Transcript for:
สรุปฟิสิกส์แสงเชิงรังสี ม.5

สวัสดีครับนักเรียน วีดีโอนี้ ครูก็จะมาสอนติวสรุปฟิสิกส์ม.5 นะครับบทที่ 11 แสงเชิงลังศรี วีดีโอติวสรุปฟิสิกส์นะครับบทที่ 11 นี้นะ ก็เหมือนวีดีโอติวสรุปฟิสิกส์ทุกๆบทนะครับที่ครูสอนให้กับนักเรียนนะ วีดีโอนี้นักเรียนน่ะสามารถเจอได้ 2 ที่นะครับ ที่แรกก็คือใต้วีดีโอสุดท้าย สุดท้ายนะครับในแต่ละบท สมมุติในบทนี้นะครับแสงเชิงรังสีมีหกวิดีโอนะครับ นักเรียนเรียนวิดีโอที่หกเสร็จปุ๊บนะครับวิดีโอที่ วิดีโอต่อจากนั้นนะครับพอเรียนเนื้อหาเสร็จ วิดีโอต่อจากนั้นก็เป็นวิดีโอติวสรุปหลังจากวิดีโอติวสรุปก็จะเป็นวิดีโอเฉลยแบบฝึกหัดนะครับจริงจริงแล้วก็จะเป็นแบบทดสอบให้กับนักเรียนเพื่อเตรียมตัวนะครับที่จะไปสอบกลางภาคหรือไปสอบปลายภาคได้นะนักเรียนควรจะทําแบบฝึกหัดตรงนี้นะครับ ด้วยตัวนักเรียนเองหลังจากนั้นค่อยมาดูเฉลยนะครับในวิดีโอถัดไป นอกจากที่ใต้วิดีโอการสอนแล้วนะครับ คือเรียนเนื้อหาจบเราสรุปเสร็จแล้วนะครับคุยังมีแถบพิเศษขึ้นมานะ ในข้อเรียนของคุณจะมีแถบพิเศษแถบพิเศษตัวนี้ก็อยู่ใต้วิดีโอปกตินะครับ เป็นวิดีโอสรุปโดยเฉพาะเลยสมมุติว่าเวลาเหลือน้อยไม่ทันนะครับ นักเรียนก็มาดูวิดีโอสรุปโดยเฉพาะก็จะมีวิดีโอสรุปทุกเรื่องนะครับ อยู่ในนี้ อ่านักเรียนเจอได้สองที่นะครับที่ที่สามนะครับ ในยูทูปก็มี ในเฟซบุ๊กครับจะพยายามโพสต์ให้กับนักเรียนนะครับมีนักเรียนถามว่าครูจะ สรุปให้ทุกบทเลยไหมนะ คำตอบก็คือในค้อนเรียนของคู่นะครับนักเรียนได้เรียนทุกบทแน่นอนนะครับ แต่คู่จะถยอยอัพเดทให้ อัพโหลดให้นะครับโอเค ในเรื่องของแสงเชิงรังสีนั้นนะครับ ก็ต่อจากแสงเชิงคลื่นทั้งเรียนจำได้ในแสงเชิงคลื่นนั้น เราเรียนการแทรกสอนและการเลี้ยวเบนของแสงการแทรกสอนก็คือ คู่กับ นะครับ สําหรับสําหรับการเลี้ยวเบนนะครับ ก็อยู่ในเรื่อง เดี๋ยวนะครับ ถ้าเรียนยังไม่ได้เรียนหรือกำลังจะสอบเรื่องแสงเชิงขึ้นนะครับเรียนก็ย้อนกลับไปดูวีดีโอติวสรุปเรื่องแสงเชิงขึ้นได้ในเรื่องแสงเชิงลังสีนั้นก็จะเป็นอีกสองสมบัตินะครับของขึ้นแสงก็คือการสะท้อนและการหักเหแน่นอนแสงที่เคลื่อนที่มามันเป็นเส้นตรงเป็นลังสีนึกออกว่าเดี๋ยวนั้นนะครับ วันนี้เลยชื่อว่าแสงเชิงลังสีเมื่อลังสีของแสงไปตกกระทบผิวสะท้อนเกิดอะไรขึ้นนะ แน่นอนมันก็จะสะท้อนหรือเมื่อลังสีของแสงนั้นเคลื่อนที่เข้าสู่ตัวกลางอื่นมันก็จะหังเหนั่นเองนะครับ โอเค เรามาดูเรื่องแสงเชิงลังศรีกันเลยนะครับ เป็นการเรียนนะครับเรื่องการสะท้อนกับการหักเหนะครับ ของแสงนะจริงจริงบทนี้ควรอยู่ก่อนบทแสงเชิงขึ้นนะ ไม่รู้นะตามความรู้สึกของครูว่ามันเป็นสะท้อนหักเหก่อนไง นะครับแล้วค่อยแทรกสอดกับเลวเบน เอาล่ะเรามาดูกันเลยนะครับจิลสรุปฟิสิกส์มอร์ 5 บทที่ 11 แสงเชิงลังศรีครับ จริง แล้วก็ไม่มีอะไรยากนะ จริง คุณสรุปง่าย ก็ได้นะครับการสะท้อนของแสงนะ มีกฎการสะท้อนสองข้อแล้วเรากดการสะท้อนสองข้อไปใช้นะครับ มุมตกธพเท่ากับมุมสะท้อนนะครับลังสีตกธพ ลังศีรษฐ สะท้อนเส้นแนวฉากอยู่บนละนาบเดียวกันจบเลยนะครับที่กฎการสะท้อนสองข้อ สําหรับเรื่องการหักเหตุก็กฎของสะเนวนะครับจริง ทําโจทย์ได้เลย แต่ครูมักจะลงรายละเอียดให้กับนักเรียนคือเราจะได้รู้แบบรู้จริง รู้เป๊ะ ไปเลยนะครับ เรามาดูกันนะครับ เรื่องกฎการสะท้อนเรื่องการสะท้อนของแสงนั้น นักเรียนจะต้องทราบว่าเมื่อรังสีของแสงไปตกกระทบสิ่งกิดขวางนี่เป็นสิ่งกิดขวาง แน่นอนมันก็จะสะท้อนเส้นที่ตั้งฉากกับสิ่งกิดขวาง หรือกับผิวสะท้อนนั้นเราเรียกว่าเส้นแนวฉากเส้นแนวฉัน เส้นแนวฉากเมื่อก่อนถูกเรียกว่าเส้นปกตินะครับ เพราะภาษาอังกฤษมีชื่อว่า Normal Lineเราก็แปรตามตัวมาเลยนะ Normal Line เส้นปกติ Normal นะครับ ปกติแต่ว่าจริงจริงแล้ว Normal ถ้าเป็นพูดถึงเส้นนะครับ มันคือการตั้งฉากนะหรือว่า Line A Normal to B ก็จะเส้นตรง A ตั้งฉาก หรือเส้นตรง Bอันนั้นก็เปลี่ยนชื่อเป็นเส้นแนวฉากนะครับ ทีนี้ หลักสำคัญคือนะครับรังสินของแสงเมื่อเคลื่อนมานะครับ มันก็จะตกกระทบนะ มุมตกฐพกับมุมสะท้อนนั้นนะครับ เราวัดกับเส้นแนวฉากเสมอในตั้งหนึ่งคือมุมตกฐพเราวัดจากมุมนี้นะครับข้อสอบชอบหลอกเรา ข้อสอบชอบให้มุมนี้มาคือมุมที่ทำกับผิวสะท้อนนะครับสมมุติโจทย์บอกมุมที่ทำกับผิวสะท้อนเป็น 60 บงษาก็คือต้องรู้ว่าเออจริงจริงแล้วมุมตกฐพอ่ะมันไม่ใช่ 60 นะแต่มันเป็น 30 อันนี้ต้องรู้เองนะครับซึ่งแน่นอนถ้าเราเอามุม 60 