับ ไม่ได้เยอะมาก แต่ผมไม่ควรสําคัญกับการปลูกพื้นฐานในครั้งนี้ เพราะว่า ไอ เรื่องของสองบทนี้นะครับ จะเป็นพื้นฐาน ถ้าเราเข้าใจนะครับ มันจะทําให้เราเข้าใจไปได้ทั้งเนื้อเรื่อง ทั้งสามหมวดเลยนะครับ เรามาดูเรื่องแรกก่อน ผมขออธิบายบทที่หนึ่ง บทที่สองเข้าไปด้วยกันเลยนะครับ เพราะมันเป็นเรื่องที่ลิงก์กันนะครับ สองเรื่อง ผมจะอธิบายต่อเรื่องกันไปเลยนะครับ แบบแรกก่อนว่าการลงทุนคืออะไร สิ่งที่เราต้องรู้นะครับ เราบอกว่าจะให้ลูกค้าเราลงทุนกับเรา เราต้องรู้ก่อนว่าการลงทุนคืออะไร การลงทุนคือการที่ผู้ลงทุนหรือผู้ที่มีเงินนั่นเอง เขาจ่ายเงินเพื่อได้ซื้อสินทรัพย์โดยหวังว่าสินทรัพย์นั้นมูลค่ามันจะสูงขึ้น เช่น จ่ายเงินไป 100 บาท มูลค่ามันจะสูงขึ้นเป็น 102 บาท 110 บาท หรือสินทรัพย์นั้นจะมีกระแสเงินเป็นรายงวดมาให้เราใช้ไปเรื่อยๆ หวังอยู่สองอย่างนั้นเองสำหรับผู้ที่ลงทุนนะครับ คราวนี้การลงทุนมันมีอยู่สองประเภทคือการลงทุนที่แท้จริงนะครับ คือการที่เราเอาเงินมาสร้างเงินมากกว่าเงินก็จะมีการลงทุนที่แท้จริงนะครับ ไปลงทุนในธุรกิจต่างๆ นะครับ ร้านธุรกิจจริงๆ ผลิตสินค้าจริงๆ หรือลงทุนในสินทรัพย์ทางการเงินนะครับ สิ่งที่เราจะเรียนทั้งหมด มันอยู่ในนี้แหละนะครับ การลงทุนในสินทรัพย์ทางการเงินนะครับ ก็คือลงซื้อกระดาษมาใบหนึ่งนะครับ กระดาษพวกนี้นะครับจะบอกว่าเรามีสิทธิ์อะไรบ้างนะครับ เราให้เงินเข้าไปแล้ว เรามีสิทธิ์อะไรกับเขาบ้างนะครับ เพราะฉะนั้นการลงทุนพวกนี้นะครับ มันเป็นการที่มาเจอกันนะครับ ของคนสองคน ก็คือผู้ที่มีเงินออมนั่นเองนะ เงินออมแทนที่เราจะไปฝากแบงค์นะครับ เราเอาเงินมาให้คนทําธุรกิจอีกฝั่งหนึ่งนะครับ สามารถเราไปใช้ทําธุรกิจได้นะครับ โดยผู้ใช้ทําธุรกิจเขาอาจจะให้ผลตอบแทนกับเรามานะครับ ซึ่งก็ทําให้มุมมือท่าของเงินของเราสวย หรือมีกระแสอะไรได้จากการถือคลองนั่นเอง เพราะฉะนั้นจากรูปนี้นะครับ จากการที่สองคนนี้มาเจอกันนะครับ มันทำให้เป็นไงครับ ผู้ที่ออมเงินแทนที่จะมีเงินเก็บเอาไว้เฉยๆ มันเกิดการเคลื่อนย้ายของเงินนั่นเอง ไปผู้ที่ต้องการใช้เงินออม เพราะฉะนั้นกระดาษพวกนี้ ตราสารพวกนี้นะครับ ที่เราจะได้เรียนทั้งหมดเนี่ย มันทำให้เกิดการเคลื่อนย้ายเงินทุนนั่นเองนะครับ มันทำให้เงินของเราไหลไปนะครับ แล้วก็ทำให้เราได้ผลตอบแทนกลับมาเป็นการลงทุนนะครับ คราวนี้มาดูเรื่องการเคลื่อนย้ายเงินทุนนะครับ การเคลื่อนย้ายเงินทุนของเรามีอยู่ 3 รูปแบบนะครับ แบบแรกคือการเคลื่อนย้ายเงินทุนแบบทางตรงนะครับ ทางตรงก็คืออะไรครับ ผู้มีเงินออมนะครับ เอาเงินไปให้ผู้ที่ต้องการใช้เงินทุนก็คือบริษัทนั่นเองนะครับ ให้ตรงๆ รู้จักกันเองนะครับ ไปขอคุยกันได้นะครับ เพราะฉะนั้นเราก็จะคุยเป็นรายคนไปนะครับ แล้วก็เงินที่ได้มาก็จะตามที่ว่าผู้มีเงินออมมีเงินอยู่เท่าไหร่นั่นเอง เงินก็อาจจะไม่ได้เยอะมากนะครับ กับที่สองคือการระดมทุนทางอ้อม ตอนนี้เรามองภาพตัวเราเป็นบริษัทก่อนนะครับนะ เราจะระดมทุนคือเราต้องการใช้เงินนั่นเองนะครับ เราจะหาเงินยังไงได้บ้างนั่นเองนะครับ แบบแรกคือทางตรง แบบที่สองคือทางอ้อมนะครับ ทางอ้อมปกติเราก็จะรู้กันดีว่าถ้าเราทำบริษัท เราอยากจะได้เงินเราจะไปกู้แบงค์ถูกไหมครับ แบงค์เป็นตัวกลางนะครับ มันจะเห็นว่าแบงค์เขาเอาเงินจากไหนล่ะ เขาก็เอาเงินมาจากผู้ที่มีเงินออมทั้งหลายนะครับ เขาก็เอาเงินมาฝากแบงค์ เขาก็มั่นใจว่าแบงค์ไม่เจ๊งถูกไหมครับ แม้แบงค์ให้ดอกเบี้ยเป็นยังไงครับ แบงค์ให้ดอกเบี้ยอย่างเช่น 0.5% ถูกไหมครับ ในขณะที่ถ้าเป็นยังไง ถ้าเราเองเราเป็นบริษัทถูกไหมครับ อยากทําธุรกิจเราไปกู้แบงค์เราโดนดอกเบี้ยเท่าไหร่ เราโดน MLR บวกใช่ไหมครับ สมมุติผมบอกว่า 7% 7% เป็นยังไงครับ เราเห็นไหมว่าส่วนต่างนะครับ ระหว่างสองคนนี้มันต่างกันอยู่เท่าไรครับ ต่างกันอยู่ที่หกจุดห้าเปอร์เซ็นต์ ใครได้ไป คนได้ไปก็คือธนาคารนั่นเองถูกไหมครับนะครับ เพราะฉะนั้นอันนี้ธนาคารนะครับ เขามีหน้าที่เป็นตัวกลางนะครับ เป็นตัวกลางทางการเงินนั่นเองนะครับ ตัวการทางการเงินไม่ได้มีแค่ธนาคารนะครับ บริษัทหลักทรัพย์นะครับ พวกบริษัทประกัน สถาบันการเงินต่างต่าง ถือเป็นตัวกลางทางการเงินเหมือนกันนะครับ จะเห็นได้ว่าเราเอง ถ้าเราเป็นบริษัท เรามากู้เงิน เงินกับแบงค์เราไม่รู้หรอกว่าเงินที่ได้มาทั้งหมดมีใครเป็นคนเอาเงินมาให้ถูกไหมครับหรือถ้าเกิดว่าเราเป็นนักลงทุนเราเป็นคนฝากเงินไปกับแบงค์เราก็ไม่รู้หรอกว่าคนที่เอาเงินของเราไปใช้เป็นใครบ้างนะครับอันนี้สองคนจะไม่รู้จักกันเลยนะครับสองฝั่งจะไม่รู้จักกันนะมีแบงค์เป็นตัวการและแบงค์ก็กินส่วนต่างเอ ผ่านกระดาษนั่นเองนะครับ ผ่านกระดาษนั่นเอง เขาเรียกว่าเป็นการระดมทุนผ่านตลาดการเงินนะครับ โดยมีวานิทธนกิจอำนวยความสะดวกนะครับ รูปจะคล้ายๆกันกับธนาคารเมื่อสักครู่นี้นะครับ แต่ว่าจะเห็นว่าตรงการของเราไม่ใช่แบงค์นะครับ เขาจะเรียกว่าวานิทธนกิจนะครับ วันนี้นักกิจเขาทำอะไรครับ กลางที่จะเป็นยังไงครับ ให้เจอกันนะครับ จับคู่มาเจอกันระหว่างบริษัทนะครับ ผู้ต้องการใช้เงินทุนและผู้ที่มีเงินออมนั่นเองครับ ให้มาเจอกัน สิ่งที่เขาทำคืออะไรครับ ถ้าเกิดว่าบริษัทนะครับ ต้องการเงินทุนนะครับ ก็จะเดินไปหาวัณิธนกิจคนนี้นะครับ หรือ IB นั่นเองนะครับ ผมคอยเรียกเป็นสับสั้น ว่า IB นะครับ IB คนนี้ Investment Bank นะครับ เขาจะเป็นคนที่คอยนะครับ คอยแนะนำบริษัทว่า ถ้าคุณต้องการระดมเงินทุน คุณระดมเงินทุนแบบไหนดี จะลงทุนด้วยวิธีไหนนะครับ และลูกค้านะครับ เขาจะเป็นคนวิ่งไปหาลูกค้าให้ว่าลูกค้าจะมีใครบ้างนะครับ เขาจะเป็นตัวกลางให้นะครับ เวลาที่บริษัทนะครับ ต้องการระดมเงินทุนนะครับ บริธนกิจจะวิ่งไปหาลูกค้า ลูกค้าหลายๆคนเลยนะครับ เขาจะเอาเงินมาให้นะครับ ออกตราสารไปให้ สมมุติบริษัทดีๆนะครับ มีความสนใจ อยากจะออกตราสารสักตัวหนึ่งนะ แล้วลงทุนสนใจไหม ถ้าสนใจมาลดลงทุนมานะครับ เอาเงินมาให้ IB นะครับ IB ก็จะเอาเงินตรงนี้ ส่งต่อไปให้บริษัท บริษัทก็จะได้เงินจากนักลงทุนนะครับ ในขณะเดียวกันนะครับ บริษัทเองก็ต้องออกให้นะครับ ว่านักลงทุนหลังจากเอาเงินมาให้แล้ว เขามีสิทธิ์อะไรกับบริษัทบ้างนะครับ ก็จะนํากระดาษพวกนี้นะครับ ออกเป็นใบๆ เลยนะครับ เอาไปให้นักลงทุนเป็นคนคนเลยนะครับ เพราะฉะนั้นบริษัทจะรู้นะครับว่า นักลงทุนแต่ละคนเนี่ย คือใครบ้างนะครับ ในขณะที่นักลงทุนเองก็รู้เหมือนกันว่า กระดาษที่เขาได้มาแต่ละใบเนี่ย ออกโดยบริษัทอะไรนะครับ วันนี้ทางนัก ภาคกิจตรงนี้เป็นแค่สื่อกลาง ไม่ได้กินส่วนต่าง ไม่ได้มีเรื่องสเปรตต่างสิ้น สิ่งที่เขาได้คืออะไรครับ เขาได้แค่ เป็นค่าธรรมเนียมนะครับ จากบริษัทที่จ้างเขานะครับ ในการเป็นตัวกลางให้ออกตราสารนั่นเองนะ ตราสารพวกนี้นะครับ เขาเรียกว่าเป็นการลงทุนผ่าน ตลาดการเงินนะครับ คือไม่ได้ผ่านตัวกลางนั่นเองนะครับ ออกกระดาษโดยตรงให้กับตัวนักลงทุนนะครับ พอนี้ตลาดการเงินนะครับ ตลาดการเงินคือนึกภาพว่าเราไปอยู่ในตลาดนะครับ ตลาดการเงินก็คือเป็นแหล่งที่วางของสินค้าถูกไหมครับ เราไปห้าง เราไปซื้อ ของในตลาดตลาดสดอย่างงี้มีไก่มีหมูว่านนะครับ ตลาดการเงินก็เหมือนกันนะครับ มีตราสารหลายหลายประเภทที่เราจะได้เรียนกันทุกทุกอย่างเนี้ยวางอยู่นะครับ ให้เราไปเลือกซื้อนะครับ เลือกซื้อหรือเลือกขายก็ได้นะครับ เพราะฉะนั้นอันนี้เขาเรียกว่าเป็นตลาดการเงินนะครับทั้งหมดเลยนะครับ ก่อนที่เราจะไปคุยเรื่องตลาดการเงินเพิ่มเติมนะครับ เดี๋ยวเรามาดูกันก่อนว่า ตราสารทางการเงิน ไอ้คําว่ากระดาษของเราเนี้ย ผมอยากจะแบ่งคร่าวคร่าวให้เราเข้าใจเบื้องต้นก่อนนะครับ ขอย้ำว่านี่คือเบื้องต้นนะ มันมีสองประเภทหลักหลักนะครับนะ ลองนึกดูนะครับว่าการ ถ้าเราเป็นบริษัทนะ ลองมาดูภาพนี้นะครับ ขอเขียนนิดนึงนะครับ ลองนึกภาพนะครับ คนนี้คือตัวผมเองนะ ผมอยากจะตั้งบริษัทขึ้นมาหนึ่งบริษัทนะครับ สมมุติเป็นบริษัทเบเกอรี่นะครับ ผมอยากจะทําขนมอบขนมขายนะครับ ผมบอกว่าผมมีเงินทุนอยู่หนึ่งร้อยบาทนะครับ ในขณะที่ เอ้ย ไอ้บริษัทเนี้ยมันต้องการสามร้อยบาทนะฮะ คราวนี้ผมบอกผมมีเงินแค่ 100 บาท ผมไม่พอ ทั้งหมดตัวแล้วไม่พอ ผมก็บอกว่า อ่ะ งั้นผมเห็นเพื่อนคนหนึ่งนะ มันมีแวว ทำขนมเก่ง มันไปเรียนทำขนมมา แต่มันก็ไม่มีตังค์เหมือนกัน มันน่าจะร่วมหัวชมท้ายกับเราได้ ดูมีความจริงใจดี สนิทกันมาก อ่ะ ไปชวนมันมา มันมีความสนใจไหม มันสนใจ ปรากฏว่าเพื่อนคนนี้สนใจ ก็เอาระดมเงินทุนมา เขาก็บอกว่า เขามีเงินอีกแค่ 100 บาทนะครับ มีเงินอีก 100 บาท ปรากฏว่าตอนนี้ผมมีเงินทั้งหมด 200 บาทนะครับ แต่ว่าบริษัทของผมจะตั้งได้ ผมต้องมีเงิน 300 บาทนั่นเอง แสดงว่าผมขาดอีก 100 บาทนะครับ ตอนนี้ผมมองไปก็ไม่เห็นมีใครที่จะมีเงินมากพออีก 100 บาท ผมบอกมีเพื่อนคนหนึ่งเป็นผู้หญิง เขารวยมาก ช้อปปิ้งอยู่ มีความแฮปปี้กับชีวิตของเขามาก เขาคงไม่ได้มาสนใจที่จะมาลงทุนธุรกิจ มานั่งคิด นั่งทำ กับเรา ถูกไหมครับ แต่เขามีเงินนะ ฉะนั้นผมก็ลองไปชวนดูแล้วกันนะว่า อ่า เพื่อนคนนี้สนใจลงทุนกับผมไหม ผมบอกว่า ถ้าเอาเงินมาให้ผมนะ ผมขอยืมเงินนะครับ ยืมเงินห้าปีนะครับ โดยผมบอกว่าผมจะให้ดอกเบี้ยนะครับ ปีละห้าเปอร์เซ็นต์นะครับ ห้าเปอร์เซ็นต์นะ อ่า เพื่อนผู้หญิงคนนี้บอกว่า แล้วฉันก็ไปช้อปปิ้งกับฉันต่อไปนะ แต่เธออย่าเบี้ยวฉันแล้วกันนะ เพราะฉะนั้นผู้หญิงคนนี้ก็ให้มาหนึ่งร้อยบาทนะครับ สูตรตอนนี้ผมก็จะไป มีเงินทั้งหมด 300 บาท ผมก็ทำธุรกิจได้แล้ว คราวนี้มาดูลักษณะกันนะครับว่า เพื่อนของผมเนี่ย 2 คนนะครับ คนแรกคือคนที่จะมาร่วมหัวจนท้ายกับผม คนที่มีความรู้ จะมาคิดกับผมว่าจะทำการตลาดยังไง จะซื้ออะไรเข้ามา จะทำเมนูอะไรบ้างนะครับ กับเพื่อนอีกคนนึงที่บอกว่าให้ยืม รอดอกอย่างเดียว เพราะฉะนั้นคนที่เป็นเจ้าของจริงๆนะครับ คนที่คอยคิดคอยทำให้ธุรกิจเติบโปรก็มีตัวผมเองถูกไหมครับ กับเพื่อนอีกคนนึงที่เขามาร่วมหัวจนท้ายกับผมนะครับ ส่วนอีกคนนึงนะครับที่ให้เงินยืมผมมานะครับ มีแค่ห้าเปอร์เซ็นต์ รอห้าเปอร์เซ็นต์ทุกทุกปีนะครับ กลุ่มนี้นะครับ เราจะเรียกมันว่าเจ้าหนี้นะครับ เหมือนกับเรายืมเงินมานั่นเอง เหมือนเรายืมยืมแบงก์มากู้แบงก์มานะครับ แต่เรากู้เพื่อนมาโดยตรงนะฮะ วันนี้เราคุยกันได้นะครับ แต่ผมกับเพื่อนผมมีคนนึงที่คอยคิดกันนะครับ สองคนนี้จะเป็นเจ้าของนั่นเองนะครับ จะเห็นว่าเป็นยังไงครับ เงินของเราจะยังอยู่ในธุรกิจนะครับ หนึ่งร้อยบาทเราจะไม่ได้คืนเลย จนกว่าจะเลือกธุรกิจ ในขณะที่เพื่อนผู้หญิงของเราที่เอาเงินให้เรายืม เขามีเวลาไงครับ ห้าปี เขาจะมีเวลาแน่นอนที่เขาจะได้เงินคืน เพราะฉะนั้นลักษณะของเจ้าของคืออะไรครับ เราจะร่วมหัวจอมท้ายการคิดกันไปเรื่อยๆ เพราะฉะนั้นมีสิทธิ์ที่จะออกเสียงในการบริหารธุรกิจกิจการ นี่คือลักษณะของการเป็นเจ้าของคือเรากับเพื่อนเรา ที่เป็นผู้ชายคนนี้ ช่วยกันคิด ช่วยกันทำ ในขณะที่เจ้าหนี้เองนะครับ เขาไม่ได้สนใจ ไม่ได้แข่งเลยว่าธุรกิจเราจะเจริญลุ่งเหลือกไหม เพราะยังไงเขาก็ได้ 5% เสมอนะครับ เขาก็จะไม่มีสิทธิ์ออกเสียงในการบริหารธุรกิจการนะครับ ตอนนี้มาดูกันว่า ถ้าเกิดว่าธุรกิจของเรามันกำไร ถ้ามันกำไร มันจะเกิดอะไรขึ้น ถ้ามันกำไรขึ้นมา สมมุตินะครับ ปีแรกของเราก่อน ปีแรกเรากำไรอยู่ที่ 5 บาทก่อนนะครับ ธุรกิจของเรากำไรที่ 5 บาท สิ่งที่เราจะต้องจ่ายนะครับ กำไรของเราจะต้องจ่ายให้ใครก่อนเลย แน่นอนจ่ายให้เจ้าหนี้ก่อนนะครับ เพื่อนของเราที่เป็นผู้หญิง เขารออยู่แล้ว 5 บาททุกปีนะครับ 5% เราก็จ่ายให้เพื่อนของเราที่ 5 บาทนะครับ แล้วเงินเป็นยังไงครับ หลังจากทุก ตัวเราเองและเพื่อนๆเรานะครับก็ได้ไปที่ 0 บาทนะครับไม่ได้เลยเลยนะครับ ตัวละกิจตอนนี้เราโดนเจ้าหนี้กินหมดกรุ่มไหมครับ แต่ถ้ากำไรเราเป็นยังไงครับที่ 55 บาทขึ้นมาเป็นยังไงนะครับแน่นอนเพื่อนของเราที่เป็นอะไรครับเป็นเจ้าหนี้คนนี้เขาก็ได้ไปที่ 5 บาทเหมือนเดิม เหรอไหมครับเหลือเท่าไหร่ 50 บาท ถูกไหมครับ แบ่งกันคนละครึ่ง เรามีคุณกันคนละครึ่ง เพราะฉะนั้น มาแล้วครับ เจ้าของจะได้เท่าไหร่ครับ 25 บาทนะครับ ได้ 25 บาท กันคนละ 25 บาท เป็นไงครับ ยิ่งกําไรเยอะนะครับ เจ้าของยิ่งรวยถูกไหมครับ นะ แต่ถ้าเกิดว่า เกิดอะไรขึ้นครับ สมมุติบอกว่าบริษัทของเราถูกไฟไหม้ไป แล้วเราไม่ทํากิจการต่อแล้ว เราจะเลิกกิจการ เกิดอะไรขึ้นครับ เราต้องขายสินทรัพย์ทั้งหมดของกิจการเรา เป็นราคาซากอะไรก็ว่ากันไป โต๊ะ เก้าอี้ เครื่องอบขนมอะไรของเรานะครับ ถูก ถูกไฟไหม้เราขายทิ้งให้หมดเลย ปรากฏว่าเราขายทิ้งไปเนี่ย เราได้เงินกลับมาแค่หนึ่งร้อยสิบบาท ถูกไหมครับ หนึ่งร้อยสิบบาทตรงนี้นะครับ เราจะเลือกกิจการแล้วถูกไหม ง่านอนเราต้องคืนใครก่อนครับ เราต้องเอาหนึ่งร้อยบาทคนนี้มาคืนเจ้าหนี้ก่อน เจ้าหนี้เขามีสิทธิ์ที่จะเลือกล้องเราก่อนนะครับ มันต้องคืนที่หนึ่งร้อยบาทก่อนเลย เป็นไงครับ เราขายสินทรัพย์ทั้งหมดแล้วได้เงินแค่ร้อยสิบ เราคืนเจ้าหนี้ไปร้อยหนึ่ง แสดงว่าเราเหลือกันแค่สิบบาทนะครับ เป็นไง แปลว่าเจ้าของเนี่ยแบ่งกันได้เหลือคนละเท่าไรเอง เหลือคนละ 5 บาทนะครับ เพราะฉะนั้นเป็นไงครับถ้าเราเห็นภาพเจ้าของแล้วนะครับ เจ้าของเป็นยังไงครับมีความเสี่ยงเนาะ ตรงไหนครับเพราะว่าอะไรครับเขาอาจจะกำไรได้เยอะนะครับ แต่ถ้าเกิดเขาถาดทุนเขาก็ขาดทุนได้หมดเท่าที่เงินลงทุนเข้าไปเลย ในขณะที่เจ้าหนี้เป็นไงครับเขามีโอกาสที่ได้สิทธิ์ในการเคลมก่อนนะครับ ลักษณะของเจ้าหนี้เจ้าของนะครับ อันนี้เป็นภาพคร่าวๆที่เราอยากให้เข้าใจนะครับว่า ลักษณะของเจ้าหนี้และเจ้าของต่างกันอย่างงี้ ยังไงนะครับ เราทราบกันไปแล้วนะครับว่าเจ้านี่เจ้าของมันลักษณะมันเป็นยังไงนะครับ โดยคร่าวๆนะครับ คราวนี้ไอลักษณะของตราสารทางการเงินคือตัวสินค้าที่เราจะไปขายลูกค้านั่นเองที่วางในตลาดเนี่ย มันแบ่งเป็น 3 ลักษณะคร่าวๆ แบบแรกก็คือตราสารหนี้นะครับ ที่เราคุยกันไว้กระดาษเมื่อเช่าคู่ที่เพื่อนสาวของเราเพื่อนผู้หญิงของเราได้ไปนะครับ เขาเรียกว่าตราสารหนี้นะเองนะครับ ผู้ออกตราสารก็คือบริษัทก็คือเราเองเนี่ยมีธนาคเป็นลูกหนี้นะ เพื่อนของเราเนี่ยเขาเป็นเจ้าหนี้ ผลตอบแทนของเพื่อนของเราคนนั้นก็คือได้ดอกเบี้ยนั่นเองหรือส่วนลดนะครับ เราจะได้เรียนกันต่อไปนะครับ หากกิจการล้มละลายเนี่ย เจ้านี่เขาจะได้เงินไปก่อนเลยนะครับนะ ก่อนที่เราจะเหลืองมาให้เจ้าของนะครับ ตราสารแบบที่ 2 นะครับ แบบที่เราและเพื่อนเราถืออยู่เป็นกระดาษ เขาเรียกว่าตราสารทุนนั่นเองนะครับ เราเป็นเจ้าของนะ มีธนาคตเป็นเจ้าของนะครับ ผลตอบแทนก็คือเงินปันผลนะครับ ถ้ามีกำไรเราก็จะได้เงิน ถ้าไม่มีกำไรเราก็จะไม่ปันถูกไหมครับ คราวนี้ถ้าเกิดกิจการ... การล้มละลายเป็นยังไงครับ ส่วนแบ่งทรัพย์สินคือที่เหลือนั่นเองนะครับ เราต้องจ่ายเจ้าหนี้ไปก่อนนะ แล้วเราก็ค่อยได้เงินคนสุดท้ายนะครับ เพราะฉะนั้นถ้าเหลือเยอะเราก็ได้เยอะ ถ้าเหลือน้อยเราก็คือเงินที่เราลงทุนไปก็แทบจะหมดตัวนะครับ เพราะฉะนั้นก็มีความเสี่ยงสูงกว่าคนที่เป็นเจ้าหนี้นะครับ แบบที่สามนะครับ อ่า กระดาษแบบที่สามนะครับ ที่เราจะวางขายกันในตลาดนะครับ ก็คือตราสารอันุพันธ์นะครับ ตัวนี้นะครับจะเป็นตัวที่แปลกแยกออกมานะครับ ตัวเองของมันเองมันเป็นสัญญานะครับ เราเรียกกันว่าสัญญาซื้อขายล่วง หน้านั่นเองนะครับ ที่เรียกว่าตราสารอนุพันธ์นะครับ เดี๋ยวผมจะค่อยค่อยอธิบายนะครับ สําหรับตราสารหนี้ก่อนนะครับ ตราสารหนี้มันมีลักษณะเป็นยังไง ผมอยากจะขอแนะนํานะครับ ขอแนะนําตัวสารหนี้คร่าวคร่าวนะครับ ก่อนที่เราจะไปรู้ ว่าโปรดักต์แต่ละตัวเป็นยังไงนะครับ ผมขอแนะนํานิดนึงนะครับ ว่าสิ่งที่เราต้องรู้จักนะครับ สามโปรดักต์ที่หลักหลักที่ต้องรู้จัก ในการเข้าไปเรียนในไอซีเฟรนด์ตรงนี้ คือสามตัวแรกนะครับ ตัวแรกก็คืออะไรครับ พันธบัตรรัฐบาลนั่นเองนะ อันตรบันรัฐบาลหรือก็บอร์ดนั้นเอง ก็เป็นบอร์ดนะครับ ผมขอเรียกมันย่อๆว่าก็บอร์ดนะครับ บอร์ดคือตราสารหนี้นะครับ อันตรบันรัฐบาลคืออะไรครับ ก็คือการที่รัฐบาลนะครับ เขามีความต้องการ ใช้เงินนะครับ แล้วเงินไม่พอ เพื่อดำเนินรถยุบายของเขา ธุรกิจของเขา เศรษฐกิจของเขานะครับ เขามีเงินไม่พอ เขาก็เลยอยากจะกู้เงินนะครับ เราเองเราเป็นนักลงทุน เรามีเงินเหลือถูกไหมครับ เราบอกว่า อ่า รัฐบาลนะครับ รัฐบาลเขาคือประเทศเราเองนั่นเองนะ เราก็เชื่อมั่นในประเทศของเรานะครับ เขาไม่เบี้ยวเราแน่นอน เขาต้องคืนเงินเราแน่นอน เราก็บอกว่า อ่า รัฐบาลบอกว่าอยากกู้ อ่า งั้นเรามาให้รัฐบาลกู้นะครับ เราบอกเราเดินไปเอาเงินให้รัฐบาลนะครับ ไปที่หนึ่งพันบาทนะครับ หนึ่งพันบาท รัฐบาลเองนะครับ ก็จะ���อกกระดาษมาให้เรานะครับ กระดาษตัวนี้เราจะเรียกมันว่า พันธบัตรรัฐบาลนะครับ ตอนนี้ศักดิ์สิทธิ์ของเราคืออะไรครับ เราเป็นเจ้านี่นั่นเองนะ เจ้านี่นะครับ เท่ไหม มีลูกหนี้เป็นรัฐบาลเลยนะครับนะ เพราะฉะนั้นรัฐบาลจะมีลักษณะเป็นลูกหนี้ของเรานะครับ ผู้ที่ออกตาสารนะครับ เราจะเป็นลูกหนี้นะครับ เราบอกว่าพันธบาลรัฐบาลนะครับ เขาให้กระดาษละมันหนึ่งใบ เขามีสัญญาอะไรกับเรานะครับ เขาสัญญาว่า เขาจะจ่ายดอกเบี้ยเราที่ 3% ทุกๆปีนะครับ นี่เป็นตัวอย่างนะครับ ตัวเลขเป็นตัวอย่างนะครับ โดยที่ตราศานนี้เขาบอกเขาขอคู่เราที่สองปีนะครับนะ เพราะฉะนั้นในแต่ละปีเป็นไงครับ ในแต่ละปีเราก็จะบอกว่า อ่า ครบปีแรกนะครับ เราจะเดินไปหารัฐบาลนะครับ แล้วไปบอกว่า อ่า ใจดอกเบี้ยฉันมาตามสัญญานะที่สามเปอร์เซ็นต์นะครับ นี่คือสิ้นปีที่หนึ่งนะครับ คราวนี้สิ้นปีที่สองเป็นไงครับ สิ้นปีที่สองนะครับ ก็คือครบอายุของสาธารณีนะครับ เพราะฉะนั้นรัฐบาลเองก็ต้องให้อะไรครับ ต้องให้ดอกเบี้ยเรามางวดสุดท้ายนะครับ พร้อมกับคืนเงินเรามาที่ 1,000 บาทตรงนี้ของเรามานะครับ นี่คือสิ้นปีที่ 2 นะครับ เพราะฉะนั้นเราก็จะได้อะไรครับ ได้เงิน 1,000 บาทคืนมา พร้อมกับดอกเบี้ยในแต่ละงวดนะครับ มันมีกระแสเงินให้เรานั่นเองนะครับ อันนี้คือพันธุรัฐบาล รัฐบาลเป็นผู้ออกนะครับ ผมขอแนะนำตัวที่ 2 นะครับ ตัวที่ 2 คือหุ้นผู้นะครับ หุ้นกู้มีลักษณะเดียวกันคือเป็นระยะยาวนะครับ พันธบันทศบาลและหุ้นกู้เองนะครับ ลักษณะเขามาหลักๆคือมากกว่า 1 ปีนะครับ อายุนะครับ มากกว่า 1 ปี หุ้นกู้เองก็ออกโดยนะครับ ออกโดยเอกชนนะครับ เอกชนนะครับ อายุนะครับ มากกว่า 1 ปีนะครับ มากกว่า 1 ปีเช่นกันนะครับ อายุนะครับ มากกว่าหนึ่งปี นะฮะ พยายามเขียนสวยที่สุดแล้วนะ โอเค เพราะฉะนั้น ผู้ที่ออกนะครับ ต่างกันแค่ผู้ออกอย่างเดียวนะครับ ผู้ออกก็คือใครครับ สมมุติผม สมมุติให้เป็นปตท นะฮะ ปตทนะครับ เราบอกว่าเรามีเงินเหลือ ปตทบอกอย่าเอาเงินไปใช้ดําเนินธุรกิจนะครับ เขาเงินขาดนะครับ เขาก็บอก เป็นไงครับ คู่เราไปที่ อ่า เราก็เอาเงินไปให้เขาหนึ่งพันบาทเหมือนเดิมนะครับ ปราธาทอธิบายเขาจะออกกระดาษมาให้ท่าเดียวกันกับรัฐบาลเลยนะครับ เราก็เป็นเจ้าหนี้เหมือนกันนะ คราวนี้ สิ่งที่เกิดขึ้นคืออะไรครับ ปราธาทอธิบายเอง เขาไม่ใช่รัฐบาลนะ รัฐบาลเราจะ เราถือว่าเป็นไงครับ รัฐบาลไม่เคยเจ๊งนะครับ ไม่เคยเบี้ยวนะครับ สิ่งที่ใน assumption นะครับ ในสมมติฐานหลักของการเรียนอาชีพคือ รัฐบาลไม่เคยเบี้ยวนะครับ นะฮะ พอดันปรตทอนะครับ เป็นเอกชนรัฐบาล เพราะฉะนั้นปรตทอมีโอกาสที่จะล้มละลายได้ เจ๊งได้ หรือเบี้ยวหนี้ได้ ถูกไหมครับ เพราะฉะนั้น เราจะยังต้องการนะ เราเป็นน้ําต้นทุนนะ รัฐบาลบอกให้สามเปอร์เซ็นต์ เราจะต้องการผลตอบแทนจากอะไรครับ จากปรตทอเท่าสามเปอร์เซ็นต์ไหม ก็ไม่นะครับ เราควรจะ เราจะต้องการเป็นยังไงครับ ต้องการสูงกว่ารัฐบาลนั่นเองนะครับ เพราะเขามีโอกาสที่จะเจ๊งได้ แม้ว่าเขาจะเกรดดีนะครับ ผมสมมุติให้ว่าเราต้องการอยู่ที่ 5% นั่นเองนะครับ เพราะว่ารัฐบาลคือขั้นต่ำถูกไหมครับ เพราะมีความเสี่ยงมากขึ้น เราก็ต้องการผลตอบแทนมากขึ้นนั่นเองนะครับ ดังนั้นถ้าเดียวกันนะครับ เราก็จะเป็นยังไงครับ เราก็จะไปได้ดอกเบี้ยทุกๆปีเหมือนกันนะครับ ที่ 5% และได้เงินต้นคืนนะครับ อันนี้คือหุ้นกู้นะครับ ต่างกับพันธบัตรตรงที่เอกชนเป็นผู้ออก และมีความเสี่ยงนะครับ เราย่อมต้องการ การผลตอบแทนที่สูงกว่ารัฐบาลนั่นเองนะครับ ตัวสุดท้ายนะครับ ที่ผมอยากให้รู้จักนะครับ เราเรียกมันว่าตัวเงินคลังนะครับ ตัวเงินคลัง นะครับ อันนี้ตามชื่อนะครับ คลังนะครับ ออกโดยกระทรวงการคลังก็คือรัฐบาลนั่นเองนะครับ ตอนนี้ออกโดยนะครับ รัฐบาลนะครับ อ่า ในเมื่อออกโดยรัฐบาลเหมือนกัน มันต่างกันยังไงกับตัวพันธบัตรนะครับ ออกรัฐบาลตัวเงินคลังตรงนี้จะมีอายุนะครับ น้อยกว่า หนึ่งปีนั่นเองนะครับ นะฮะ ด้วยความที่มันอายุสั้นนะครับ ลักษณะของมันจะแปลกกว่าพระราชบาล อาตราบาลนิดหนึ่งนะครับ อ่า ลักษณะของบ้านคิวเป็นยังไงครับ เขาก็บอกว่า อ่า รัฐบาลมานะครับ จะลดมเงินนะครับ ลดมเงินนะครับ มาให้ตัว เราเป็นผู้ที่มีเงินทุนลงคงเหลือ ตัวไหมครับ เราเอาเงินไปให้นะครับ ให้รัฐบาลเหมือนกันนะครับ รัฐบาลเองก็บอกว่าได้เงินมาแล้วนะครับ รัฐบาลบอกว่าให้กระดาษมาหนึ่งใบนะครับ เอากระดาษมาให้หนึ่งใบ กระดาษใบนี้นะครับจะไม่ได้เหมือนพันธบาทตรงไหนครับ เขาบอกว่ารัฐบาลบอกว่ากระดาษใบนี้จะคืนเงินให้ที่ 1,000 บาทนะครับ 1,000 บาท เพราะฉะนั้น ณ วันครบกำหนดนะครับ รัฐบาลนะครับจะคืนเงินให้เรานะครับที่ 1,000 บาทนะครับ เช่น 6 เดือนนะครับ 6 เดือน สมมุติ 6 เดือนนะครับ 6 เดือนเนี่ย ณ เดือนที่ 6 นะครับ รัฐบาลจะคืนเงินให้เราที่ 1,000 บาท แล้วถ้าเกิดเขาคืนเงินให้เรา 1,000 บาทแล้ว แล้วเราได้อะไรล่ะ ถูกไหมครับ หมายความว่าอย่างไรครับ หมายความว่าตอนที่เราซื้อไอ้กระดาษใบนี้มานะครับ เราไม่ได้จ่ายหนึ่งพันบาทนั่นเองนะครับ เราจะจ่ายเงินออกมาน้อยกว่าหนึ่งพันบาทนะครับ อย่างเช่นจ่ายที่เงินลงทุนที่เก้าร้อยห้าสิบนะครับ แสดงว่าเป็นไงครับ เราซื้อเก้าร้อยห้าสิบแล้วเราได้เงินคืนที่หนึ่งพันบาท นั่นหมายความว่าเราได้อะไรครับ ผลตอบแทนอยู่ที่ห้าสิบบาทนั่นเอง รักษณะการซื้ออันนี้นะครับ เขาเรียกมันว่า ราศาลตรงนี้เราเรียกว่าตั๋วเงินคันตรงนี้เขาเรียกว่ามีรักษณะผลตอบแทนนะครับ ผลตอบแทนเป็นส่วนลดนะครับ เป็นส่วนลด เป็นส่วนลดหรือ discount นั่นเอง นึกภาพนะครับ เราไปซื้อของตามห้างนะครับ ราคาเต็มนะครับ ราคาเต็มหนึ่งพันบาทนะครับ ราคาเต็มหนึ่งพันบาท เขารดให้เหลือเก้าร้อยห้าสิบ ไอ้ส่วนลดนั่นเองคือผลตอบแทนของเรานะครับ อันนี้คือลักษณะของตัวเงินคลัง เพราะมันสั้นนั่นเองนะ ไม่ต้องมานั่งจ่ายดอกเบี้ยงอะไรให้ยุ่งยากนะครับ อันนี้เป็นสามตัวหลักนะครับ ที่เราอยากให้รู้นะครับ พันธบัตรและตัวเงินคลังออกจากรัฐบาลนะครับ ไม่มีความเสี่ยงในการเบี้ยวหนี้นะครับ แต่ว่าหุ้นกู้นะครับ ออกจากเอกชนนะครับ ยังมีความเสี่ยงนะครับ อันนี้เป็นสามตัวหลัก ที่เราจะต้องรู้ในการเรียน IC เบื้องต้นนะครับ กลับมาที่ตราสารหนี้นะครับ เมื่อกี้เราเรียนกันไปแล้วนะครับว่าตราสารหนี้ หลักๆ 3 ตัวนะครับ เมื่อกี้เรามีอะไรบ้างเนาะ ส่วนของตราสารทุนเองนะครับ มันก็คือมีลักษณะเป็นเจ้าของนั่นเองนะครับ เดี๋ยวเราจะไปเรียนเยอะขึ้นในหมดที่ 3 นะครับ ตอนนี้ผมอาจจะยังไม่ได้พูดอะไรเยอะนะครับ แบบที่ 3 นะครับ ตราสารหนุพันธุ์นะครับ ตัวนี้เขาอาจจะมีออกข้อสอบเล็กน้อยนะครับ ไม่ได้เยอะนะครับ แต่เราจะต้องรู้ไว้ว่ามันเป็นการซื้อ เป็นสัญญาที่จะซื้อจะขายกันในอนาคต นั่นเองนะครับ ล็อกราคากันวันนี้นะครับ แล้วไปส่งเมาท์กันอาคต วันนี้เรายังไม่ซื้อขายกันนะครับ อันนี้ลักษณะของตราสารหนี้นะครับ นี่เมื่อกี้ที่ผมพูดไปนะครับ ผมสรุปมาเป็นรูปนี้ให้นะครับ รูปนี้ให้ ระยะสั้นนะครับ ตั๋วเงินคลังนะครับ มีลักษณะเป็นส่วนลดนะครับ จ่ายวันนี้เก้าห้าสิบนะครับ ได้คืนที่หนึ่งพันบาทนะครับ แล้วก็เป็นยังไงครับ ถ้าไป ระยะยาวนะครับ เป็นไงครับ ตอนนี้ได้ดอกเบี้ยมา จ่ายเงินราคาหน้าตั๋วสมมุติหนึ่งพันบาทนะครับ นะครับ แล้วก็ได้ดอกเบี้ยมาปีที่หนึ่ง ปีที่สอง ปีที่สาม ได้ดอกเบี้ยและราคาหน้าตั๋วคืนนั่นเองนะครับ อันนี้คือลักษณะของตารสารหนี้นะครับ ผมขออธิบายตารสาร ตราสารอนุพันธ์เล็กน้อยนะครับ ว่าตราสารสัญญาซื้อขันล่วงหน้าเป็นยังไงนะครับ มีคนสองคนนะครับ คนแรกนะครับ บอกว่าอยากจะซื้อทอง วันนี้ยังซื้อไม่ได้นะครับ ในอนาคต แต่จะซื้อได้อีกหกเดือนข้างหน้า ในขณะที่สาวคนนึงบอกว่า อยากจะขายทอง ตอนนี้ยังไม่มีทองในมือ เดี๋ยวทองจะเข้ามาในมือ ไม่ว่าด้วยเหตุอะไรก็ตามนะครับ อีกหกเดือนจะได้ทองมาแล้วอยากจะขายทิ้งนะครับ เพราะฉะนั้นหนุ่มคนนี้บอกว่าอยากจะซื้อทอง แต่วันนี้ยังไม่มีตังค์ซื้อ จะซื้อในหกเดือน เป็นไงครับ กลัวราคาทองขึ้นนะครับ สาวคนนี้เป็นไงครับ อยากจะขายทอง ได้ออกเดือน กลัวราคาทองลง นะครับ เพราะทองลงเสร็จปุ๊บ คือได้เงินน้อยลง เอาสองคนนี้มาเจอกันนะครับ ทําสัญญานะครับ ทันสัญญากัน บอกว่าตกลงกันนะครับ ว่าจะซื้อทองกันที่เท่าไรครับ ซื้อทองกันที่หนึ่งร้อยบาทนะครับ ผมให้เป็นตัวเล่นง่ายง่ายนะครับ เพราะฉะนั้นวันแรกสองคนเป็นไงครับ เอากระดาษถือกันไปคนละใบ บอกว่า อ่า ฉันตกลงกันแล้วนะ ว่าจะซื้อขายทองที่หนึ่งร้อยบาทนะครับ นะ ณ วันที่หกเดือนนะครับ หนุ่มน้อยจะเอาเงินมาซื้อที่หนึ่งร้อยบาทนะครับ แล้วก็สาวคนนี้ จะเอาทองมาให้นะครับที่หนึ่งร้อยบาท เวลาผ่านไปนะครับ ผ่านไปสามเดือนนะครับ นะ ราคาทองในตลาดวิ่งมาวิ่งมา สนใจไหม ก็ไม่ต้องสนใจถูกไหมครับ มันจะวิ่งไปเป็นเท่าไหร่ เป็นร้อยยี่สิบ เป็นเก้าสิบ ช่างมันนะครับ ณ วันเป็นไงครับ ณ วันที่ครบกําหนดนะครับ ก็มาส่งมอบกันที่หนึ่งร้อยบาท หนุ่มน้อยก็เอาเงินไปให้สาวคนนี้ที่หนึ่งร้อยบาท สาวคนนี้ก็เอาทองมาให้หนุ่มน้อย เพราะฉะนั้นทุกคนก็ยังได้ที่ราคาหนึ่งร้อยบาท ไม่ต้องสนใจตลาดนะครับ สามารถป้องกันความเสี่ยงได้นะครับ อันนี้คือ ลัก ของ ตรา สาร อนุ พันธ์ นะครับ เป็น สัญญา ที่ ตก ลง กัน ไว้ นะครับ เพื่อ ที่จะ ส่ง มอบ กัน ใน อนาคต ค่า เงิน และ สินค้า นั่นเอง นะครับ นี่คือ ตรา สาร สัญญา ชื่อ ข่าย ล่วง หน้า นะครับ คราวนี้ อ่า เรารู้ แล้ว ว่า มันมี สาม กลุ่ม หลัก ถูกไหม ครับ ตรา สาร หนี้ ตรา สาร ทุน ตรา สาร อนุ พันธ์ หรือ สัญญา ชื่อ ข่าย ล่วง หน้า นั่นเอง นะครับ สิ่งที่ เราจะ เรียน ทั้งหมด นะครับ มันก็คือ หมด ทั้งหมด นี่ เลย นะครับ เราจะ แบ่ง เป็น อย่างงี้ นะครับ ตรา สาร หนี้ นะครับ นะครับ นะ เราจะมีตราสารในตลาดเงินนะครับ กับตราสารนี่ระยะยาวนะครับ ตราสารทุนที่เราจะเรียนมีอะไรบ้างตรงนี้นะครับ อาจจะยังไม่ต้องสนใจชื่อมันนะครับ แต่เราจะได้เรียนมันทั้งหมดเลย นะครับ ตราสารนิวพันธุ์นะครับ จะมีอยู่สามสี่แบบตรงนี้นะครับ แบบที่สนใจที่สุดสําหรับไอซีเพลนคือ ที่ชื่อว่า นะครับ เดี๋ยวเราจะค่อยค่อยพูดกันไปนะครับ แต่ใน ตรงนี้ผมอาจจะไม่ได้พูดใน ตรงนี้นะครับ เราจะไปเรียนในคลาสจริงจริงนะครับ เพราะมันจะมี ละเอียดพอสมควรนะ การที่เราเรียกกลุ่มของตราสารทั้งหมดนี้เรา เรียกมันว่า asset class นะครับ ปุ่มของตราสารตรงนี้นะครับ อันนี้คือ overview ที่เราจะได้เรียนทั้งหมดนะครับ นะฮะ สําหรับตราสารการเงินหรืออะไรครับ หรือสินค้าที่มันอยู่ในตลาดนั่นเองนะฮะ อันนี้คือสินค้าทั้งหมดที่มันวางขายในตลาดนะครับ ที่เราจะหยิบ ไปขายลูกค้าเราเป็น sale ถูกไหม เราเป็นผู้แนะนํา เราจะหยิบสินค้าพวกนี้แหละ ไปขายลูกค้าเรางั้นเองนะครับ แล้วเราจะมาเรียนกันว่าสินค้าพวกนี้มีอะไรบ้างนะครับ คราวนี้ตลาดการเงินนะครับ ที่เราบอกว่าว่าใช้วางสินค้าทั้งหมดนะครับ ตลาดการเงินของเรา มันอาจจะดูเป็นนามธรรมนิดนึงนะครับ ไม่ได้มีเป็นวางจริง มันไม่ได้มีเป็นกระดาษไปวางให้เราซื้อจริงจริงนะครับ มันเป็นนามธรรมนิดหนึ่ง มันจะอยู่ในระบบอะไรก็ตาม เป็นซิสเต็มเป็นต่างต่างนะครับ แต่เขามีการจําแนกนะครับ จําแนกตลาดออกเป็นสองแบบใหญ่ใหญ่นะครับ แบบแรกคือจําแนกโดยอายุนะครับ โดยอายุนะ ตำแหน่งอายุเขาจำแนกเป็น 2 แบบ คัดกันที่อายุ 1 ปีนั่นเองนะครับ ถ้าเป็นตลาดเงินนะครับ เขาจะบอกว่าเป็นตลาดที่สินค้านะครับ ที่มีอายุน้อยกว่า 1 ปีจะมาอยู่ในตลาดเงินนะครับ กระดาษไหนที่อายุน้อยกว่า 1 