ไปใช้ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการสะท้อนหรือการหักเห มันก็จะผิด ดังนั้นการวัดมุมโจทย์ก็ต้องบอกด้วยว่าเออวัดจาก วัดจากมุมไหน วัดจาก เอ่อวัดจากเส้นไหน วัดจากเส้นปกติหรือวัดจากผิวสะท้อนนะครับซึ่งตอนนี้ไอมุมตกกระทบกับมุมสะท้อนนั้น เราวัดกับเส้นแนวฉากนะไอมุมนี้ กระทบ มุมสะท้อนก็สะท้อนออกไปนะครับ โดยหลักการแล้วนะครับตามกฎการสะท้อนสองมุมเนี้ยเท่ากัน คือไงว่าเซตาหนึ่งนะครับมีค่าเท่ากับเซตาสอง นี่กฎข้อแรกของการสะท้อนก่อนเพราะที่สองก็บอกว่ารังสีตกกระทบนะครับ ที่มาตกกระทบเนี้ยนะครับกับรังสีสะท้อนกับเส้นแนวฉากอยู่บนระนาบเดียวกัน คําว่าอยู่ในบนระนาบเดียวกันแปลว่าเราสามารถพินามันเป็นสองมิติได้นะครับ ตกกระทบปุ๊บสะท้อนนะครับ หรือตกกระทบอย่างงี้ปุ๊บสะท้อนเข้าหน้าเราเป็นไงไม่ได้นะ หรือตกกระทบบนละหน้าของหน้าจอบนละหน้าของกระดานก็ต้องสะท้อนบนละหน้าของกระดานนะครับไม่ว่าตกกระทบมาทางนี้สะท้อนเข้าหน้าด้านเหลี่ยนอันนี้ไม่ได้ ทีนี้ในเรื่องการสะท้อนนั้นเราไปประยุกต์ใช้เรื่องอะไรบ้างนะครับกูก็จะไล่ตั้งแต่เรื่องแรกนะในเรื่องกระจกมองระนาบนะครับ ถัดมาก็คือการมองเห็นภาพในกระจกนะการมองเห็นภาพกับการเกิดภาพไม่เหมือนกันนะครับ แยกจากกัน เดี๋ยวเราจะมาดูว่ามันแตกต่างกันยังไง เรื่องถัดไปก็เป็นการมองเห็นตัวเราได้ทั้งตัวในกระจก แล้วก็เรื่องการหมุนกระจกนะครับอีกแล้วมีเรื่องการเคลื่อนที่เข้าหากระจก หรือกระจกเคลื่อนที่เข้าหาเราด้วยนะครับเดี๋ยวเราจะเจอในโจทย์ คุณอธิบายในโจทย์แล้วกันแล้วมีเรื่องการมองนะครับ การมองเห็นภาพด้านหลังตัวเราในกระจกก็อธิบายในโจทย์แล้วกันนะครับ นักเรียนก็ลองทําดูเพื่อให้นักเรียนได้ติดตามตอนเฉลยโจทย์ด้วย หรือถ้าลองทําดูแล้วสงสัยก็ลองดูนะครับ ในกระจกมองรนามนั้นนะครับ ครูขอแยกนะ เป็นสองเรื่องดังนี้นะเรื่องแรกคือการเกิดภาพ กับเรื่องที่สองคือการมองเห็นภาพการมองเห็นภาพนั้นก็อยู่ในหัวข้อถัดไปนะครับ 1.3 นะแต่ว่าอันนี้ครูขอใช้พื้นที่ตรงนี้เลยนะครับ ในการอธิบาย ในการเกิดภาพนั้นนะครับ เราสามารถว่าทางเดินของแสงนะแสงก็ออกจากวัตถุเสมอนะ จริงจริงแล้ววัตถุนะครับไม่จําเป็นต้องมีแสง แต่แสงจากสิ่งแวดล้อมนะครับมาตกกระทบวัตถุ แล้วแสงจากวัตถุก็สะท้อนไปอย่างกระจกดังนั้นตอนนี้จุดเริ่มต้นของแสงจึงออกจากวัตถุเสมอแต่วัตถุไม่จําเป็นต้องมีแสงนะครับ แสงจากสิ่งแวดล้อม เอาอีกทีมาตกกระทบวัตถุ แสงจากวัตถุนะครับ ไปตกกระทบกระจก อ่าดังนั้นแสงจึงเริ่มจากวัตถุเลยนะครับ ไม่สนใจว่า สิ่งแวดล้อมมันเป็นยังไงนะ แน่นอนถ้าห้องมืดมิดเราก็ไม่เห็นภาพอยู่ดีเพราะไม่มีแสงไปตกกระทบวัตถุการเกิดภาพนั้นนะครับ หลักการก็คือรั่งสีของแสงจากวัตถุสองรั่งสีนะครับ ตกกระทบกระจกนะครับแล้วสะท้อนไปจัดกัน คำว่าสะท้อนตรงนี้นะครับนักเรียนต้องทราบว่ามันเป็นไปตามกฎการสะท้อนก็คือขอแค่วาดมุมตกกระทบกับมุมสะท้อนให้เท่ากันนะครับ พอ ทีนี้พอสองรังสีไปตัดกันนะครับ จุดที่รังสีตัดกันนั้นนะครับก็เกิดเป็นภาพ นี่คือการเกิดภาพแต่การมองเห็นมีเงื่อนไขเพิ่มเข้ามานิดหนึ่งนะครับ ว่าไอ้แสงนะครับต้องเข้าหาตาของเราได้ คือถ้าเราปิดตาก็มองไม่เห็น พูดง่ายง่ายอ่ะ ดังนั้นในที่นี้การเกิดภาพนะครับ ก็ชัดเจนว่า รังสีจากวัตถุสองรังสีนะครับไปตกรอบกระจก สะท้อนไปตัดกันนะ เกิดเป็นภาพแต่มองเห็นเมื่อนะครับ ไอ้รังสีที่สะท้อนเนี่ยนะครับสะท้อนต่อกระจกเนี่ยนะครับ เข้าตาของเรา อืมดังนั้นตาใครตามันนะครับ ไม่ได้เล่นเกมตา ไม่ได้เล่นเกมหมักลุกนะ ตาใครตามแล้วเรามองเห็นภาพก็ต่อเมื่อแสงที่สะท้อนจากกระจกนะครับ เข้าตา เข้าตาผู้มองนะครับ แปลว่าทำอะไรก็ตามแสงไม่สามารถสะท้อนเข้าตาได้จบนะครับอาจจะเกิดภาพแต่มองไม่เห็น ซึ่งคุณขอสรุปไว้ตรงนี้ว่าถ้ากระจกมีขนาดนะครับน่าจะเกิดภาพของวัตถุนั้นได้เสมอ แต่ว่ามองเห็นหรือเปล่าอยู่ที่นักเรียนหมุนกระจกให้มันดีๆนะครับแล้วให้มันสะท้อนเข้าหาตาเราได้เราก็จะมองเห็น เรามาดูการวาดรังสีของแสงนะครับตอนนี้วัตถุนะครับ วัตถุก็เป็นรูปสามรูปลูกศรนะครับ อยู่ทางด้านซ้ายมือ แล้วเราจะวาดภาพทะเลินของแสงเพื่อจะดูว่า เออลังสีของแสงไปตัดกันยังไงนะครับ เกิดเป็นภาพนะครับที่อยู่ทางด้านขวามืออันนี้เนอะ ลังสีแสดงแรกนะครับสําหรับการพินากระจกราบนะครับ ก็มักจะเป็นลังสีที่ตั้งฉากกับกระจกเหตุผลนะครับ เพราะมันจะสะท้อนในแนวตั้งฉากด้วยในรังสีตกรบกับรังสีสะท้อนเส้นแรกก็ ไม่มีปัญหานะครับพึ่งเข้าไปตั้งฉากแล้วก็สะท้อนลงมา รังทีนี้ ลังสีตกธพกับสะท้อนเต้นที่ 2 นะครับ นักเรียนไปตกธพกับสะท้อนที่ไหนก็ได้โดยอาศัยหลักการว่ามุมตกธพกับมุมสะท้อนต้องเท่ากันนะครับถ้าวาดไม่เท่ากันก็ไม่ใช่ผิด วาดใหม่ แล้วรังสีเท่านี้ 2 ก็คู่ขอว่าด้วยสีฟ้านะ พอตกแล้วปุ๊บนะครับ ก็สะท้อนออกไปการสะท้อนไปนี้นะครับ นักเรียนเห็นว่ารังสีที่มันสะท้อนไปจริงๆ เนี่ยนะครับมันไม่ได้ไปตัดกัน ก็แน่นอนเป็นบานออกจากกัน ยังไงก็ไม่ตัดวิธีการทำให้มันตัดกันก็คือต่อถอยหลังนะครับไฟรังสีสีฟ้าเนี่ยนะครับ เสมือนนะมาจากจุดข้างหลังนี้ และแน่นอนในลังสีที่หนึ่งก็ต่อลากถอยหลังมาเป็นลังสีเสมือนเหมือนกันนะครับลังสีสองเต้นนี้ตัดการเกิดเป็นภาพนะ ภาพ ภาพนี้ก็คือภาพเสมือนก็คือเสมือนนะครับว่ามาจากไอ้ข้างหลังตรงนี้นะ ตรงนี้ตัดการนะครับจุดที่ตัดการเกิดเป็นภาพ จากความรู้เรื่องมุมและเรื่องสามเหลี่ยมนะครับ สามเดี่ยมคล้ายนะครับ สามเดี่ยมที่เท่ากันทุกประการนะเราจะได้ว่าระยะวัตถุกับระยะภาพนั้นมันเท่ากันและขนาดวัตถุกับขนาดภาพนั้นมันเท่ากันนะครับระยะวัตถุก็คือตรงนี้นะครับ s ระยะภาพคือตรงนี้นะครับ s ดัดดังนั้นสําหรับกระจกเมาราบเมาราบนั้นนะครับเราจะได้ว่าระยะภาพนะครับ มีค่าเท่ากับระยะวัตถุเสม และนะครับ y แดดคือขนาดภาพนะครับ กับขนาดวัตถุก็เท่ากันด้วยอันนี้คือเรื่องแรกก็คือการเกิดภาพจากกระจกเวารันอัพนะครับระยะภาพเท่ากับระยะวัตถุ และขนาดภาพเท่ากับขนาดวัตถุถัดมานะครับ เพียงแต่ว่ามีลักษณะกลับซ้ายเป็นขวานะครับ ถัดมานะครับ เรามาดูเรื่องการมองเห็นนะครับ ในหัวข้อที่หนึ่งจุดสามการมองเห็นภาพในกระจก ก็ต่อจากการเกิดภาพนิดหนึ่งนะครับคือการเกิดภาพรังสีสองรังสีนะครับ อีกทีหนึ่ง ตกรับกระจกนะครับตกรับตรงไหนก็ได้ จริงจริงแล้วย้ําว่าตรงไหนก็ได้นะเพียงแต่ว่ามันต้องสะท้อนตามกฎการสะท้อนนะครับ ก็ถ้ารากรังสีจริงไม่ตัดไม่เป็นไร ลากย้อนกลับไปให้มันตัดกันนะครับจุดที่ตัดเป็นจุดที่เกิดเป็น เป็นตําแหน่งของภาพอ่ะนะครับ ถัดมาการมองเห็นภาพในกระจกรณาบนะครับ เรามองเห็นภาพนะครับเมื่อรังสีของแสงนั้นสะท้อนเข้าตาได้นะครับ อันนี้คือรูปดวงตานะครับตา มีคิ้วด้วยนะ มีขนตา เอ่อ วัตถุนะครับก็อยู่ข้างบนนี้นะครับ ภาพอยู่ตรงนี้นะครับจริงจริงแล้วกระจกตรงนี้ไม่ได้อยู่ในรณาบนะครับ ไม่ได้อยู่ในแนวเดียวกับวัตถุนะแต่แน่นอนมันเกิดภาพของของไอ้วัตถุ ชิ้นนี้นะครับ ตอนนี้ถ้าว่าทางเดินของแสงก็ลังสิตกระทบลังสีแรกนะครับตกกระทบกระจกนะครับ แล้วก็สะท้อนนะ นี่ลังสีที่หนึ่งนะครับลังสีที่สองก็ตกกระทบแบบเอียงเอียงก็ได้นะครับ ยังไงมันก็สะท้อนตามกฎการสะท้อนอยู่แล้วนะตกกระทบแล้วก็สะท้อน หลังจากนั้นนะครับ สองลังสีนี้ไม่ตัดกันก็ต่อถอยหลังเกิดเป็นภาพนะครับ ภาพภาพนี้นั้นนะครับถ้าท่านรักเรียนอยู่ ณ ตําแหน่งของตานะครับตานี้นะครับ จะสามารถเห็นภาพได้ เห็นภาพได้เนื่องจากลังสีนิสทธรณ์เข้าตา ดังนั้นถ้านักเรียนเอาฉากมาบังมีวัตถุทึบแสงอยู่ตรงนี้ แต่ว่าอย่าไปบังการสะท้อนของแสงคำถามคือ เราจะยังสามารถเห็นภาพนี้ไหมคำตอบคือ นักเรียนสามารถมองเห็นภาพ ภาพนี้ได้ตรงนี้นักเรียนต้องไม่ลืมว่า ภาพไม่ได้อยู่อย่างนี้นะไอ้นี่วัตถุนะครับ ภาพอยู่อย่างนี้ นักเรียนว่า ถ้านักเรียนว่าแสงนะครับ ตั้งแต่รังสีเสมือนเนี่ยนะครับมันเข้าตาได้เห็นไหม นะครับ แสงนี้ไปเข้าหาตาเราได้และแน่นอนนะครับ แสงนี้ก็มาจากเริ่มตกกระทบจากวัตถุนะครับแสงจากวัตถุนะครับ มาตกกระทบกระจกนะครับ นะ แล้วก็สะท้อนไปนะครับตอนสะท้อนไปเนี่ยนะครับ เราต่อถอยหลังนะครับไปรังสีเสมือน ไปตัดกันที่ ที่เป็นภาพนะครับเรียกเรียนว่าแสงจากภาพนะครับ แสงจากภาพเนี่ย ลากตรงตรงเข้าหาตานะถ้าลากแสงจากภาพตรงตรงเข้าหาตาได้ ก็จะมองเห็นภาพภาพนี้ได้ แน่นอนเป็นการมองผ่านกระจกนะครับ แต่ว่าถ้าตานักเรียนไม่ได้อยู่ตรงนี้นะตานักเรียนอยู่ที่อื่นนะครับ เออเราจะมองเห็นภาพภาพไหมนะครับก็เรามาดูว่าได้ไหมนะ ถ้าตาเราอยู่อย่างงี้ถ้าตาอยู่ตรงนี้นะครับ มองไม่เห็นภาพนะครับเพราะว่าแสงจากภาพนี้นะครับ อืม ไปไม่ถึงนะครับไม่สามารถผ่านกระจกแล้วไปหาตานักเรียนได้นะ แต่ถ้าตานักเรียนอยู่ตรงนี้เราก็ไม่เห็นนะครับ แต่ว่าตา ตานักเรียนอยู่ข้างล่าง อันนี้นักเรียนสามารถมองเห็นภาพได้นั้นคุณสรุปให้นักเรียนอีกครั้งหนึ่งนะครับการเกิดภาพกับการมองเห็นภาพไม่เห การเกิดภาพในกระจกนะครับ ก็จะเกิดเมื่อรังสีของแสงจากวัตถุนะครับสองรังสีนะ สองสี ตกกระทบกระจกนะครับ และสะท้อนนะครับมันสะท้อนไปมันไม่ตัดกันหรอกนะ จนต้องลากนะครับเป็นรังสีเสมือนไปตัดกัน จุดที่ตัดกันนั้นคือจุดที่เกิดภาพดังนั้นขอให้รังสีจากวัตถุนะครับ ตกกระทบแล้วสะท้อนไปตัดกันเกิดภาพแน่แต่จะมองเห็นหรือเปล่านะครับ ไอ้รังสีที่สะท้อนต่อจากนั้นนะครับจะต้องเข้าตาของผู้สังเกตนะครับ ถ้าเข้าตาของผู้สังเกตได้ก็ก็มองเห็นภาพนะครับ แต่ถ้ามันไม่ได้เข้าตา ตาไม่ได้อยู่ตรงนั้น ตาไม่ได้ไปรับแนวการสะท้อนมานะครับก็ก็มองไม่เห็นนะ นี่ก็คือเรื่องที่สามนะครับหนึ่งจุดสามนะ การมองเห็นภาพในกระจกท่านบ้านหนึ่งจุดสี่บ้างนะครับทีนี้พอทราบเรื่องการมองเห็นภาพปุ๊บนะครับ เราจะมาวิเคราะห์การมองเห็นภาพตัวเราเองได้ทั้งตัวในกระจกเลยนะเราใช้กระจกขนาดเท่าไหร่ การมองเห็นภาพตัวเราได้ทั้งตัวในกระจกนะครับก็อาจใส่หลักการเดิมนะ ก็คือแสงจากวัตถุนะ ซึ่งในนี้ก็คือส่วนบนของเรานะครับ ส่วนข้างบนนะครับส่วนสีสาวของเรานะ แล้วก็ส่วนล่างหรือส่วนเท้าของเรานะครับไปตกทบนะครับ กระจกแล้วสะท้อนเข้าตาได้นะตรงนี้เนี่ยง่ายมากนะครับ เหตุผลเพราะว่าเนื่องจากมุมตกทบเท่ากับมุมสะท้อนและกระจกตั้งนะครับกระจกตั้งอยู่ในแนวระดับนี้นะครับ อยู่ในแนวดิ่งเนี่ยนะครับ โทษทีกระจกตั้งอยู่ในแนวดิ่งนะครับ และมุมตกทบยังต้องเท่ามุมสะท้อนนะทำให้เราเกิดสามเหลี่ยมสองรูปนะครับ ที่เป็นสามเหลี่ยมเท่ากันทุกประการนะ และแน่นอน ไอ้รูปก่อนที่มันจะตกออกรอบกระจกอ่ะนะครับ เราก็ไม่ต้องใช้อืม ผิดผลเพราะว่า อืม มันไม่ใช้นะครับเพราะมันไม่ได้สะท้อนเข้าตาไง อันนั้นเรามาดูกันนะครับตอนนี้ครูกำหนดให้ตัวคนนะครับ ที่จะมองเห็นภาพตัวเองได้ทั้งตัวในกระจกสูงเฮ็ดเฮ็ดใหญ่ ความสูงของคนนะครับ ถัดมานะครับ ครูจะบอกว่าคนคนนี้นะครับ มีระยะจากตานะครับถึงเท้านะครับ เท้าถึงตานะครับ สูงเห็นเล็กแล้วก็มีระยะนะครับ จากศีรษะนะครับ ส่วนบนของศีรษะถึงตานะครับก็ต้องเป็นเห็นใหญ่ลบเห็นเล็กนะ แล้วเห็นเล็กตรงนี้นะครับเออ ตอนสอนในรอบ ในวีดีโอการสอนนะครับหัวจะกําหนดตัวแปลไม่ตรงนี้นะครับ แต่แน่นอนความเข้าใจมันสําคัญมากเราเข้าใจมันว่าอะไรล่ะ เราเข้าใจว่าเป็นความตูงนะเราก็ความตูงมา ทำยังไง หาร 2 ก็จะได้ความขนาดของกระจกตอนนี้ H นะครับ ก็คือระยะจากตาถึงเท้านะครับแล้วก็ H ใหญ่ลบ H เล็กนะครับอันนี้ก็เท่ากับระยะจากส่วนบนของศีรษะนะครับ ถึงตา แน่นอนนะครับ เราจะมองเห็นเท้าของเราได้นะครับอ่ะ คุณเริ่มจากเท้าก่อน เพราะว่าเป็นสามเหลี่ยมรูปใหญ่นะ อธิบายง่ายเราจะมองเห็นเท้าของเราได้นะครับ อันนี้เท้าของเรานะครับก็แสงจากเท้านะครับ ต้องไปตกกระทบกระจกนะครับแล้วก็สะท้อนเข้าหาตา นั้นตอนนี้เนี่ย กระจกตัวนี้นะครับ ไม่ใช้ที่ครูกะไว้นะครับ ไม่ใช้ ทําไมล่ะ ถ้าแสงจากตัวเราไปตกกระทบส่วนที่ครูเอ็กเอ็กเอ็กไว้นะครับมันจะเข้าหาตาไม่ได้ มันจะสะท้อนไม่ถึงตา ดังนั้นเราก็ไม่ไม่เห็น นึกออกไหม พอเราไม่เห็นก็ไม่ได้ใช้และแน่นอนกระจกส่วนที่ใช้เราสามารถพิสูจน์ได้จากเรื่อง 3 เหลี่ยม 2 รูปที่เท่ากันทุกประการเนื่องจากมุมตกทบเท่ากับมุมสะท้อนเราจึงได้ 3 เหลี่ยมสีฟ้า 2 รูป3 เหลี่ยมสีฟ้า 2 รูปนี้เท่ากันเป๊ะเลยการเท่ากันเป๊ะเลย เราจึงได้ส่วนของกระจกส่วนนี้มีค่าเท่ากับเห็ดเล็กส่วน 2 และแน่นอนข้างบนก็เหมือนกันนะ แสงจากส่วนบ้านของศีรษะจากเส้นผมเรานะครับก็จะไปตกกระทบกระจกแล้วก็สะท้อนเข้าตามเหมือนกัน และแน่นอนในความสูงนี้นะครับก็จะมีค่าเท่ากับ เห็ดลบเห็ดส่วนสองถามว่าทำไมส่วนสองล่ะ ก็มันเป็นตกกระทบนะครับแล้วก็สะท้อนแล้วมันเป็นสามเหนือสองรูปเท่ากัน เราก็เอามาครึ่งหนึ่งนะครับเอามาใช้ ในฉะนั้นกระจกนะครับ จึงสูง เฮ็ดใหญ่ลบเฮ็ดเล็กส่วนสองนะครับ บวกด้วยเฮ็ดเล็กส่วนสองนั่นเองนะจริงเรารู้แล้วล่ะนะครับว่า กระจกเราใช้กระจกสูงแค่ความสูงคนนะครับหารด้วยสอง ดังนั้นนะครับ กระจก ดังนั้นนะครับขนาดกระจกนะครับ ที่สามารถมองเห็นได้ทั้งตัวในในกระจกนะครับจะมีค่าเท่ากับเฮ็ดใหญ่ลบให้เล็กส่วนสองนะครับ แล้วก็บวกด้วยเห็ดเล็กส่วนสอง ตัวนี้เห็ดเล็กส่วนสองจะตัดกันนะแล้วกระจกจะมีขนาดเป็นครึ่งหนึ่งนะครับ ของขนาดของความสูงของเรา แปลว่าถ้าเรียนสูงร้อยแปดสิบเซนติเมตร เราใช้กระจกสูงแค่ครึ่งเดียวคือเก้าสิบเซนติเมตรก็สามารถมองเห็นตัวเราได้ทั้งตัวในกระจกนะครับ แต่มีเงื่อนไขนิดหนึ่งว่ากระจกจะต้องวางตรงนี้ด้วยนะ เราจะวางสูงกว่านี้ไม่ได้แล้วก็วางต่ํากว่านี้ก็ไม่ได้นะครับ กระจกจะต้องวางสูงนะครับเป็นระยะเห้นเล็กส่วนสอง ก็คือไอ้สามเหนียมสีฟ้านะครับต้องวางสูงจากพื้นนะครับ เท่ากับเห้นเล็กส่วนสองและวางต่ํากว่าระดับศีรษะนะครับ ก็เป็นระยะที่ ที่เท่ากันในข้างบนก็คือ เห็ดใหญ่ลบเห็ดเล็กส่วนสองนั่นเองซึ่งตอนนี้ก็อีกทีหนึ่งนะครับ สรุปแล้วก็สรุปสองทีเลยนะครับความสูงเห็ดใหญ่เป็นความสูงขนนะครับ เห็ดเล็กเป็นระยะจากตาถึงเท้านะครับจากเท้าถึงตาก็ได้นะ เห็ดใหญ่ลบเห็ดเล็กเป็นระยะจากสีสะสีสะถึงตานะครับ ดังนั้นสีสะถึงตาบวกตาถึงเท้าก็เท่ากับความสูงของเราพอดี เราใช้กระจกขนาดครึ่งหนึ่ง ครึ่งหนึ่งของความสูง ก็คือ H2และเราวางกระจกนี้ต้องวางสูงกว่าพื้น เป็นระยะ H2ก็เป็นระยะจากตาถึงเท้าหันด้วย 2และเราวางต่ำกว่าระดับศีรษะ เป็นระยะ H-H2ฉันก็สรุปลงในข้างล่างนี้ เราจะมองเห็นตัวเราเองได้ทั้งตัวในกระจก จะต้องมีกระจกนะครับขนาดเฮ็ดส่วนสองนะครับ หรือเท่ากับความสูงของเรานะครับหารด้วยสอง เราจะต้องวางสูงนะครับ จากพื้นนะในแนวดิ่งนะครับ มีค่าเท่ากับเฮ็ดเล็กส่วนสองนะครับหรือมีระยะเท่ากับระยะจากตานะครับ ถึงเท้านะครับ หารด้วยสองเราจะต้องวางต่ำกว่า ระดับศีรษะนะครับ มีค่าเท่ากับ เห็ดใหญ่ลบเห็ดเล็กหาร 2 นะครับมีค่าเท่ากับ ศีรษะถึงตาหารด้วย 2นี่คือการมองเห็นภาพของตัวเราได้ทั้งตัวในกระจกนะครับถัดมาดูการหมุนกระจกบ้าง1.5 ตอนตอนในข้อเรียน ครูบอกว่า ถ้าเรายุ่งกับวัตถุนะครับภาพมันก็จะขยับด้วยอัตราที่เท่ากัน เช่น ถ้านักเรียนเลื่อนเข้าหากระจกนะครับห้าเซนนะ ภาพก็จะขยับเข้ามาห้าเซนด้วย ถ้าเราเข้าหากระจกนะครับถ้าเราวิ่งเข้าหากระจกด้วยความเร็วห้าเมตรต่อวินาที ภาพก็จะวิ่งมาห้าเมตรต่อวินาทีด้วยแล้วครูก็บอกว่าเราอย่าไปยุ่งกับกระจกนะ เพราะว่าถ้าเรายุ่งกับกระจกนั้นผลของมันจะเป็นสองเท่าเสมอ เหตุผลเพราะว่าถ้าเราขยับวัตถุนะครับ เอ้ย ถ้าเราขยับวัตถุนะครับระยะวัตถุก็จะเพิ่ม x ระยะภาพเพิ่ม x มันเพิ่มเท่ากัน แต่ว่าถ้าเราไปขยับกระจกนะครับระยะวัตถุเพิ่ม x ระยะภาพจะเพิ่ม x ดังนั้นภาพจึงห่างจากเดิมเป็น x บวก x หรือ 2xสําหรับการหมุนกระจกก็เหมือนกันนะครับ ในนั้นเรามาดูว่าถ้าเราหมุนกระจกไปไปดูมแอลฟ่านะครับ คำถามคือ รังกฤษสะท้อนใหม่จะเบนไปจากเดิมเป็นมุมเท่าใดคำตอบก็คือ 2α ให้แล้ว มีให้แล้วนะ ทีนี้จะพิสูจน์ให้ดูตอนนี้ครูก็ต้องกำหนดครับว่า รังกฤษต่างๆ นะครับเคลื่อนจาก A มาตกกระทบกระจกที่จุด O นะครับ แล้วก็เคลื่อนที่ไป Bและรังกฤษต่อกระทบเดิมนะครับ A นะครับเคลื่อนจาก A มาตกกระทบกระจกที่ O นะ แล้วก็สะท้อนนะครับ ไปที่ B เราจะมาดูว่ารังสีสะท้อนเบนไปจากเดิมเป็นมุมเท่าไหร่นะครับโดยการเอา aob กับ aob'นะครับไปหาผลต่างไปลบกันนะครับดังนั้นมุมนี้นะครับก็คือมุมที่เบนจากเดิมซึ่งนะครับมันมีค่าเท่ากับ aob'นะครับมุมโตขึ้นนะครับลบด้วย aobเราสามารถหา aob กับ aob'ได้นะโดยอาศัยหลักการสะท้อนธรรมดานะครับ มุม AOB นะครับ จะมีค่าเท่ากับ θรีป 1 บวกด้วย θรีป 2หรือมีค่าเท่ากับ 2 ทรีป 1 นะครับโดยเหตุผลที่ว่ามุมตกกระทบกับมุมสะท้อนมันเท่ากันมุม AOB นะครับ มุมนี้นะครับ และแน่นอนท่างเรียนอย่างหา aob แดดนะครับ มันก็คือมุมตกธพกับมุมสะท้อนไปบวกกันนะโดยมุมตกธพนั้นเป็นเซตา 1 บวกแอลฟ้านะครับ มุมสะท้อนก็เท่ากันเป็นเซตา 1 บวกแอลฟ้าเห็น ว่าเราบวกแอลฟ้ามาสองที ตรงนี้นั้นเราได้ aob แดดนะครับจะเป็นเซตา 1 บวกแอลฟ้านะครับ บวกด้วยเซตา 1 บวกแอลฟ้าตอนนี้เราหมุนกระจกนะครับ ไปเป็นมุมแอลฟ้า ดังนั้นนะครับ เส้นแนวฉากก็เบนไปเป็นมุม Alpha ด้วยนะมุมสะท้อนก็คือ Theta 1 บวก Alphaมุมสะท้อนก็เท่ากันนะครับ Theta 1 บวก Alpha ด้วยแล้วตอนนี้ถ้าคูลวมนะครับ มุม AOB'เนี่ยนะครับก็เป็น 2 Theta 1 บวก 2 Alphaซึ่งนะครับ การที่จะหาว่า เออแล้วมันเบนจากเดิมเท่าไหร่ล่ะเราก็เอา 2 อันนี้มาลบกันนะครับอีกทีนึงนะครับ AOB'โดยที่ A A O ตัวนี้นะครับ อ่า ลังติดต่อไปนะครับ ก็ทํามุมนะครับตกกระทบ เซตาหนึ่งบวกแอลฟ้าเนอะ เห็นมันเพราะว่าพอเราหมุนกระจกแอลฟ้านะครับลังเจ้นแนวฉากก็เบนไปแอลฟ้าด้วย ทําให้มุมตกกระทบก็เพิ่มมานะครับเป็นเซตาหนึ่งบวกแอลฟ้า มุมตะท้อนก็เหมือนเดิมนะครับเท่ากัน เซตาหนึ่งบวกแอลฟ้า ดังนั้นจะได้ว่ามุมเอโอวิแดดเป็นเซตาหนึ่งบวกแอลฟ้าบวกกันสองทีนะครับ เทรต้าสองบวกแอลฟ้า แต่ว่าไอ้เทรต้าหนึ่งกับเทรต้าสองเท่ากันดังนั้นถ้าเราจับมาลบกันเพื่อที่จะดูว่าแล้วรังสีสะท้อนจะเบนไปจากแนวเดิมนะครับเท่าไหร่นะครับ เพราะฉะนั้นนะครับไอ้ aob แดดนะครับ ลบด้วย aob