ปีจะมาอยู่ในตลาดเงินหมดเลยนะครับ ด้วยความที่อายุมันสั้นนะครับ ลักษณะของมันจะเป็นยังไงครับ มันจะซื้อขายง่ายนะครับ อายุสั้นๆ คนเรามันกลัวความเสี่ยงน้อยลงถูกไหมครับ เวลาที่เราสั้นเนี่ย โอกาสที่บริษัทจะเจ๊งกับอะไรก็น้อยนะครับ ก็น้อยลงนะครับ ความเสี่ยงมันต่ําลง สภาพคล่องวิธีสื้อขายง่ายสูงนะครับ ราคาจะไม่ค่อยพัดความมีความผันผลนะครับ อันนี้เป็น เป็นเนเจอร์หลักเลยนะครับ ของตลาดเงินนะครับ ยิ่งสั้นยิ่งเสี่ยงน้อยนะครับ เพราะฉะนั้นอายุตราสารทุกอย่างนะครับ ที่มันอายุน้อยกว่าหนึ่งปี จะมาอยู่ตรงนี้หมดนะครับ ส่วนตลาดทุนนะครับ เป็นตลาดที่เป็นยังไงครับ เป็นระดับระดมทุนระยะยาวนะครับ จะอายุมากกว่าหนึ่งปี จะมาอยู่ตรงนี้หมดเลย เรียกว่าตลาดทุนนะครับ เพราะฉะนั้นกระดาษทุกอย่าง พลูดักต์ทุกอย่างนะครับ ที่มากกว่าหนึ่งปีเราจะเรียกมันว่า ซื้อขายในตลาดทุนนั่นเองนะครับ ก็มีตราสารนี้ระยะยาวนะครับ แล้วก็มีตราสารทุนนั่นเอง ตราสารทุนคืออะไรครับ เราหุ้นกันถูกไหมครับ บริษัทไม่เจ๊ง เราไม่ได้เงินคืนถูกไหม เพราะฉะนั้นถ้าเกิดว่าเราลงทุนไปแบบไม่มีกระหมดเลยถูกไหมครับ อันนี้เป็นการจํานแนกแบบแรกคือจํานแนกโดยอายุนะครับ แบบที่สองนะครับ จํานแนกโดยการออกจําหน่ายนะครับ เราจะบอกว่าไอตลาดของเราสินค้าของเราเนี่ยจะแบ่งเป็นเกณฑ์แบบไหนได้บ้าง แบบที่สองคือการออกขายนั่นเองนะครับ ว่าเราการขาย เราขายยังไงนะครับ แบบแรกเลยนะครับ เรามีการเกณฑ์แบบแรก เราเรียกว่าตลาดแรกนะครับ ตลาดแรก ตลาดแรกเป็นการระดมทุนนะครับ ตลาดแรกคืออะไรครับ ให้นึกภาพว่าเวลาเราไปซื้อรถนะครับ ซื้อรถ เราซื้อรถจากดีลเลอร์ถูกไหมครับ ซื้อรถโตโยต้าจากศูนย์โตโยต้านะครับ เราซื้อรถมาเราได้มาถูกไหมครับ โตโยต้าได้เงินถูกไหมครับ อันนี้คือตลาดแรกนะครับ เราถอยมาเป็นมือหนึ่ง นั่นคือตลาดแรกนั่นเองนะครับ เพราะฉะนั้นตลาดแรกของเราอันนี้ก็คือบริษัทนะครับ บริษัท บริษัทเขาเป็นไงครับ กระดมเงินทุนไปได้เงินมา เหมือนขายรถเนาะ แล้วก็เอากระดาษให้ กระดาษนี้ก็เป็นสินค้าที่นักลงทุนได้ไป เพราะฉะนั้นบริษัทได้เงินนะครับ อันนี้เรียกเป็นตลาดแรกนะครับ แบบที่สองออกจำหน่ายแบบที่สองคือ ตลาดลองนะครับ ตลาดลองเป็นเหมือนยังไงครับ ว่าเหมือนเต็นต์รถนั่นเอง เราซื้อรถมาแล้ว ถูกไหมครับ เราก็คงไม่ได้เอารถตัวนี้ไปขายกลับที่ศูนย์ถูกไหมครับ เราซื้อมาแล้วเราสามารถไปขายต่อกับ ใครครับ กับคนอื่นๆเพื่อนพ่อแม่พี่น้องเรา หรือใครก็ตามประโยชน์ ประกาศขายในเว็บหรือไปที่เต็มรถก็ได้ถูกไหมครับ ฉะนั้นตลาดรองคืออะไรครับ เป็นเอาของที่อยู่ในตลาดแรกที่ผ่านการซื้อมาแล้วมาขายต่อนั่นเองนะ ฉะนั้นนักลงทุนที่ได้กระดาษมาแล้วจากตลาดแรก สามารถเอาไปขายต่อให้นักลงทุนคนอื่นๆที่สนใจในตลาดรองได้นะครับ เพราะฉะนั้นตลาดรองเนี่ยเป็นการเพิ่มสภาพคล่องให้ตลาดแรกด้วยนะครับ สามารถทำให้เราซื้อง่ายขายคล่องนะครับ เราไม่จำเป็นจะต้องซื้อไว้แล้วก่อนจนมันครบอายุนะครับ หรือแม้กระทั่งเป็นไงครับ ตราสารทุนมันไม่เป็นครบอายุถูกไหมครับ ถ้าเราซื้อมา เราได้กระดาษตารสารทุนมา ปรากฏว่าไม่มีวันครบอายุเนี่ย เราไม่รู้เราจะได้เงินคืนเมื่อไหร่ ถึงไหมครับ การที่เราเอาไปขายต่อได้ มันทำให้เราได้เงินคืนมาเร็วขึ้นนะครับ ในเวลาที่ต้องการนะครับ ลักษณะของตลาดรองนะครับ ตลาดรองนะครับ จะแบ่งเป็น 2 แบบนะครับ แบบแรกคือตลาดรองที่นักลงทุนติดต่อกันเอง ซื้อขายกันเอง เรียก OTC กับอีกแบบนึงคือแบบที่เป็น Exchange นะครับ คือลักษณะเป็นตลาดจริงๆนะครับ เป็นตลาดจริงๆ มีกฎระเบียบ มีคนเข้ามาเกี่ยวข้องเยอะแยะไปหมดนะครับ เช่นอะไรครับ เช่นตลาดรอง สัตว์บ้านเรานั่นเองนะครับ เซตนะครับ ซื้อขายหุ้นของเรานะครับ Mai นะครับ Tfx ใช้ซื้อขายอะไรครับ ขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้านะครับ Tbx นี่ ตัวนี้ ThaiBonds Exchange นะครับ ใช้ซื้อขายตาร์สารหนี้นะครับ เซตใช้ซื้อขายหุ้นนั่นเองนะครับ ตรงนี้จะมีกฎระเบียบเข้ามานะครับ จะมีคนเข้ามาลุมซื้อลุมขายมากมาย เป็นลักษณะเป็นตลาดจริงๆเลยนะครับ ตัวนี้มีคนเข้ามาลุมซื้อลุมขายมากมาย เพราะฉะนั้นตัวเราเองนะครับจะเป็นคนมากมายเลย 2 คนมาซื้อมาขายผ่าน คนตัวการคำนึงที่เรียกว่าโบรกเกอร์นั่นเองนะครับ มันจะมีระบบระเบียบและมีปาร์ตี้เข้ามาเกี่ยวข้องมากขึ้น เราจะได้เรียนกันละเอียดขึ้นนะครับ ในพลาดหลังนะครับ ตอนแรกเราอยากให้เห็นภาพก่อนนะครับ ตลาดแรกนะครับ ก็ย้ำอีกทีหนึ่ง ตลาดแรกนะครับ บริษัทได้เงินนะ ตลาดลองนะครับ ทั้ง 2 แบบนี้นะครับ บริษัทไม่เกี่ยวแล้ว บริษัทไม่ได้เงินแล้วนะครับ เป็นเรื่องของตัวลงทุนไปซื้อขายกันเอง เพื่อสร้างสภาพคล่องให้ตัวเองนั้นเองนะครับ ฉะนั้นอันนี้คือการจำแนก ตลาดการเงินโดยการออกจำหน่ายนะครับ คราวนี้เรารู้ลักษณะของตลาดเข้าเข้าแล้วนะครับ เรามาดูว่าแล้วไอตราสารนะครับ ไอสินค้าของเราทั้งหมดเนี่ยนะครับ แน่นอนเวลาที่เราจะลงทุนสักอย่าง เราต้องอยากรู้ผลตอบแทนถูกไหมครับ แต่ยิ่งผลตอบแทนยิ่งสูง มันยิ่งคู่มากับความเสียดนะครับ อันนี้ลักษณะการ อันดับของอัตราผลตอบแทนเมื่อที่เปิดความเสี่ยง มันจะออกมาเป็นที่รูปนี้นั่นเอง แกนนิ้งคือความเสี่ยง ยิ่งความเสี่ยงสูงขึ้น อัตราผลตอบแทนก็จะยิ่งสูงขึ้นตามเส้นนี้เลย ตราสารในตลาดเงิน เราคุยกันไปแล้วว่ามันอายุสั้นนะครับ เพราะฉะนั้นผลตอบแทนมันไม่ได้เยอะนะครับ มันกู้สั้นสั้น มันไม่ต้องมันมีความเสี่ยงน้อยนะครับ ก็ไม่จําเป็นต้องได้ดอกเบี้ยเยอะนั้นเองนะครับ ความเสี่ยงก็จะต่ํานะครับ ตราสารหนี้นะครับ ได้เงินคืนก่อนมีสิทธิ์ ไล่เบี้ยก่อนถูกไหมครับ ความเสี่ยงก็จะน้อยกว่านะครับนะฮะ ตราสารทุนเนี่ย เรามีโอกาสขาดทุนเงินเราสามารถเป็นศูนย์ได้ ได้ และได้สิทธิ์ในการไล่เบี้ยสุดท้ายนะครับ เพราะฉะนั้นเราก็จะมีความเสี่ยงสูงขึ้นมาอีกนะครับ ตราสารทุนเองเป็นไงครับ เราสัญญาจะซื้อจะขาย เกิดการเบี้ยวกันได้ เกิดอะไรกันได้เต็มไปหมดถูกไหมครับ แล้วก็เป็นไงครับ เงินมันไม่ต้องลงทุนถูกไหม หรือเงินลงทุนมันน้อยนะครับ การเคลื่อนหมดของราคามันจะรุนแรง ซึ่งอันนี้เดี๋ยวเราจะได้ไปพูดต่อไปในในในในที่หลังนะครับ แต่ตราสารทุนจะมีตราสาร ที่มีความเสี่ยงสูงที่สุดนะครับ จะได้ผลตอบแทนสูงที่สุดเลยนะครับ อันนี้ผลตอบแทนและความเสี่ยงเป็นสิ่งที่เราจะต้องนึกไว้ตลอดเวลาในการเรียนนะครับ และในชีวิตจริงด้วยนะครับ ผลตอบแทนสูงมันจะมีความเสี่ยงตามมาเสมอนะครับ หลังจากเรารู้แล้วว่าโปรดักต์มีอะไรบ้าง ถูกไหมครับ สินค้าที่เราจะไปขายลูกค้า ไปแนะนำลูกค้ามีอะไรบ้าง ตลาดแบ่งเป็นยังไงบ้างนะครับ มีความเสี่ยงเป็นยังไงนะครับ เราได้แนะนำไปคร่าวๆแล้ว ได้มีความรู้สัจไปคร่าวๆแล้ว คราวนี้มาอีกเรื่องหนึ่งนะครับ การที่เราจะไปฝืดกับลูกค้า กับลูกค้าด้านหนึ่ง คือเราต้องคํานวณเป็นก่อนนะครับ ว่าผลตอบแทนมันคํานวณยังไง อ่า เราจะไปคุยกับลูกค้าได้ แล้วต้องคํานวณให้เป็นนะครับ ว่าผลตอบแทนที่ลูกค้าจะได้เนี่ย คํานวณมายังไงนะครับ และความเสี่ยงที่ลูกค้าจะได้รับเนี่ย มันคิดความเสี่ยงกันยังไง ดูกันยังไงนะครับ เราถึงจะไปเลือกสินค้าให้ลูกค้าได้ นะครับ เพราะฉะนั้นบทนี้จะเป็นบทที่คํานวณนะครับ บทนี้จะมีคะแนนค่อนข้างเยอะนะครับ ในบทที่หนึ่ง จะเป็นบทที่คะแนนเยอะที่สุดในบทที่หนึ่งเลย คือมีอยู่หกคะแนนนะครับ คราวนี้ก่อนผมจะเลือกแค่บางส่วนมาให้เราคํานวณนะครับ มาให้เราคํานวณ ก่อนที่เราจะไปคำนวณ สิ่งที่เราจะต้องมีก่อนนะครับ ในการเข้าข้างสอบก็คือเครื่องคิดเลขนั่นเองนะครับ เครื่องคิดเลขที่เราคำนวณนะครับ เราจะมีเครื่องคิดเลขที่หน้าตาเป็นลักษณะเหมือนในรูปนะครับ เหมือนในสไลด์ของเรา หรือหน้าตาเป็นแบบนี้นะครับ เพราะฉะนั้นมันเครื่องคิดเลขแม่บ้านนั่นเองนะ ไม่ใช่เครื่องคิดเลขฟังก์ชัน ไฟแนนซ์ อะไรที่มีความซับซ้อนนะครับ เพราะฉะนั้นแน่นอนถ้าเขาให้เราใช้เครื่องคิดเลขแบบนี้เท่านั้นนะครับ หมายความว่าการคำนวณมันไม่ได้ยากนะครับ มันไม่ได้ซับซ้อนมาก เราต้องสามารถกดได้ด้วยเครื่องคิดเลขแม่ขานะครับ ท่านใช้ iPhone นะครับ ห้ามใช้เครื่องคิดเลขที่มีฟังก์ชันนะครับ โทรศัพท์เข้าห้องสอบไม่ได้อยู่แล้ว เพราะฉะนั้นไปหาเครื่องคิดเลขนี้มาก่อนเรียนนะครับ หาเครื่องคิดเลขนี้มาก่อนนะครับ คล้ายคล้ายแบบนี้ก็ได้ ไม่จำเป็นต้องยี่ห้อนี้แบบนี้เป๊ะๆนะครับ เป็นเครื่องคิดเลขแม่ค้านั่นเอง สิ่งที่ต้องมีคืออะไรครับ สิ่งที่ต้องมีถ้าคุณจะไปหาซื้อเครื่องคิดเลขนะครับ สิ่งที่ต้องมีแน่นอนคือคุณต้องมี square root นะครับ ต้องมี square root นะครับ นะ เพราะว่าในบางสูตรจะต้องใช้ square root นะครับนะ และถ้าเกิดคุณเจอมีเครื่องคิดเลขอยู่แล้ว และมีการตับเลื่อนๆอย่างนี้นะครับ เลื่อน อย่างงี้นะครับ การตั้งความมันเป็นเรื่องของทุกสนิยมนั่นเองนะ แล้วอาจจะไม่จําเป็นต้องรู้ว่ามันคืออะไร แต่อยากให้เลื่อนนะครับ ก่อนที่จะเรียนแล้วทําแบบสุดทัดนะครับ มันจะมีอันหนึ่งที่เป็นเรื่องคัดอัพห้าส่วนสี่นะครับ ให้ตั้งไปที่ห้าส่วนสี่เสมอนะครับ แล้วก็ตัวนี้นะครับ จะเป็นตําแหน่งทุกสนิยมนะครับ ว่าเอากี่ตําแหน่ง ให้เลือกไปที่เอฟนะครับ เอฟก็คือไม่ได้กําหนดนะครับ ไม่ได้กําหนดว่าสุดที่สุดท้ายเท่าไร ส่วนใหญ่อยู่ที่หกตําแหน่งนะครับ ของเครื่องนะ ฉะนั้นห้าส่วนสี่และเอฟนะครับ อันนี้ก็คือเครื่องที่เราต้องใช้ กันนะครับ และ กด กันไป ตลอด นะครับ อยาก ให้มี ไว้ นะครับ ไม่ใช่ ว่า ตอน เรียน เรา ใช้ ไอ โฟ น ไป แล้ว ไป สอบ จะ ไป ใช้ เครื่อง ค ิ ล เล ค แบบนี้ ไม่ได้ นะครับ เรา อยาก ให้ มี ไว้ เพื่อ ที่ ว่า อะไร นะครับ เวลา ที่ เรา เรียน กัน เราจะ มี กัน นะครับ วิธีการ กด มัน ไม่ เหมือนกัน คราวนี้ นะครับ เรามี เครื่อง ค ิ ล เล ค แล้ว นะครับ ผม เข้าใจ ว่า คน ที่ มา เรียน นะครับ แต่ละคน อาจจะ ไม่ได้ จบ สาย วิ ท มา แต่ บางคน อาจจะ จบ สิ น มา หรือ อาจจะ สิ น ภาษา หรืออะไรก็ตาม หรือเรียนอักษร เรียนอะไรมาก็ตาม แต่ชีวิตได้ผกผันมาเป็น ผู้แนะนําการลงทุนขึ้นมานะครับ การคํานวณเราอาจจะไม่คล่องแคล้วมากนะครับ ผมขอปูพื้นตรงนี้นึงหนึ่ง ถวนนะครับ เรียกว่าทบถวนแล้วกันนะครับ สําหรับคนที่ไม่คล่องเรื่องการคํานวณนะครับ อยากจะให้ทราบเรื่องการคํานวณคร่าวคร่าวนะครับ ว่า อ่า เราจะคํานวณยังไงกันได้บ้างนะครับ ก่อนที่เราจะไปคํานวณในข้อสอบนะครับ เพราะในคําถามว่าจะมีคํานวณให้เราคิดเยอะแยะไปหมดเลยนะครับ ในแบบแรกนะครับ นะ แบบแรก ผมเอาแบบง่ายง่ายก่อนนะครับ เรื่องการคิดอัตราการเปลี่ยนแปลงหรือคิดเปอร์เซ็นต์นั่นเองนะครับ สมมุติเราบอกว่าต้นปีเรามีน้ําหนักอยู่ที่เจ็ดสิบกิโลกรัมนะครับ แล้วตอนเนี้ยเราหนักอยู่นะครับ อยู่ที่เจ็ดสิบแปด ต้นปีหนักเจ็ดสิบ ตอนนี้ตัดเจ็ดสิบแปดน้ําหนักเพิ่มขึ้นถูกไหมครับ น้ําหนักเพิ่มขึ้นมาเป็นกี่เปอร์เซ็นต์นะครับ กี่เปอร์เซ็นต์ของต้นปีนั่นเอง คิดยังไงนะครับ แสดงว่าน้ําหนักขึ้นเป็นไงครับ น้ําหนักนะครับ ขึ้นนะครับ มาที่เท่าไรครับ เจ็ดสิบแปดลบเจ็ดสิบนั่นเองนะครับ เท่ากับขึ้นมาที่แปดกิโลกรัม ถูกไหมครับ 8 กิโลเมตร เพราะฉะนั้นเราคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ล่ะ ขึ้นมากี่เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักเรา คิดยังไงครับ น้ำหนักนะครับ ขึ้นกี่เปอร์เซ็นต์นะฮะ ขึ้นกี่เปอร์เซ็นต์ ก็ได้เอาไงครับ เอาแปดนี่แหละ เอาที่มันเพิ่มขึ้นนะครับ ด้วยน้ําหนักตั้งต้นของเราก็คือเจ็ดสิบนั่นเองนะครับ เอากดออกมานะครับ กดเครื่องคิดเลขออกมานะครับ เอาแปดสิบหารด้วยเจ็ดสิบธรรมดาถูกไหมครับ เราจะได้เป็นทศนิยมออกมาที่ศูนย์จุดหนึ่งหนึ่งสี่สามถูกไหมครับ ศูนย์ สูญจุดหนึ่งหนึ่งสี่สามตรงนี้นะครับ มันบอกอะไรเหรอ มันบอกเป็นสูญจุดหนึ่งหนึ่งสี่สี่สูญจุดหนึ่งหนึ่งสี่สามตรงนี้ เรายังไม่ได้เป็นเปอร์เซ็นต์นะครับ ถ้าเราจะทําให้มันเป็นเปอร์เซ็นต์คืออะไรครับ ต้องเอามันมาคูณที่หนึ่งร้อยนะครับ คูณหนึ่งร้อยนะครับ มันจะได้เป็นเท่าไรครับ เป็นที่สิบเอ็ดจุดสี่สามเปอร์เซ็นต์นะครับ อันนี้คือแสดงว่า น้ําหนักเราขึ้นมาจากต้นปีอยู่ที่สิบเอ็ดจุดสี่สามเปอร์เซ็นต์นั่นเองนะครับ ในทางกลับกลั้นนะครับ ในทางกลับกัน เพราะน้ําหนักเราบอกว่า ตอนนี้เราหนักอยู่ที่ 82 กิโลนะ แล้วเราบอกเราตั้ง Target ว่าจะลดให้เหลือ 73 กิโล เราต้องลดน้ําหนักลงไปกี่เปอร์เซ็นต์นั่นเองนะ การเปลี่ยนแปลงเราต้องกี่เปอร์เซ็นต์นะครับ เพราะฉะนั้นต้องลดกี่เปอร์เซ็นต์ เพราะฉะนั้นน้ําหนักที่เราจะต้องลดก็คือ กี่กิโลครับ 82 ลบด้วย 73 นะครับ ต้องลด 9 กิโลถูกไหมครับ ต้องลดลงนะครับ ลดลงเป็นเปอร์เซ็นต์ ก็อาจเท่าไรครับ เอา 9 นะครับ หารด้วยอะไร 73 หรือ 82 ต้องหารด้วยจุดเริ่มต้น ถูกไหมครับ ต้องหารด้วยจุดเริ่มต้นเสมอ ก็คือที่ 82 นะครับ ดังนั้นจะเหลือที่เท่าไหร่ครับ 0. 1097 นะครับ เหมือนเดิมทำให้เป็นเปอร์เซ็นต์นะครับ เอาไปคูณร้อยนะครับ อันนี้มันคือต่อหนึ่งหน่วยกิโลของเริ่มต้นของเรานะครับ เป็นคูณร้อยก็คือเท่าไหร่ครับ ลดลงไปสิบจุดเก้าเจ็ดเปอร์เซ็นต์นะครับ แล้วน้ําหนักเราต้องลดลงไปสิบจุดเก้าเจ็ด อันนี้ผม ยกตัวอย่างให้เป็นน้ําหนักเพื่อให้เรานึกภาพออกนะครับ ผมเคยเจอนะครับ นักเรียนที่มาเรียนในคลาสไอซีเนี่ย คิดประเศนกันไม่เป็นนะครับ เพราะฉะนั้นเราปูพื้นกันไว้ตรงนี้เลยนะครับ คราวนี้มาเรื่องที่มันเกี่ยวกับเรามากขึ้นแล้ว เมื่อกี้น้ําหนักผมแค่ แค่ให้เห็นภาพนะครับ มาเป็นเรื่องการลงทุนของเราบ้าง เราบอกว่าต้นปีเรามีเงินอยู่ที่หนึ่งพันหนึ่งร้อยบาทนะครับ ตรงนี้นะ เอาเงินไปลงทุน ได้เงินกลับมาปลายปีอยู่ที่หนึ่งพันสองร้อยห้าสิบบาท แสดงว่าเงินมันให้ผลตอบแทนเรามาแล้วถูกไหมครับ ผลตอบแทนกี่เปอร์เซ็นต์ อันนั้น ผลตอบแทนนะครับ ผลตอบแทนเราได้เท่าไรล่ะ นะฮะ ผลตอบแทนเท่ากับ เงี้ยครับ หนึ่งพันสองร้อยห้าสิบ ครับไหมครับ ลบด้วยหนึ่งพันหนึ่งร้อยนะครับ หนึ่งพันหนึ่งร้อย นะครับ เท่ากับได้กําไรมาเท่าไรครับ ได้ผลตอบแทนมาหนึ่งร้อยห้าสิบบาท นะฮะ หนึ่งร้อยห้าสิบบาท คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ กําไรนะครับ กําไรเป็นเปอร์เซ็นต์นะครับ ได้เท่ากับหนึ่งร้อยห้าสิบ เอามาหารอะไร นะครับ เหมือนเดิมนะครับ เอามาหารจุดเริ่มต้นนะครับ จุดเริ่มต้นของเราก็คือหนึ่งพันหนึ่งร้อยบาทนะครับ นะฮะ ก็จะได้เท่ากับ 0.13636 นะครับ ต่อการลงทุนลง 1 บาท ถูกไหมครับ เพราะฉะนั้นก็มาคูณร้อยนะครับ เท่ากับเป็นยังไงครับ ได้ผลตอบแทนที่ 13.636 เปอร์เซ็นต์นั่นเองนะครับ เพราะฉะนั้นเกิดอะไรขึ้นครับ อ่า ที่เราเห็นก็คืออะไรครับ เอาปลายงวดนะครับ ปลายงวดนะครับ มาลบต้นงวดนั่นเองนะฮะ ลบจุดลบจุดเริ่มต้นนะครับ ส่วนที่ หา คือ เรา บอกว่า เรา หา น จุด เริ่ม ต้น ตลอด นะครับ ก็ หา น ด้วย เลยครับ หา น ด้วย ต้น นั่นเอง นะครับ ตรงนี้ คือ ต้น นะครับ ต้น ง ว ด อ่า วัน หลัก การ เจอ กัน นะครับ ปลาย ลบ ต้น นะครับ หา น ด้วย ต้น ไป คิดเป็น เปอร์เซ ต นะครับ อ่า ลอง จุด อย่าง สุดท้าย ให้ดู นะครับ อ่า ผล ปรับ แทน นะครับ ผล ปรับ แทน บอกว่า ต้น ปี มี เงิน นะครับ ต้นปีมีเงินอยู่ที่ 850 บาท เอาเงินไปลงทุนกลับมาปลายปีเนี่ย เหลืออยู่แค่ 540 เป็นไงครับ ขาดทุน เจ๊ง ถูกมั้ยครับ เหมือนเดิมเราต้องเอาปลายลบต้นถูกมั้ยครับ แม้ว่าปลายมันจะน้อยกว่านะ ก็คืออะไรครับ ปลายก็คือ 540 นะครับ ลบด้วยต้นก็คืออะไรครับ มีเงินที่ 850 เพราะฉะนั้นเขาขาดทุนไปที่ 310 บาทนั่นเองนะครับ เพราะฉะนั้นขาดทุนนะครับ เป็นเปอร์เซ็นต์เท่ากับเท่าไหร่ครับ เอา 310 หารด้วยต้น ต้นคือเท่าไหร่ ต้นคือ 540 ขาดทุนเท่ากับกี่เปอร์เซ็นต์ ก็คือเท่าไหร่ครับ 0.3647 ก็เอามาทำอะไรครับ เอามาคูณร้อยนะครับ ก็จะได้เท่ากับขาดทุนอยู่ที่ลบนะครับ ตอนนี้ใส่ลบนะครับ ลบสามสิบหกจุดสี่เจ็ดเปอร์เซ็นต์ของเงินลงทุนที่ลงทุนไปนั่นเองนะครับ เพราะฉะนั้นเหมือนเดิมนะ ปลายนะครับ ลบด้วยต้นนะครับ หารด้วยต้นนั่นเองนะครับ อันนี้คือลักษณะการคํานวณนะครับ เป็นเปอร์เซ็นต์เบื้องต้นของเรานะ ต้องคํานวณให้เป็นนะครับ อันใครที่ไม่ถนัดคํานวณต้องกลับไปให้เข้าใจนะ เราจะทํากันเรื่องนี้ตลอดทั้งทั้งคลาสต์เลยนะครับนะ คํานวณ คําคํานวณเบื้องต้นอย่างอื่นนะครับ อ่า อันนี้เร็วเร็วนะครับ เล็กเล็กน้อยนะครับ ลําดับการคูณนะครับ อันนี้อาจจะดูมาก ถ้าใคร ใคร ใครเป็นแล้วนะครับ ใครให้แผ่นวิทย์มาก็ทนทนนิดหนึ่งนะครับ นะ ลําดับการคูณนะครับ ถ้าเราเห็นนะครับ ในเครื่องคิดเลขเป็นแบบนี้นะ มาเป็นอย่างงี้นะครับ สมมุติเราตั้ง เราตั้งสูตรขึ้นมาแล้ว เราเรียนไปแล้วเราตั้งสูตรขึ้นมา เราคูณกันได้อย่างงี้นะครับ สิ่งที่เราต้องทําคือ เราต้องทําตัวคูณก่อนนะครับ นะ เราค่อย อะไรนะครับ ค่อยเอามาบวกกัน ใส่งงเล่มให้เขานิดหนึ่งนะครับ เพราะฉะนั้นสิ่งที่เกิดขึ้นคืออะไรครับ สิ่งที่เกิดขึ้นก็จะกลายเป็น อ่า สามสี่สิบสอง คูณกันใช่ไหมครับ บวก เจ็ดหกสี่สิบสองนั่นเอง บวกกันสี่สิบสองเท่ากับเท่าไหร่ครับ ห้าสิบสี่นั่นเองนะครับ คําตอบนะครับ ถ้าเป็นข้อนี้ล่ะ เป็นแบบนี้ ใส่วงเล็บให้ตรงคูณก่อน ทําตรงที่คูณก่อนนะครับนะ อันนั้นจะได้เท่ากับเท่าไหร่ครับ หนึ่งบวกแปดห้าสี่สิบ ถูกไหมครับ เท่ากับสี่สิบเอ็ดนั่นเองนะครับ คราวนี้ถ้าเราเห็นในวงเล็บ สมมุติสูตรเขาให้เขียนในวงเล็บ เราท่องจํากันมาเป็นสูตรเป็นสูตร ถูกไหมครับ เราใส่วงเล็บเข้าไปเรียบร้อย ถ้าเราเห็นวงเล็บ เราต้องทําวงเล็บก่อน นั่นเองนะครับ เราต้องทําคู่นี้ก่อนนะครับ แบบที่สองนะ ทําคู่นี้ก่อนนะครับ เพราะฉะนั้น ตรงนี้คือได้เท่าไรครับ ตรงนี้คือสิบสองลบสําหรับสามได้เก้า ถูกไหมครับ ได้เก้านะ เพราะฉะนั้นสิ่งที่เกิดขึ้นก็คือ เป็นไงครับ ก็คือสามบวกด้วยเก้าคูณสองถูกไหมครับ จากข้อหนึ่งข้างบน เราเห็นคูณ เราต้องใส่องค์เล็มให้เขาถูกไหมครับ ทําคูณก่อนถูกไหมครับ ฉะนั้นตรงนี้ก็คือ ก็คือสิบแปดถูกไหมครับ เท่ากับสามบวกสิบแปดนั่นเอง ก็เท่ากับยี่สิบเอ็ดนะครับ นะ พอสองตัวอย่างที่สองเหมือนกันครับ ยี่สิบรอบสี่เท่ากับสิบหกถูกไหมครับ นะ ดังนั้นในวงเลี้ยตรงนี้เท่ากับสิบหก เราก็ เราก็เขียนมา 4 ท่านี้เราจะได้เห็นจริงๆนะครับ มันมีสูตรท่านหน้าตาอย่างนี้จริงๆนะครับในการเรียนนะครับ ก็จะเป็น 16 นะครับ คูณด้วย 0.5 นะครับนะครับ แล้วทำในมุมเล็บก่อนเหมือนเดิมนะครับ ทำตัวคูณก่อนนะครับ จะได้ออกมาเป็นที่ 12 นั่นเองนะครับ ลองกลับไปทวนทำกันดูนะครับ เศษส่วนนะครับ ถ้าเจอเศษส่วนแบบนี้แล้วมีตัวคูณข้างล่างเหมือนกันนะครับ ให้ทําตัวข้างล่างตัวคูณตรงนี้ก่อน ทําข้างในก่อนนะครับ เอาสองคูณแปดก่อนนะครับ แปดสองตรงนี้เท่ากับเท่าไหร่ครับ ออกมาจะเป็นเท่ากับสี่หารด้วยสิบหกนั่นเองนะครับ นะครับ ก็จะได้เท่ากับ กดคลิกคลิกได้เลย สี่หารด้วยสิบหกเท่ากับสูงจุดสองห้านั่นเองนะครับ ถ้าแบบนี้นะครับ เดี๋ยวผมจะมีสอนลักษณะนี้นะครับ แบบนี้นะครับ ตัวส่วนเท่ากันนะครับ เราสามารถจับเศษบวกกันได้เลยนะครับ ก็คือเอาสองบวกแปดเท่ากับเท่าไหร่ครับ สิบส่วนสิบสองนั่นเองนะครับ กดออกมาถ้ากับ กับศูนย์จุดแปดสามนะครับ อันนี้ผมขอทวนนิดหนึ่งนะครับ ในลักษณะของข้อสอบเขาจะยากนิดหนึ่งนะครับ เวลาที่เราไปเจอข้อสอบนะครับ เขาจะไม่ได้ให้เราหาเขียนสูตรปุ๊บ กอกตัวเลขแล้วหาได้เลย เขาจะชอบใช้วิธีการให้เราหาย้อนนะครับ ถ้าเราทําสมการน่ะเนี้ย ผมจะทวนเรื่องสมการเล็กน้อยนะครับ สมการของเราคือการย้ายค่าต่างต่างนะครับ ลองมาดูนะ เขาบางทีเขาจะให้ให้เราหาตัวที่ ตัวที่เรา ตัวที่ ตัวที่ค่าที่เขาควรจะให้มานะครับ เขาไม่ได้ ไม่ได้ให้มา เขาไปให้เราหาแทนนะครับ อย่างเช่นตรงนี้นะครับ บอกว่าหนึ่งบวกสามบวกเอ็กซ์เท่ากับเจ็ด นะฮะ เอ็กซ์ควรจะเป็นเท่าไหร่ นะครับ เพราะฉะนั้นจริงจริงแล้วก็คืออะไรครับ เราก็แค่จับสามย้ายข้างมา จับหนึ่งย้ายข้างมานะครับ เพราะฉะนั้น เอ็กซ์นะครับ เท่ากับอะไรครับ เวลาย้ายข้างเราต้องกลับเครื่องหมายนะฮะ ถ้วยความรู้นะครับ อันนี้ ไม่ได้ใจว่ามัธยมหรือปฐมนะ ลองดูกันดีนะ ลบอะไรครับ ลบหนึ่ง ลบสาม ถูกไหมครับ จะได้เท่ากับเท่าไหร่ครับ หมายถึงเอ็กซ์จะเท่า เท่ากับสามนั่นเองนะครับ แบบง่ายนะ ต่อมา ลองเป็นสมการแบบเสียดส่วนดูบ้างนะครับ สมการแบบเสียดส่วน ก็คืออะไรครับ คือ เขาบอกว่าสองจุดห้าเท่ากับเอ็กซ์หารด้วยสิบนะครับ การย้ายค่าสมการของเสียดส่วนก็คืออะไรครับ ถ้าเกิดหาร เราก็จับขึ้นไปคูณ ถูกไหมครับ ก็เป็นสองจุดห้านะครับ ย้ายกลับขึ้นไปนะครับ เป็นคูณ ก็คือคูณสิบนะครับ เท่ากับเอ็กซ์นั่นเองนะครับ เพราะฉะนั้น เอ็กซ์ก็จะเท่ากับ ยี่สิบห้านะครับ มาต่อนะครับ คราวนี้มาเป็นเปอร์เซ็นต์บ้างนะครับ ถ้านี้เราจะได้เจอนะ เราบอกว่าเป็นเปอร์เซ็นต์ตรงนี้นะครับ เพราะฉะนั้นเป็นเปอร์เซ็นต์ตรงนี้เราต้องแปลงให้เป็นตัวเลขธรรมดาก่อน ให้มันเป็นตัวเลขลักษณะคล้ายๆกันกับตัวอื่นๆก่อนนะครับ ยี่สิบเปอร์เซ็นต์ตรงนี้ มันเท่ากับตัวเลขธรรมดาเท่ากับเท่าไหร่ครับ เดิมเป็นยี่สิบเปอร์เซ็นต์เราคูณร้อยตุ่มเลยครับ ยี่สิบเปอร์เซ็นต์ก็คือเอายี่สิบหารร้อยนะครับ ก็เท่ากับศูนย์จุดสองนั่นเองนะครับ เพราะฉะนั้นเราเขียนตัวเลขนี้มาก็คือ เอ็กซ์หารด้วยสี่สิบเท่ากับศูนย์จุดสอง อันนี้ถ้าเราจะหาเอ็กซ์ถูกไหมครับ แล้วก็ย้ายอะไรครับ ย้ายสี่สิบตรงนี้ขึ้นไปคูณนั่นเองนะครับ ก็จะได้เขียนใหม่ก็เป็นอะไรครับ เอ็กซ์เท่ากับศูนย์จุดสองคูณด้วยสี่สิบนะครับ อันก็จะเท่ากับเท่าไหร่ครับ เท่ากับ 8 นั่นเองนะครับ นี่คือการหาสมการนะครับ ถวนลดถวนนิดหนึ่งนะครับ 8 สุดท้ายนะครับ ค่าเฉลี่ยบ้านบ้านของเราอันนี้ไม่น่ามีปัญหากันนะครับ แต่ต้องระวังการผิดพันธุ์นิดหนึ่ง เราบอกว่ามีตัวเลข 3 ตัว 4 80 นะ เฉลี่ยกันออกมาเนี่ยควรจะเป็นเลขเท่าไหร่ ก็ไงครับ เอา 4 บวก 8 บวก 10 หารด้วย 3 นั่นเองนะครับ เท่ากับ 15.33 นะครับ ตัวต่อมาก็คืออะไรครับ ถ้ามันเป็นเฉลี่ยแล้วมันเป็นลบล่ะ นะครับ เป็นลบ ก็คืออะไรครับ ก็บวกกันเหมือนเดิมนะครับ เอาสามสิบบวกด้วยเท่าไหร่ครับ ลบสิบห้านั่นเองนะครับ หรือว่าก็ลบสิบห้าไปเลย หารด้วยสองนะครับ ก็ได้เท่ากับเจ็ดจุดห้านะครับ เวลาลบลบสิบห้าอย่างงี้นะครับ เราสามารถกดเครื่องหมาย อ่า บนตัวเครื่องคิดเลขได้นะครับ อย่างงี้นะครับ สมมุติเราบอกว่า สิบห้าตรงนี้นะครับ เราอยากให้มันเป็นลบ เราแค่กดเครื่องหมายบวกลบตรงนี้ มันจะกลายเป็นลบสิบห้าเรียบร้อยนะครับ กลายเป็นลบสิบห้าเรียบร้อย ครับ โอเค เพราะฉะนั้นอย่าลืมนะครับ มันจะต้องเป็นลบนะครับนะ ตัวเลขมันจะน้อยลงนะครับ อย่าเพลิงไปบวกขึ้นมานะครับ จบเลยนะครับ อันนี้คือการคำนวณเบื้องต้นของเรานะครับ ก่อนที่เราจะไปเรียนในคลาสนะครับ เราจะคำนวณพวกนี้เป็นเรื่องปกติเลยนะครับ เพราะฉะนั้นถ้าใครที่ไม่ทันต้องทำความเข้าใจไว้นะครับ เรารู้พื้นฐานไปแล้วนะครับว่า อ่า การคํานวณพื้นฐานของเราเนี่ย เราทุนทุนกันไปบ้างแล้วว่ามันมีอะไรบ้างนะ คราวนี้เรามาดูเรื่องการคํานวณที่เราจะต้องไปเจอนะครับ ในการเรียนนะครับ การหาผลตอบแทนเนี่ย เขาจะมีหลายรูปแบบมากเลยนะครับ ตามหน้านี้นะ จะมี ของผลตอบแทนก่อนนะครับ ว่าอุมกรอบที่เราจะมาคิดหาผลตอบแทนเนี่ย เรามีอุมกรอบอะไรบ้างนะครับ ตราสารทุนแน่นอน คนที่ลองทุนจะได้อะไรครับ ได้เงินปันผลกลับมานะครับ ถ้ามีกำไรก็จะปันผลกลับมานะครับ เราเรียกว่าเป็นผลตอบแทนของผู้ที่ถือตราสารทุน กำไรจากส่วนต่างราคาคืออะไรครับ ซื้อวันนี้ที่ 100 บาทนะครับ แล้ววันหนึ่งเราไปขายแล้วราคามันสูงขึ้นไปขายที่ 120 บาท อันนี้คือส่วนต่างราคาที่มันเติบโตขึ้นของตราสารที่เราไปซื้อนะครับ เป็นกำไรจากส่วนต่างราคานั่นเองนะครับ กำไรจากส่วนต่างราคาที่ตรงนี้นะครับ ตราสารหนี้นะครับก็มีเหมือนกันนะครับ เขาได้อะไรครับ ได้ดอกเบี้ยนั่นเองนะครับ จ่ายมาทุกๆ งวดนะครับ แล้วก็เวลาขายต่อนะครับ ตราสารหนี้ก็มีการขายต่อได้เหมือนกันนะครับ ก็มีกําลัยการส่วนต่างราคาเหมือนกันหลักหลักนะครับ โดยในเรื่องการคํา ผลตอบแทนในนี้นะครับ ส่วนใหญ่นะครับ จะเป็นเรื่องของหุ้นมากกว่าของตาสารทุน หรือเรื่องของอะไรกับกองทุนมากกว่านะครับ มันจะมีรักษาเป็นเงินปันผลมากกว่านะครับ การคํานวณที่ผมจะสอนในวันนี้นะครับ จะเป็นแค่ แค่สามตัวนี้ก่อนนะครับ คร่าว นะครับ สามตัวนี้แบบง่ายนะครับ แบบแรกก็คือ อัตราผลตอบแทนลายงวดนะครับ อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยนะครับ แล้วก็ที่ต้องการนะครับ สองตัวนี้ไม่ยากนะครับ จริงจริง เมื่อสักครู่ผมได้พูดไปบ้างแล้วนะครับ เรามาดูกันนิดหนึ่งนะครับ เขาแค่นิยามชื่อเรียกนะครับ ว่าเป็นผลตอบแทนหลายงวด จริงจริงก็คือคิดผลตอบแทนบ้านบ้านของเราที่เราคิดกันไปเมื่อสักครู่นี้นะครับ ผมยกตัวอย่างเลยแล้วกันนะ ไนกอร์ซื้อหุ้นมาแปดสิบห้าบาทนะครับ ราคาหุ้นเพิ่มขึ้นเป็นเก้าสิบบาทนะครับ ปลายปีนะฮะ ซื้อต้นปีมาขายปลายปีได้เก้าสิบบาทนะครับ ระหว่างที่ถืออยู่นั้นเนี่ย เขาเป็นยังไงครับ เขาได้เงินปันผลมาอีกหนึ่งจุดห้าบาทนะครับ เพราะฉะนั้น นายกอได้ผลตอบแทนจากการลงทุนเท่าไหร่ ถูกไหมครับ ถ้าดูตามนี้ ผมก็อย่างงี้แล้วกันนะครับ ผมลองว่านให้นะครับ เป็นรูปคร่าวๆ เล็กนึงแล้วกันนะครับ เผื่อใครยังไม่ค่อยคล่องอยู่นะครับ หาต้นงวด หาปลายงวดนะครับ เราจะคิดเหมือนเดิม ปริปรับต้นถูกไหมครับ ต้นงวดเรามี 85 บาท จำไหมครับ ปลายงวดขึ้นมาเป็น 90 บาท จำไหมครับ เพราะฉะนั้นเขาเป็นยังไงครับ เขากำไรอยู่ที่ 15 บาท จำไหมครับ ทำไว้ที่สิบห้าบาท ระหว่างกลางมีอะไรไหม ระหว่างกลางมีกระแสเงินเข้ามานะครับ นะฮะ หมายถึงที่ หนึ่งจุดห้าบาทนั่นเองนะครับ เพราะฉะนั้นเราเข้าสูตรเดิมของเรานะครับ ปลายนะครับ ลบต้นนะครับ เป็นไงครับ บวกด้วยกระแสเงินนั่นเองนะฮะ กระแสเงินนะครับ หาดด้วยอะไร หาดด้วยต้นนั่นเองนะครับ หาดด้วยต้น เพราะฉะนั้นถ้าเป็นตามนี้คืออะไรครับ ปรับต้นก็คือท่าเดิมของเราก็คือ เก้าสิบลบด้วยแปดสิบห้านะครับ ปลวกด้วยกระแสเงินของเราคือ 1.5 นะครับ พอเราจะดูว่าเงินก็ได้ทั้งหมดเลย แต่การลงทุนนี้คือเท่าไหร่ ด้วยเงินที่เราลงทุนก็คือเงินต้นของเราคือ 85 นะครับ ก็เท่ากับ 0.1941 นั่นเองนะครับ ลองกดกันตามดูนะครับ ถ้าตอนนี้มีเครื่องคิดเลขลองกดตามดูนะ ได้ตรงกับผมไหม นะครับ ศูนย์หนึ่งเก้าชีวิตหนึ่งนะครับ มันยังเป็นแค่ตัวเลขตัวหนึ่งหน่วย ถ้าต้องการให้มันเป็นต่อร้อย ก็คือสร้างเป็นผลต่อแทนเป็นเปอร์เซ็นต์ นะครับ ตั้งกับเท่าไหร่ครับ เอาตรงนี้ก็เอามาคูณหนึ่งร้อยนะครับ จะได้เท่ากับสิบเก้าจุดสี่หนึ่งเปอร์เซ็นต์นะครับ การคิดแบบนี้นะครับ ก็เห็นเห็นอยู่ว่ามันก็คล้ายคล้ายเดิมถูกไหมครับ ไม่ได้มีพิเศษ มีแค่กระแสเงินโผล่เข้ามานิดหน่อยนะครับ แต่เขาจะเรียกนิยามแบบนี้กันเรียกว่า นะครับ หรือเขาเรียกว่าอะไรครับ นะครับ นะครับ เราจะคิดอันนี้เยอะมากนะครับ นะธรรมกันให้คล่องคล่องนะครับ เราจะคิดกันเยอะมากนะครับตรงนี้ คิดกันทั้งข้อสอง สอบคิดกันทุกเรื่องเลยนะครับ ผมไปต่อไปเลยนะ อันนี้ทุกคนน่าจะได้แล้ว อันนี้ตัวอย่างกับคํานวณคร่าวคร่าวนะครับ แบบที่สองนะครับ แบบที่สอง อันนี้ผมไปเร็วนิดหนึ่งนะ นะครับ คืออะไรครับ มีจํานวนหุ้นนะครับ อยู่ที่หนึ่งร้อยหุ้นนะครับ นะครับ วันที่สามสิบเนี่ย เขาซื้อมาหุ้นแล้วเท่าไรครับ ซื้อมาหุ้นละสามสิบนะครับ ต้องอ่านโจทย์ให้ออก ปัญหาคือ เราจะอ่านโจทย์แล้วเราจะจับไฟความได้ไหมนะครับ โจทย์จะยาวนะครับ ซื้อมาหุ้นละสามสิบบาทนะครับ ที่สามสิบเมษา สามสิบตุลาเนี้ย จ่ายปันผลมาหนึ่งบาท กับสองบาท คือจ่ายปันผลสองรอบนะครับ รอบหนึ่งเมษา รอบหนึ่งตุลานะครับ จ่ายมาสองก้อน ถูกไหมครับ แล้ววันปลายปีนะครับ ราคาหุ้นอยู่ที่สามสิบห้าบาท นะฮะ ได้ผลตอบแทนเท่าไหร่นะครับ เพราะฉะนั้นถ้าเกิดเราเห็นนี้ยาวยาลงงงนะครับ เราก็วาดรูปอย่างงี้ก็ได้นะครับ วาดรูปนี้ก็ได้นะครับ อันนี้เป็นอะไรครับ เป็นทามไลน์ อันนี้คือต้นปี อันนี้คือปลายปี ถูกไหมครับ เราบอกว่าต้นปีเป็นไงครับ ต้นปีได้สามสิบบาท ถูกไหมครับ มีเงินซื้อหุ้นมาที่สามสิบบาท ปลายปีหุ้น ไปอยู่ที่สามสิบห้าบาท แสดงว่าเป็นไงครับ กำไรอยู่ที่ห้าบาท นะครับ กำไรที่ห้าบาท ระหว่างงวดมีไหม ระหว่างกลางมีจ่ายมาสองรอบ ถูกไหมครับ หนึ่งบาทกับสองบาท ถูกไหมครับ นะฮะ เพราะฉะนั้น เหมือนเดิมครับ เข้าสูตรเดิมคืออะไรครับ เท่ากับ ปลายนะครับ ปลายคือเท่าไหร่ ปลายคือสามสิบห้าบาท ลบต้น เท่าไหร่ครับ สามสิบ ผูกด้วยกระแสเงิน กระแสเงินคือหนึ่ง กับอะไรครับ สอง นะฮะ ทานด้วย ต้น คืออะไรครับ สามสิบ นั่นเองนะครับ เพราะฉะนั้นเท่ากับ ศูนย์จุดสองหกหกเจ็ดนะครับ ลองกดดูนะ ภาพด้านในตรงก็ ลองทวนกันดูนะครับ ต้องทวนดู สอง ยี่สิบหกจุด หกเจ็ดเปอร์เซ็นต์ นั่นเองนะครับ ตรงนี้เราเอามาคูณร้อยนะ คูณร้อย อันนี้คือตัวอย่างนะครับ นะ ผมไปเร็วนะครับ ตอนนี้ คราวนี้เราจบเรื่อง H.P.R. แล้วนะครับ ตอนนี้ H.P.R. คืออะไรครับ คือการหาผลตอบแทนแบบบ้านๆของเรานั่นเองนะครับ เขามีชื่อนิยามไว้ให้เท่ๆนึงๆว่า H.P.R. นะครับ ต่อมานะครับ เราจะเป็นเรื่องกับการหาค่าเสรียนะครับ หาค่าเสรีย แต่แบบแรกก็คือหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตนะครับ จริงจริงมันมีค่าเฉลี่ยสองแบบนะครับ วันนี้ผมจะสอนแค่แบบเลขคณิตแบบเดียวนะครับ ก็แบบบ้านบ้านเหมือนที่เราทําไปในตัวอย่างนั่นแหละนะครับ แต่สถานการณ์หาค่าเฉลี่ยของเขาก็อาจจะไม่ได้ให้มาง่ายง่ายนะครับ ลองดูนะ เวลาเขาให้มานะครับ การหา HBR ของเรา บางทีเขาอาจจะลอกให้เราหา HBR ก่อนนะครับ แล้วค่อยให้เรามาเฉลี่ยนะครับ เพราะฉะนั้นเวลาเขาให้ HBR บางทีเขาให้มาเป็นตารางแบบนี้นะครับนะ อันนี้คือต้นนะครับ ปีที่ 0 นะครับ ปีที่ 1 ราคาหุ้นอยู่ที่ 25 เพราะฉะนั้นถ้าเกิดเราซื้อปีที่ 0 นะครับ ซื้อต้นปีนะ อันนี้คือปลายปีนะครับ ปลายปีที่ 25 บาท ระหว่างกลางมีปันผล รู้ไหมครับ อันนี้ต้นปีที่ 2 ก็คือ 25 นะครับ ปลายปีที่ 1 ก็คือต้นปีที่ 2 นั่นเองนะครับ มาเป็นเท่าไหร่ครับ ปลายปีที่สองก็คือยี่สิบสามบาทนะครับ นะครับ นะ พอ ฉะนั้น ปลายลบต้นตรงนี้นะครับ เขามีกําไรเท่าไรครับ กําไร อยู่ที่ ห้าบาท ถูกไหมครับ เพราะฉะนั้น ถ้าเกิด คู่นี้นะครับ ผมมาหา แยกมาหา ของมันคืออะไรครับ ปลายลบต้นก็คืออะไรครับ ยี่สิบห้า ลบยี่สิบ นะครับ นะ บวกด้วยสอง หาด้วยเท่าไรครับ หาด้วยยี่สิบนะครับ ฉะนั้นตรงนี้นะครับ จะได้เท่ากับ 0.35 นะครับ หรือเท่ากับ 35% นั่นเอง ผมไม่คุณรอให้ดูแล้วนะ เราตอนนี้เราจะเป็นเปอร์เซ็นต์กันได้ทันทีเลยนะครับ เพราะฉะนั้น งวดแรกนะครับ ผลตอบแทน HBR จะอยู่ที่ 35 เอง นะครับ สามสิบห้า สามห้าเปอร์เซ็นต์ นะครับ นะครับ ที่งวดที่สอง ล่ะ งวดที่สองเป็นยังไงครับ ปลายลบต้นเป็นยังไงครับ คู่นี้ ถูกไหมครับ อันนี้คือ ปลาย ถูกไหมครับ อันนี้คือต้น ถูกไหมครับ นะฮะ แต่สําหรับงวดสองนะครับ คู่นี้ เพราะฉะนั้น ปลายลบต้น ต้นกลางคือปลายก็คือยี่สิบสามลบด้วยยี่สิบห้า บวกด้วยเลยครับ บวกด้วยกระแสเงินนะครับ ก็คือหนึ่งจุดห้าตรงนี้นะครับ ด้วยต้นง่วงคือเท่าไรครับ ยี่สิบห้าและ อันนี้คือปีที่สองนะครับ จะได้เท่ากับเท่าไรครับ ได้เท่ากับขาดทุนไหม ขาดทุนนะ ตรงนี้ขาดทุนอยู่เท่าไรครับ สองบาทนะ แล้วเน็ตแล้วขาดทุนคือเท่าไรครับ ลองกดขึ้นที่เลขไล่ดูนะครับ จะได้ออกมาเป็นที่ลบนะครับ ศูนย์จุดศูนย์สองนะครับ หรือเท่ากับเท่าไหร่ครับ ลบสองเปอร์เซ็นต์นั่นเองนะครับ ดังนั้นงวดนี้นะครับ เขาจะขาดทุนอยู่ที่สองเปอร์เซ็นต์นะครับ การหาค่าเฉลี่ย แล้วก็คือไงครับ คาเฉลี่ยของ 2 งวดนะครับ เราบอกว่าลงทุนไปเนี่ย 2 ปีนะครับ 2 ปีเฉลี่ยๆ ประมาณเท่าไหร่ล่ะนะครับ 2 ปีเฉลี่ยๆ ประมาณเท่าไหร่ก็คือไงครับ ก็คือเอาปีแรกนะครับ ปีแรกที่ได้เท่าไหร่ครับ 35 บาท นะครับ เอามาบวกด้วยเท่าไรครับ ที่ขาดทุนไปปีที่สองก็คือลบสอง ถูกไหมครับ หารด้วยเท่าไร หารด้วยสองนั่นเอง คิดแบบบ้านบ้านของเรา ที่เราทํากันไปตอนแรกนะครับ นะ เท่ากับเท่าไรครับ ก็เอาสามสิบห้า กดสามสิบห้านะครับ แล้วก็ลบด้วยสองไปเลยนะครับ แล้วก็หารสองนะครับ จะเท่ากับสิบหกจุดห้านะครับ สิบหกจุดห้า เพราะฉะนั้น ลงทุนสองปีนะครับ เฉลี่ยเฉลี่ยแล้วนะครับ แบบง่ายง่า���ของเราคืนได้ผลต่อแทนประมาณสิบหกจุดห้าเปอร์เซ็นต์ นั่นเองนะครับ เขามีชื่อเรียกให้เท่ว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิตนะครับ แล้วก็หรือว่า arithmetic mean หรือ am นะครับ อันนี้จะจะย้ําให้จําทั้งชื่อ ภาษาไทยภาษาอักษณ์และตัวย่อไปนิดหนึ่งนะครับ จําในวันนี้เลยนะครับ เดี๋ยวไปเรียนจริงเราจะได้เร็วขึ้นนะครับ ที่ผ่านมาที่เราเรียนเรื่องผลตอบแทน HBR ที่ผ่านมานะครับ มันเป็นเกิดอะไรขึ้นครับ มันเกิดจากการที่ว่าเราลงทุนไปแล้ว แล้วเราก็รู้แล้วว่ามันได้กำไรเท่าไหร่ แล้วเราก็เอามาหาผลตอบแทนที่เราเรียกมันว่า HBR ถูกไหมครับ เพราะฉะนั้นทุกอย่างมันเกิดขึ้นหมดแล้วนะครับ คราวนี้ในอีกคอนเซปต์หนึ่งนะครับ ในอีกความคิดหนึ่งในการหาผลตอบแทนนะครับ คราวนี้เรากำลังจะคิดว่า ถ้าเราจะลงทุนตราสาร หรือลงทุนในสินค้าทางการเงินสักอย่างหนึ่ง กระดาษสักใบหนึ่งเนี่ย เราต้องการผลตอบแทนเท่าไหร่ล่ะ เราควรจะอยากที่จะรู้ว่า ถ้าเราจะลงทุนในคุ้นคู่ปรัตตาทอ ในคุ้นคู่ CP เราควรจะได้ผลตอบแทนเท่าไหร่ อันนี้จะเป็นเรื่องวิธีการคิดในส่วนนั้นนะครับ ว่าเราจะอนาคตเราจะลงทุนเท่าไหร่ ในเรื่องนี้มันจะดูอะไรครับ เวลาที่เราลงทุนเสมอเลยนะครับ เราจะลงทุนเราจะต้องดู 2 อย่างคือ อัตราผลตอบแทนและความเสี่ยงนะครับ เราต้องดูความเสี่ยงเสมอ เราถึงจะเรียกร้องเลยครับ เรียกร้องผลตอบแทนที่เหมาะสมกับความเสี่ยงได้นะครับ ผมขอย้อนกลับไปสไลด์ก่อนหน้านี้ที่ผมเคยพูดนะครับนะ ย้อนกลับไปนิดหนึ่งนะครับ ตัวโน้ตที่ผมเคยพูดนะครับนะ เราบอกว่าไงครับ เราบอกว่า เวลาที่เราดูนะครับ เราต้องการผลตอบแทนอยู่ที่สามเปอร์เซ็นต์ถูกไหมครับ แต่พอเวลาเราลงทุนในหุ้นคู่ปรตาทอเป็นไงครับ เราต้องการผลตอบแทนตั้งห้าเปอร์เซ็นต์ แสดงว่าเรากําลังดูอะไร เรากําลังดูความเสี่ยงนั่นเองถูกไหมครับ ความเสี่ยงของพระท่อมมันสูงรัฐบาลถูกไหมครับ แม้ว่า เขาจะเป็นบรรตทอ แต่เขาก็ยังเป็นเอกชนนะครับ เพราะฉะนั้นเขามีโอกาสที่จะล้มละลายและเบี้ยวได้ รัฐบาลไม่ล้มละลายถูกไหมครับ ในในในแอสซัมชาติของเรานะครับ เพราะฉะนั้น แล้วไอ้ส่วนต่างสองเปอร์เซ็นต์ตรงนี้ล่ะนะครับ ตอนนี้ผมกลับมาพูดตรงนี้นะครับ แสดงว่าส่วนต่างนะครับ ส่วนต่าง เท่ากับสองเปอร์เซ็นต์ตรงนี้นะครับ สองเปอร์เซ็นต์ตรงนี้มันคือชดเชยนะครับ ชดเชยสิ่งที่มันเสียขึ้นจากกรรธรรมที่มันเสียขึ้นกับรัฐบาลนะครับ เราจึงมี มีชื่อเรียกมันว่าส่วนนะครับ ชดเฉยความเสี่ยงนะครับ ความเสี่ยงนะครับ ไอ้สองเปอร์เซ็นต์เนี้ยเรามีชื่อเรียกมันว่าส่วนชดเฉยความเสี่ยงนะ เราถึงได้บวกมันมากขึ้นกว่านะครับ ผมกลับมาสไลด์ของเราเหมือนเดิมนะครับ การของเราก็คืออะไรครับ เวลาที่เราจะต้องการผลตอบแทนเนี้ย เราจะต้องดูความเสี่ยงนะครับ เพราะฉะนั้นถ้าความเสี่ยงเราสูงขึ้นนะครับ ไปทางนี้นะครับ ความเสี่ยงสูงขึ้น เราจะต้องการผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นถูกไหมครับ ผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นก็คือเป็นไงครับ ค่อยๆขึ้นไปอย่างนี้นะ ผลตอบแทนจะสูงขึ้นตามความเสี่ยง ต้องไปทางขวา แต่มันมีตัวหนึ่งที่ผลตอบแทนที่ไม่เสี่ยงคือใครครับ เราบอกว่าพันธบัตรตรงนี้นะครับ พันธบัตรคือไม่เสี่ยงนะครับ หรืออะไรครับ ตัวเงินคันนะครับ ตัวเงินคันนะครับ ตรงนี้คือเราบอกว่าเป็นตราสารที่ไม่เสี่ยงเลยนะครับ ไม่เสี่ยงกับการเบี้ยวหนี้นะครับ เขาไม่เบี้ยวหรอกนะครับ ดังนั้นอะไรก็ตามที่มันเสี่ยงกว่านี้เราจะต้องชาร์จเพิ่ม เราจะต้องบวกเพิ่ม ถูกไหมครับ สิ่งที่เราบวกเพิ่มตรงนี้ เมื่อกี้ที่เราเพิ่งคุยไปก็คือเรียกว่า ส่วนชดเฉยความสิ่งตรงนี้นะครับ เราก็จะบวกเพิ่มไป ดังนั้นส่วนต่างตั้งแต่อะไรครับ คนต้องแทนตรงนี้ สมมุติตรงนี้คือเท่าไรครับ สามเปอร์เซ็นต์มาเซ่าคู่นี้ สามเปอร์เซ็นต์ ถูกไหมครับ แม่นอน ต้องการสูงขึ้นไปเรื่อยเรื่อยนะครับ หลักทรัพย์เอตรงนี้นะครับ สมมุติตรงนี้เท่าไรครับ เจ็ดเปอร์เซ็นต์นะครับ เจ็ดเปอร์เซ็นต์ เพราะฉะนั้นส่วนช่วยความเสี่ยงตรงนี้คือเท่าไรครับ ส่วนต่างก็คือตรงนี้นั้นเอง ก็คือสี่เปอร์เซ็นต์นั้นเองนะฮะ นะครับ เราเรียกมันว่าส่วนชุดเฉยความเสี่ยงนะครับ เพราะฉะนั้นหลักการคิดง่ายๆนะครับ เราหลับหูหลับตาอะไรก็ตามเราต้องลงได้เท่ากับคัณฑบัตรศาสตราบาน เรามีเงินโยนไปอย่างเราต้องได้ 3% คัณฑบัตรศาสตราบาน เพราะฉะนั้นถ้าเราจะลงทุนละที่เสี่ยงกว่ามันต้องบวกเพิ่มนะครับ เพราะฉะนั้นเราจึงเป็นที่มานะครับ เป็นที่มาของสูตรนิดหนึ่งว่า อัตราผลตอบแทนที่เราต้องการนะครับ ย้ำว่าเราต้องการนะ เรายังไม่ลงทุน แต่เรากำลังจะไปลงทุนแล้วเราควรจะต้องการเท่าไหร่นะครับ ก็คือคิดง่ายๆก็คือเลยครับ ผลตอบแทนที่เราได้แน่ๆนะครับ ที่เราคิดว่าเราหลับลูกหลับตายนไปยังไงเขาไม่เจ๋งให้เราแน่ๆก็คือ ผลตอบแทนที่ปราศจากความเสี่ยงนะครับ พันธบัตรรัฐบาลนั่นเองที่เราคือกันไปนะ บวกด้วยส่วนชดเชยความเสี่ยงของเรา แค่นี้เองขึ้นมาเป็นสูตรแล้วพูดไปบนๆนะครับ จริงๆ มันคือสูตรๆ หนึ่งเลยนะครับนะ ต้องการเท่ากับไม่เสี่ยง บวกด้วยส่วนชดเชยเสี่ยงนะครับ จบเท่านี้เลยนะ อันนี้เวลาที่เราจะไปลงทุน เราจะรู้แล้วว่าอย่างน้อย ผลตอบแทนเราต้องได้เท่าไหร่นะครับ คราวนี้เราไปดูคำนวณนะครับ ลักษณะคำถามก็จะออกเป็นอย่างนี้นะครับนะ อัตราผลตอบแทนที่ปรัสจากความเสี่ยงเป็น 1.8 นะครับ ส่วนชดเชยความเสี่ยงเท่ากับ 3 เพราะฉะนั้นเราเป็นไงครับ เราบอกว่าเราต้องการผลตอบแทนรวมเท่าไหร่นะครับ ก็คืออะไรครับ ต้องการ ต้องการเท่ากับไม่เสี่ยง บวกชดเชยเสี่ยง ก็ได้เป็นอะไรครับ ต้องการเท่ากับ 1.8 บวกด้วย 3 นั่นเองนะครับ ต้องการเท่ากับเท่าไหร่ครับ 4.8 นั่นเองนะครับ ง่ายๆเท่านี้เองนะ อันนี้มาแบบที่ 2 ที่ผมบอกว่ารักษณะของโจทย์เนี่ยง่ายๆก็ไม่ค่อยออกนะ เขาชอบกลับเรานิดนึงให้เราหานะครับ เราต้องอ่านหนึ่งต้องอ่านโจทย์ดีดีนะครับนะ เรียนรู้ไว้ตั้งแต่วันนี้เลยนะครับ เขาบอกว่าอย่างเงี้ยครับ ต้องการนะครับ อยู่ที่สิบแปดเปอร์เซ็นต์นะครับ คนทางแทนพันธบัตรรัฐบาลอยู่ที่สี่ คราวนี้เขามาให้เราหาส่วนชดเชยความเชี่ยงเองและนะครับ เขาบอกว่าต้องการเข้าไปครับ ต้องการเท่ากับสิบแปดนะครับ มันต้องเท่ากับเท่าไรครับ ไม่เสี่ยงถูกไหม ไม่เสี่ยงก็คือสี่เปอร์เซ็นต์ บวกด้วย ชดเชยเสี่ยงเราไม่รู้ถูกไหมครับ ชดเสี่ยงถูกไหมครับ แสดงว่ามัน เข้าท่าอะไรที่เราเพิ่งเจอไป เข้าท่าสมการแล้ว เพราะฉะนั้นเราต้องการที่จะหาก็คือ ชดเฉยเสียงนี่แหละ ว่าเราจะต้องการส่วนชดเฉยเสียงเท่าไหร่ เราก็ทำไงครับ เราก็ทำการย้ายข้างสมการนั่นเอง ก็คือย้าย 4% ไป เพราะฉะนั้นก็จะได้เท่ากันเท่าไหร่ครับ 18-4 เท่ากับชดเสียงนั่นเอง และเท่ากับเท่าไหร่เอ๋ย และเท่ากับ 14% นั่นเองนะครับนะ นี่ ลักษณะเป็นเป็นสมการมานะครับนะ และขณะคําถามชอบเป็นแบบนี้ด้วยนะครับ เพราะฉะนั้น ผมถึงได้ปูพื้นสมการไปตั้งแต่ตอนแรกนะครับ อ่า ข้อที่สามนะครับ มาคล้ายคล้ายกันนะครับ ผลตอบแทนต้องการคือสิบห้า ชดใช้ความเสี่ยงอยู่ที่สิบสาม คราวนี้กลับให้เราหาฟันธบัตรนะครับ นั้นเป็นยังไงครับ สิบห้านะครับ ต้องการครับ ต้องการเท่ากับไม่เสี่ยงบวกชดใช้เสี่ยง ถูกไหมครับ เท่ากับไม่เสี่ยง บวกด้วยชดใช้เสี่ยง ชดใช้เสี่ยงตรงนี้อยู่ที่ สิบสาม ถูกไหมครับ เพราะฉะนั้นก็ท่าเดียวกันเลยนะครับ ท่าเดียวกันเลยก็คือ ย้ายข้างสมการก็คือสิบสามตรงนี้ ย้ายไปทำไงครับ ลบนั่นเองนะครับ ก็จะเท่ากับเท่าไหร่ครับ สิบห้าลบสิบสาม เท่ากับไม่เสี่ยงนั่นเองนะครับ ไม่เสี่ยง เป็นฉะนั้นไม่เสี่ยงก็จะเท่ากับสองเปอร์เซ็นต์นั่นเองนะครับ หน่วยมันเป็นเปอร์เซ็นต์ทั้งหมดอยู่แล้วนะครับ ผมอาจจะไม่ได้เขียนนะครับ นะ มันก็เลยไม่จําเป็นต้องไปหาร้อยคูณร้อยทั้งสิ้นนะครับ อันนี้ก็คือ คือตัวอย่างการคำนวณนะครับ วิธีที่เราจะหาผลตอบแทนที่เราต้องการนะครับ ว่าจะลงทุนสักอย่าง เราควรจะเรียกร้องผลตอบแทนเท่าไหร่ พออันนี้เราหาผลตอบแทนที่เราต้องการได้แล้วนะ สิ่งที่เราต้องรู้คือ ไอ้คำที่เราพูดกันว่า ความเสี่ยง ความเสี่ยงต้องคุ้มกันเนี่ย ไอ้ความเสี่ยงมันหมายถึงอะไรนะครับ ทำความเข้าใจกันไว้ตรงนี้เลยนะครับ ความเสี่ยงนะครับ ขอขยายนิดนึงนะ ความเสี่ยงนะครับ หมายถึงอัตราผลตอบแทนนะครับ ที่มีโอกาสเบี่ยงเดรต์หรือแตกต่างจากที่คาดเอาไว้นะครับ เอาแค่ต่างจากที่ ที่คาดเอาไว้นะครับ ไม่ว่าจะมันจะเป็นกําไรหรือมันจะเป็นขาดทุน มันจะบวกมันจะเป็นลบนะครับ ถือว่าเป็นความเสี่ยงหมดนะครับ ลองนึกภาพดูนะครับ ผมจะวาดรูปตรงนี้ขึ้นมานะครับ อย่างงี้นะครับ อันนี้คือผลตอบแทนที่เราต้องการนะ ประมาณเอกบาลตรงนี้ค่าเฉลี่ยของเรานะครับ ผลตอบแทนที่เราต้องการตรงนี้ อันนี้เราต้องการนะ ต้องการสมมุติอยู่ที่สี่เปอร์เซ็นต์นะครับ สี่เปอร์เซ็นต์ ปรากฏว่าเราลงทุนจริงจริงแล้วเนี่ย ผลตอบแทนของหุ้นที่เราได้มามันเป็นอย่างงี้นะครับ เดี๋ยวมันก็ขึ้น เดี๋ยวมันก็ลง มันก็ขึ้ มันก็ขึ้นมันก็ลงอย่างงี้นะครับ มันไม่ได้เป็นไปตามที่เราต้องการหรอกนะครับนะ แสดงว่าเกิดอะไรขึ้นครับ ไอตรงที่มันเป็นตรงพวกนี้นะครับ พวกนี้นะฮะ ที่มันขึ้นขึ้นลงลงตรงนี้นะครับ ทั้งด้านขึ้นนะ ด้านที่สูงกว่าสี่เปอร์เซ็นต์ หรือด้านที่ต่างกว่าสี่เปอร์เซ็นต์ ตรงนี้เราถือว่าเรียกว่าความเสี่ยงหมดนะครับ เพราะว่าอะไรครับ เพราะมันไม่เป็นไปตามที่เราคาดนะครับ เราถือว่ามันเป็นความเสี่ยงทั้งสิ้นนะครับ ถ้าเราลองมาดูคู่กับภาพนี้นะครับ ภาพนี้ สี่เปอร์เซ็นต์เหมือนกันนะครับ ถ้ามีหุ้นตัวที่สองนะครับ แล้วขนาดมันเป็นอย่างงี้ อย่างงี้นะครับ อันนี้คือหุ้นเอนะครับ อันนี้คือหุ้นบี ถ้าเราเห็นสองตัวนี้หุ้นตัวไหนมีความเสี่ยงมากกว่ากัน แน่นอนครับ ยิ่งมันเวี่ยงมากถูกไหมครับ ยิ่งมันมีอะไรครับ เวี่ยงเบนไปจากที่เราต้องการมากนะครับ อย่างนี้ แบบนี้นะครับ เบียงเบียนจากที่เราต้องการมากๆ อย่างนี้ครับ ตรงนี้เบียงเบียนไปนิดหน่อย ค่อนข้างเกาะกว่าที่เราต้องการ แสดงว่าหุ้น A ตรงนี้มีความเสี่ยงสูงกว่านะครับ อันนี้เราเรียกว่ามันมีความเสี่ยงสูงกว่านะครับ อันนี้เราเข้าใจแล้วความเสี่ยงนะครับ จะไม่ได้ดูเฉพาะด้านที่เราเจ๊งหรือขาดทุนนะครับ ในความเมื่อเซ็นต์ของเราจะคิดว่าขาดทุนคือความเสี่ยงนะครับ กำไรนะครับ กำไรแบบที่เราไม่ได้คาดหมายก็คือความเสี่ยงเหมือนกัน เพราะเราหมายความว่าไงครับ เราก็มีโอกาสที่จะไม่กำไรแบบนั้นเหมือนกันนะครับ อันนี้ตามสถิติแล้วนะครับ สิ่งที่เราจะใช้ในการวัดความเสี่ยงนะครับ ที่มันเป็นอยากขึ้นอยากลงพวกนี้นะครับเสี่ยงมากเสี่ยงน้อยนะครับ เราจะมีค่าของมันที่เรียกว่าส่วนเบียนเบนมาตรฐานนะครับหรือ นะครับเห็นแล้วอย่าเพิ่งตกใจนะครับส่วนอยู่ในมาตรฐานเราแค่ เข้าใจมันว่ามันคือความเสี่ยงนะครับเราไม่ได้ต้องไม่ได้ต้องหาคํานวณ มันนะฮะในไอซีเขาไม่ได้ให้เราหานะเขาจะให้มาเลยนะครับแต่เราต้อง ใช้ให้เป็นนะครับใช้ให้เป็นแกนเอามาใช้ใช้ยังไงนะครับเรื่องนี้หลักหลัก ผมขอแนะนําตัวสุดท้ายของบทนี้นะครับก็คือเรื่องของสีวีนะครับค่าสีวี เดี๋ยวผมจะไปพูดว่ามันคืออะไรนะครับ แต่หลักการใช้มัน ไอเดียมันเป็นอย่างงี้นะครับ ผมขยับมาดูตารางตรงนี้นิดหนึ่งนะครับ ผมบอกว่าถ้ามีหลักทรัพย์ A หลักทรัพย์ B นะครับ อัตราผลตอบแทนนะครับ อยู่ที่ 3% กับ 25% นะครับ มีส่วนแบ่งแบ่งหน้าทางคืออะไรครับ ที่มันจะเบี่ยงเบนไป คือความเสี่ยงนั่นเอง ความเสี่ยงตัวหนึ่งอยู่ที่ 1.8 นะครับ แต่อีกตัวหนึ่ง 19 เลย ตัวไหนเบี่ยงเบนมากกว่า ตัว 19 ใช่ไหมครับ แสดงว่ามันเบี่ยงสวิงมากจากที่เราต้องการ ถูกไหมครับ กับที่ 1.8 เนี่ย มันอาจจะกรอกกรอกกว่าที่เราต้องการ ถูกไหมครับ แสดงว่าตัวหนึ่งความเสี่ยงสูง หุ้น B ความเสี่ยงสูง หุ้น A ความเสี่ยงต่ำ ถูกไหมครับ แต่แน่นอนด้วยความเสี่ยงสูงเนี่ย หุ้น B เนี่ย มันก็ให้ผลตอบแทนที่สูงด้วยที่ 25% ในขณะที่หุ้น A เนี่ย มันให้ผลตอบแทนแค่ 3% นะครับ ว่าจะลงทุนหุ้น A กับหุ้น B อันไหนดีกว่า ในเมื่อ 25% ได้มาก็เสี่ยงสูงอีก แต่ที่ 3% เนี่ยมันความเสี่ยงสูง ความเสี่ยงต่ำเหมือนจะได้แน่ๆ เราจะเอาเลยดีนะครับ สิ่งที่เราจะต้องดูนะครับ เรามีวิธีดูตรงนี้นะครับ ว่าเราจะเลือกหุ้นไหนดีนะ เราจะดูมันว่า ผลตอบแทนที่ได้มามันคุ้มความเสี่ยงไหมนะครับ การดูว่าคุ้มความเสี่ยงไหมนะ เราจะเรียกมันว่าอะไรครับ เรียกมันว่าการคำนวณค่าสัมประสิทธิ์ความแปรผันนะครับ หรือ Coefficient of Variance ตรงนี้นะครับ ก็คือ CV นะครับ 1 ข้อจะได้โดนข้อสอบแน่นอนนะ รู้ตั้งแต่วันแรกอันนี้ก็ดีนะครับ มันคือการอะไรครับ มันไม่ยากเลย มันแค่เอาความเสี่ยง ก็คือส่วนบินในมาตรฐานหารด้วยผลตอบแทนนะครับ ก็คือเอาเสี่ยงหารด้วยผลตอบแทนนั่นเองนะครับ เพื่อมาดูเลยครับ เพื่อมาดูว่า ผลตอบแทนหนึ่งหน่วยนะครับ ที่เรา ที่เรา ที่เราได้มาเนี่ย เราใช้ความเสี่ยงไปแลกมามากน้อยแค่ไหนนะครับ สิ่งที่เขาให้มานะครับ เขาจะให้มาท่านี้แหละนะครับ เขาจะให้ส่วนบินในมาตรฐานมาเลย แล้วก็แค่มาคํานวณดูนะครับ ว่าเราจะเลือกหุ้น A หรือหุ้น B นะครับ เราก็เอาสูตรเดิมก็คือ CV ของเรา ก็คือสูตรเป็นแบบมาตรฐานนะครับ SD นะครับ หารด้วยผลตอบแทนนั่นเองนะ แล้วเราก็ เราก็ทําการหารกันเลยก็คือเอา 1.8 นะครับ หารด้วย 3 นะครับ กับตัวที่สองก็เลยครับ 19 หารด้วย 25 นั่นเองนะครับ มีสองตัวนะครับ หุ้น A กับหุ้น B เพราะฉะนั้นหลักทรัพย์ A หลักทรัพย์ A ถ่ายแล้วมาแล้วได้เท่าไร หลักทรัพย์ A หันออกมาแล้วได้ที่ 0.6 นะครับ หลักทรัพย์ B หันออกมาแล้วได้ที่ 0.76 นั่นเอง ตัวเลข 0.6 แล้วอ่านค่ามันได้ว่าไง 0.6 หมายความว่าที่อัตราผลตอบแทน 1% เราไปแลกความเสี่ยงมาที่ 0.6 ถูกไหมครับ เรามีความเสี่ยงอยู่ 0.6 ในการได้ 1% มา หุ้น B เราบอกว่าที่ผลตอบแทน 1% เราไปแลกความเสี่ยงมาที่ 0.76 นะครับ เราใช้ความเสี่ยง เรามีความเสี่ยงที่ 0.76 นะครับ เพื่อจะได้มา 1% เพราะฉะนั้นจะกลายเป็นว่า 2 ตัวนี้นะครับ อยู่ที่ฐานเดียวกันแล้ว ที่ผลตอบแทน 1% เท่ากัน ใครไปใช้ความเสี่ยงมากกว่า ถูกไหมครับ ฉะนั้น CV จะบอกเราตรงนี้ เพราะฉะนั้นแน่นอนเราจะต้องอยากได้ความเสี่ยงน้อย ถูกไหมครับ เพราะฉะนั้นหลัก Sub A จะดูเป็นที่น่าสนใจ และน่าลงทุนมากกว่า เพราะผลตอบแทน 1% มา เราไปแลกมาด้วย... ซึ่งความเสี่ยงแค่ 0.6 ซึ่งน้อยกว่านะครับ เพราะฉะนั้นตัวค่า CV ตรงนี้นะครับ เราจะเลือกตัวนี้นะครับ หลักทรัพย์ A นะครับ CV ผมสรุปมาก็คือ ยิ่งน้อย ยิ่งน่ารงทุน มันก็คือเราไปแลกความเสี่ยงมาน้อยนั่นเองนะครับ แต่แน่นั้นนี้คือเรื่องของ CV นะครับ ที่เราจะต้องรู้ไว้นะครับ เราใช้ในชีวิตจริงได้นะครับ เวลาที่เรามีหลักทรัพย์หลายๆ ตัว มีความเสี่ยงและผลตอบแทนที่ไม่เท่ากัน เราก็เลยไม่รู้ว่าจะปรับเบสยังไงให้มันเท่ากันนะครับ ตอนนี้เรามาเป็นการปรับเบสด้วยผลตอบแทนหนึ่ง ทั้งหมดเท่ากันนะครับ ลองไปใช้ดูนะครับ