นะครับจะมีค่าเท่ากับสองเซต้าหนึ่งบวกสองแอลฟ้านะครับแล้วก็ลบด้วยสองเซต้าหนึ่งนะครับ สองเซต้าหนึ่งจะหายไปนะครับเพราะฉะนั้นนะฮะ รังสีสะท้อนจะเบนจากเดิมนะครับเป็นมุมสองแอลฟ้า คราวนี้ถ้าโจทย์ออกตอบแล้วเราจำได้ เราก็ตอบเลย 2 alphaแต่ถ้าโจทย์บอกเป็นตัวเลข เช่น กระจกหมุนไป 10 องศาและรังสีสะท้อนก็เบนไปจากเดิม 2 เท่า คือ 20 องศาเดี๋ยวท่านเรียนดูดี นะครับ ถ้าท่านเรียนเบนรังสีตกกระทบรังสีสะท้อนจะเบนเท่ากัน แต่ถ้ามุนกระจกนะครับรังสีสะท้อนจะมุนในอัตรา 2 เท่า อันนี้คือข้อที่ 1.5 นะครับอันนี้จบนะครับ เรื่องการสะท้อนของแสง ถัดมาเป็นเรื่องการถักเหตุของแสงนะครับ ในหน้าถัดไปนะการเหตุของแสงนะครับ เกิดเมื่อแสงนั้นนะครับ เคลื่อนที่เข้าหาตัวกลางอื่นการที่แสงเคลื่อนที่เข้าหาตัวกลางอื่นนั้นนะครับ มันจะทำให้อัตราเร็วของแสงในตัวกลางนั้นเปลี่ยนไปความยาวขึ้นก็จะเปลี่ยนไปนะครับ แต่ว่าความถี่ของแสงนั้นจะมีค่าคง ตัวนะครับจะเท่าเดิมเสมอ แล้วคุณสรุปตรงนี้นะครับการเห็นของแสงนะครับ เมื่อมันเปลี่ยนตัวกลางความเร็วของแสงเปลี่ยนนะครับ ความยาวขึ้นเปลี่ยนนะครับในที่ความถี่นั้นนะครับ ความถี่ f นะครับ มีค่าเท่าเดิมเสมอตอนนี้ความสัมพันธ์ระหว่าง v f ลำดานะครับก็ยังคงเหมือนเดิมว่า v เท่ากับ f ลำดาในเรื่องทิศทางการเคลื่อนที่นั้นนะครับเรามักจะคิดว่าทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงจําเป็นต้องเปลี่ยนนะแต่มีกรณีหนึ่งนะครับ ที่ทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงไม่เปลี่ยนคือกรณีที่ลังสิ่งของแสงนั้นเคลื่อนที่ตั้งฉากนะครับกับรอยต่อของตัวกลาง คุณวาดการหักเหตุให้ดูนะครับ ตอนนี้ถ้ารังสีของแสงเคลื่อนที่เข้าหาแท่งแก้วนะครับ จะเกิดการหักเหนะครับโดยรังสีของแสงนั้นจะบีบนะครับ มุมตก มุมหักเหจะน้อยกว่ามุมตกกระทบนะครับแล้วก็จะหักเหออกแบบนี้ มุมตกกระทบเซรต้าหนึ่ง มุมหักเหนะครับ เซรต้าสองตอนนี้นั้นนะครับ นักเรียนเห็นว่าทิศของการเคลื่อนที่มันเปลี่ยนนะ แต่ว่า จะมีกรณีหนึ่งนะครับ ที่ทิศของการเคลื่อนที่ไม่เปลี่ยนกรณีที่ทิศของการเคลื่อนที่ไม่เปลี่ยนนั้นนะครับเกิดเมื่อเราฉายแสงนะครับ ตั้งฉากกับลอยต่อของตัวกลางทั้งสองนี้หมายความว่าถ้าเกรียญฉายแสงมาตรงๆ นะครับแสงจะเคลื่อนที่ตรงต่อไปนะครับ แล้วก็เคลื่อนที่ตรงต่อไป รูปบนนะครับ เปลี่ยนทิ� รูปร่างนี้นะครับ ไม่เปลี่ยนทิศ เราไม่เปลี่ยนทิศก็แต่เมื่อเรา เอ่อมุม เคลื่อนที่นะครับ ตั้งฉากนะครับ กับรอยต่อของตัวกลางดังนั้นในแง่ของเรื่องทิศทางการเคลื่อนที่นะครับ กูอยากจะให้นักเรียนจําว่าทิศทางการเคลื่อนที่เปลี่ยน แต่มีเงื่อนไข แต่มีข้อแม้ว่าถ้าเมื่อไหร่ก็ตามที่รางสีของแสงเคลื่อนที่ตั้งฉากนะครับกับรอยต่อของตัวกลางทั้งสองนะ ทิศทางการเคลื่อนที่จะไม่เปลี่ยน คุยกตัวอย่างเพิ่มนะครับ สมมุติว่ามีแท่งปีดซึมรูปนี้มีร่างตีของแสงเข้ามานะครับ ในด้านที่ตั้งฉากถ้าเป็นแบบนี้ทิศทางการเคลื่อนที่ไม่เปลี่ยนนะครับ มันจะตรงต่อไปไม่เปลี่ยนทิศ ตรงต่อไปแล้วหักออกเลยนะหรือนะครับ หรือกรณีแท่งแก้วเป็นรูปครึ่งวงกลม ในนักเรียนฉายแสงนะครับ เข้าไปในแนวที่เข้าไปหาศูนย์กลางของมันเลยเราฉายไปทางนี้ ตรงเข้าไปหาศูนย์กลางเลยนะครับการตรงเข้าไปหาจุดศูนย์กลางเนี่ยนะครับ ทำให้มันตั้งฉากนะครับ กับผิวโค้งนะและนะครับ ถ้ามันตั้งฉากกับผิวโค้ง ทิศก็ไม่เปลี่ยน มันก็เคลื่อนที่ต่อไปนะครับไม่เปลี่ยนทิศ เพราะไม่เปลี่ยนทิศปุ๊บก็จะหักเหก็ว่าไป โอเค คุณจะไม่ลบนะครับ 4 รูปนี้นะและสรุปอีกครั้งนะครับ การเห็นของแสงเกิดเมื่อแสงเปลี่ยนตัวกลางความเร็วเปลี่ยน ความเร็วขึ้นเปลี่ยน ที่ความถี่นะครับ เท่าเดิม หรือความถี่ของตัวเสมอทิศทางการเคลื่อนที่นะครับ ของแสงนะครับ ในอีกตัวกลางหนึ่งนะครับบอกว่าเปลี่ยน แต่มีเงื่อนไขคือ ถ้าเคลื่อนที่ตั้งฉากก็ไม่เปลี่ยนทิศก็รายนี้เดียวที่ไม่เปลี่ยนทิศ ก่อนที่จะขึ้นสมการเรื่องการหังเหตุนะครับ เรามีสิ่งที่ที่เราต้องทราบนะในเรื่องแสงนั้นจะมีดัชนีการหังเหตุนะครับ เรื่องอื่นไม่มี เรื่องขึ้นไม่มีเรื่องเสียงไม่มี ดัชนีการหังเหตุของแสงเป็นหนักตาส่วนนะครับระหว่างความเร็วแสงนะ ในศูนย์อากาศนะครับผ่านด้วยความเร็วแสงในตัวกลางนั้น ตอนนี้เรากําลังพินาธิดัชนีการหังเหตุของตัวกลาง x กันนะครับx อาจจะเป็นแก้วพลาสติกนะครับ ปีซึ้มหรืออะไรก็ได้ โดยที่อัตราเร็วแสงในศูนย์อากาศนั้นเป็นค่าคงตัวเสมอ คือ 3 คูณ 10 กลาง 8 เมตรวินาที หารด้วย vxและเรารู้ว่า vx นะครับ ความเร็วแสงในตัวกลางอื่นๆ จะน้อยกว่าความเร็วแสงในอากาศเสมอดังนั้นสรรพาการที่ใช้ในการพิจารณาดัชนีการอักเหตุ จึงอยู่ในรูปของค่ามาก หารด้วยค่าน้อยเสมออัตราเร็วแสงในศูนย์อากาศจะมากที่สุดนะครับ 3 คูณ 10 กลาง 8 แล้วก็อัตราเร็วแสงในตัวกลางอื่นก็จะน้อยดังนั้นการที่มากหาร้อยนั้นนะครับทำให้เร็ว ทำให้เราทราบว่า ดัชนีการหักเหตุของตัวกลาง x จะมีค่ามากกว่าเท่ากัน 1 เสมอน้อยกว่า 1 ไม่ได้นะครับดัชนีการหักเหตุของอากาศต้องเป็น 1การเรียนต้องทราบเอง เสมอเรายังเรียกดัชนีการหักเหตุของตัวกลางที่ 2 เทียบตัวกลางที่ 1 นะครับและเขียนได้ว่า n2 ตัว n1อันนี้เรียกว่า ดัชนีการหักเหตุของตัวกลางที่ 2 เทียบกัน 1ตัวเทียบนั้นจะเป็นตัวหารเสมอ ที่เป็นเดชีการหักเหตุของ 2 เทียบ 1 ก็เพราะว่าสมการการหักเหตุที่เป็น Sine Theta 1 ส่วน Sine Theta 2ตั้งแต่เรื่องคืน เราเรียนกันนะเท่ากับ V1 ส่วน V2 เท่ากับ Lambda 1 ส่วน Lambda 2เรื่องคืนเราจบที่ตรงนี้ในเรื่องการหักเหตุของแสงนั้น จะมีเดชีการหักเหตุ N2 ต่อ N1 มาต่อท้าย ซึ่งเฮ้ย จะเห็นว่าตอนนี้นะครับ ทุก ปริมาณนะครับ เป็น 1 ต่อ 2 หมดนะSine Theta 1 ส่วน Sine Theta 2 v1 ส่วน v2 เท่ากับ Lambda 1 ส่วน Lambda 2แต่มันเท่ากับ N2 ส่วน N1 นะครับ ในที่ตรงสมการการหักเหนี้ยนี้นะครับครูก็ยังอธิบายเหมือนเดิมอยู่ว่า ในตัวกลางที่มีความเร็วมาก มุมมันก็จะมากเนื่องจากว่าไอ้สมการนี้จะเป็นจริงก็ต่อเมื่อ มันอยู่ในรูปของมากหาน้อยเท่ากับมากหาน้อย เท่ากับมากหาน้อย เท่ากับมากหาน้อย ดังนั้นเนี่ย ถ้าความเร็วมากนะครับ มุมก็จะมาก ความยาวขึ้นก็มากนะn มันจะน้อยนะ นะครับ แต่ถ้าความเร็วน้อยนะครับมุมก็น้อยด้วยนะครับ ลัมดาก็น้อย แต่ทั้งอย่างนั้นความถี่เท่าเดิมนะครับโอ้ย คุณย้ำ ย้ำอีกที ย้ำ ดังนั้นภาพนี้เป็นภาพการหักกระท้อนและการหักเหตุซึ่งนักเรียนต้องจําได้ว่า แล้วก็แสงที่อยู่ในตัวกลางก็คืออากาศนะครับแล้วก็แสงเครื่องด้วยจากอากาศนะครับ ตกกระทบแก้วหรือตกกระทบตัวกลางอะไรก็แล้วแต่นะมันจะหักเข้าเสมอ คือมุมหักเหตุก็จะมีค่าน้อยกว่ามุมตกกระทบเสมอนะครับเนื่องจากว่าตอนนี้วีหนึ่งนะครับ มีค่ามากมุมนะครับ ก็จะมาก ลมดามากนะครับ ตัว n จะสลับนะครับ n หนึ่งจะน้อยในตัวกลางที่สองนะครับ ตัวกลางแก้ว จะมีค่าน้อยดังนั้นเซตาสองก็น้อยด้วย ลมดาสองก็น้อยแต่ n จะสลับ อ่ะ n สองก็จะมาก ซึ่งตรงนี้นะครับ การหักเห ออกมานั้นนะครับที่ในต้องทราบก็คือว่า เราจะได้รังสีสองเต้นนี้นะครับถ้ารากต่อมาจากรังสีตกรบ มันจะขนานกันและตอนนี้นอกจากการหักเหนั้น ก็มีการสะท้อนขึ้นไปด้วยนะครับเต้นสีฟ้าแสดงการสะท้อน นี่คุณเขียนอัดไว้เยอะมากนอกจากสะท้อนที่ ผิวตกกระทบข้างบนแล้วนะครับ ยังมีการสะท้อนที่ผิวตกกระทบข้างล่างด้วยอืม ก็จะสะท้อนเข้าไปด้วยนะครับ โดยมุมสะท้อนเศรษฐาสองเท่ากันและมันก็จะไปหักไห้ออกที่ผิวบนนะครับ รังสีสะท้อนรังสีหักไห้ออกที่ผิวบนทั้งสองอันก็ขนานกันด้วยนะครับ ตรงนี้คุณลืมพูดถึงกฎสองสเนลไปเลยนะว่า กฎของสเนลนั้นพินาชเฉพาะ N กับ เอ่อค่าไซน์นะว่า N1 ไซน์เซตาหนึ่งนะครับ มีค่าเท่ากับ N2 ไซน์เซตาสองดังนั้นการเห็นของแสงเป็นการพินาแสงนะครับ เคลื่อนที่เข้าไปยังตัวกลางอื่นนะเราต้องทราบว่านะครับ การที่แสงเปลี่ยนตัวกลางนะครับในการเคลื่อนที่นั้นนะครับ ความเร็วแสงมันเปลี่ยนไป วิเบียนนะครับ ความยาวขึ้นลัมด้าเปลี่ยน แนวที่ความถี่นั้นนะครับ มีค่าเท่าเดิมเสมอนะที่ทางการเคลื่อนที่เปลี่ยนนะครับ แต่มีกรณีที่ไม่เปลี่ยนคือเคลื่อนที่ตั้งฉากนะครับ กับรอยต่อ น่ะคือเคลื่อนที่ตั้งฉากเข้าหาตัวกลางอื่น ตรงนี้มุมตกลงทอบเป็นศูนย์นะครับที่ทางการที่ไม่เปลี่ยนมันก็ตรงต่อไป กรณีนี้ เอ่อ แท่งแก้วรูปครึ่งวงกลมก็ตรงต่อไปนะครับถ้าเคลื่อนที่เข้าในแนวเดียวกับลัสสมิ ดัชีการอังเหตุสามารถหาได้นะครับโดยใช้ความเร็วแสงในอากาศ หารด้วยความเร็วแสงในตัวกลางนั้นเราจะเห็นว่า ดัชีการอังเหตุกับ n นะครับ แปรผกผันกันนะ v มาก n น้อยนะครับ v น้อย n ก็มาก ตรงนี้แนะนํามาสู่ความรู้ที่ว่าเดชิกาเลจะต้องมากกว่าเท่าหนึ่งเสมอและ เดชิกาเลของอากาศเป็นหนึ่งโจทย์ไม่จําเป็นต้องบอกนะครับ ว่าเดชิกาเลของอากาศเป็นหนึ่งเราต้องทราบเอง ตอนนี้มีภาพการหักเหนะครับที่นักเรียนต้องรู้ คือแสงเคลื่อนจากอากาศนะครับเข้าสู่ตัวกลางอื่นกับแสงจากตัวกลางอื่นออกสู่กับอากาศแสงจากอากาศเข้าสู่ตัวกลางอื่นนั้นนะครับ แสงเข้ามาตามสีแดงนะครับมันจะหักเข้าเสมอนะครับ คือเซตาสองจะน้อยลง ที่ Zeta 2 จะน้อยลงนะครับ ก็เพราะว่าในตัวกลางอื่นความเร็วน้อยนะครับมุมมันน้อย ลัมด้านน้อยนะครับทีนี้พอแสงจากตัวกลางอื่น คือแสงจากแก้วหรือพลาสติกก็ได้นะครับออกตัวอากาศมันก็จะเบนออกอีกทีนึงตรงนี้สามารถที่จะในการอธิบายการหักเหก็คือSizeta 1 ส่วน Sizeta 2 เท่ากับ V1 ส่วน V2 เท่ากับ Lambda 1 ส่วน Lambda 2 เท่ากับ N2 ส่วน N1และ N1 Sizeta 1 เท่ากับ N2 Sizeta 2 อันนี้กฎของสเนล เออจริงจริงมันคือสมัครการเดียวกันนะครับนอกจากสะท้อน นอกจากเขาเขียนแล้วนะครับลังสีของแสงที่เคลื่อนที่ไปตกกระทบแท่งแก้วนะครับแท่งแก้วรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากเนี่ยนะครับ ก็ยังสะท้อนด้วยนะที่เป็นไปตามกฎการสะท้อนนะ นอกจากสะท้อนที่ผิวบนแล้วนะครับมันยังสะท้อนที่ผิวล่างด้วย ตอนนี้ลังสีสะท้อนที่ออกมาจากผิวบนและผิวล่างสองเส้นสีแดงที่ครูวาดคู่กันนะครับ มันขนาดกันนะ สีฟ้า พูดผิด สองเต้นสีฟ้านี้ขนาดกันและนะครับ ถ้าคุณลากเส้นป่านะครับ มาจากรังสีตกครับข้างบนนะครับกับตรงนี้ ข้างล่างมันก็จะขนาดกันด้วยนะอันนี้นักเรียนสามารถพิสูจน์ได้นะครับ จากมุมตกครับเท่ากับมุมสะท้อนและความรู้เรื่องเส้นขนาดนะครับ อันนี้ก็เป็นเรื่องการหักเหตุของแสงนะครับในเรื่องการหักเหตุของแสงนั้นนะครับ มีเรื่องมุมวิกฤตและการสะท้อนกลับหมดด้วย ซึ่งนะครับ แน่นอนว่ามุมหักเหตุของเราโตมากสุดได้เก้าสิบองศานะมุมหักเหตุไม่สามารถโตเกินเก้าสิบองศาได้นะครับ และถ้าเรายังคงเพิ่มมุมตกกระทบเข้าไปนะครับก็ดีนั้นเนี่ยนะครับ จะไม่เกิดการหักเหตุและเราเรียกกรณีที่นะครับแสงไม่สามารถหักเหตุออกสู่ตัวกลางอื่นได้ว่าการสะท้อนกลับหมด มุมวิกฤตนะครับ หรือตัวเซตาสี่มุมวิกฤตคือมุมตกกระทบที่ทําให้มุมหักเหนะครับ เป็นเก้าสิบองศาคือมุมตกกระทบนะครับ ที่ทําให้มุมหักเหเป็นเก้าสิบองศาซึ่งแน่นอนนะครับ ตอนนี้การเหของแสงนั้นนะครับถ้าวาดหลักหลักนะครับ มันเนี่ยจะวาดการเหได้สองแบบนะแบบแรกนะครับ เป็นเหตุจากตัวกลางที่มีความเร็วมากมุมมันจะเยอะ เข้าถึงตัวกลางที่มีความเร็วน้อยกว่านะครับมุมมันจะน้อย แน่นอนนะครับ การหักเหจจากตัวกลางที่มีความเร็วมากนะครับไปยังตัวกลางที่มีความเร็วน้อยนั้นนะ จะไม่เกิดมุมวิกฤตเหตุผลเพราะว่าไม่ว่ามุมตัวรอบจะโตเท่าไหร่ก็ตามนะครับ มุมหักเหจมันน้อยกว่าเสมอดังนั้นเราก็บอกว่าเออ จากวีมากนะครับ ไปวีน้อยไม่เกิดมุมวิกฤต ก็คือจะหักเหจได้เสมอนะครับ ยกตัวอย่างเช่น แสงจากอากาศนะครับ อากาศนี้เป็นตัวกลางที่มีความเร็วมากสุดนะครับแล้วถ้าแหล่งกระเป๋าแสงอยู่ในอากาศนะครับ ยังไงก็ไม่มีมุมวิกฤตนะตรงนี้เขาสอบเข้ามาวิทยาลัยเคยหลอกเรานะครับ ว่าแหล่งกระเป๋าแสงอยู่ในอากาศอ้าว ให้นักเรียนหามุมวิกฤต ก็ตอบเสียใจด้วย ไม่มีนะครับแต่มุมวิกฤตจาก เกิดเมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางที่มีความเร็วน้อยเช่นแสงเคลื่อนที่จากแก้ว แสงเคลื่อนที่จากพลาสติกออกสู่อากาศไปยังตัวกลางที่มีความเร็วมากกว่าเกิดที่แสงเคลื่อนที่จากตัวกลางที่มีความเร็วน้อยไปตัวกลางที่มีความเร็วมากมุมผักเหมือนจะโตเซดา 2 จะมาก ซึ่งแน่นอนนะครับ ถ้าเราเพิ่มนะครับ เพิ่มมุมตกกระทบขึ้นนะครับมุมหักเหก็จะเพิ่มมากขึ้นด้วยนะจนเราเพิ่มมุมตกกระทบนะครับ ค่าหนึ่งนะครับ เท่ากับค่าค่าหนึ่งแล้วมุมหักเหมือนมีค่าเป็น 90 องศา และสายต้า 2 เท่ากับ 90 องศานะครับเราเรียกมุมตกกระทบนั้นว่า มุมวิกฤตมุมวิกฤตเป็นตัวแบ่ง แบ่งว่าอะไรแบ่งว่าถ้ามุมตกกระทบน้อยกว่ามุมวิกฤต จะหักเหอออกสู่ตัวกลางนั้นได้ตัวกลางอีกตัวกลางนึงได้ ถ้ามุมตกฐพเท่ากับมุมวิกฤตพอดีนะครับ มุมหักเหตุเป็นเก้าสิบองศาแต่ถ้ามุมตกฐพมากกว่ามุมวิกฤต จะไม่เกิดการหักเหเราเรียกนะครับ การไม่เกิดการหักเหนี่ยว่าการสะท้อนกลับหมดดังนั้นนะครับ สามภาพนี้ชัดเจนนะครับอันดับแรกเมื่อมุมตกฐพน้อยกว่ามุมวิกฤตนะครับ อันนี้หักเหได้ และกรณีที่มุมต่อท็อปเท่ากับมุมวิกฤตพอดี มุมหักเหเป็น 90 องศาและถ้ามากกว่ามุมวิกฤต มุมต่อท็อปมากกว่ามุมวิกฤตก็จะไม่เกิดการหักเห หรือเกิดการสะท้อนกับหมดนั่นเองนักเรียนสามารถหามุมวิกฤตได้ โดยตั้งสมการว่าSine Theta C ก็คือ Sine Theta 1 ส่วน Sine 90 องศาเท่ากับ V1 ส่วน V2 เท่ากับ Lambda 1 ส่วน Lambda 2แต่มันเท่ากับ N2 ส่วนด้วย N1 ตอนนี้นั้น สไลด์ 90 องศา มีค่าเท่ากับ 1จริง ไม่ใช่ตอนนี้ สไลด์ 90 องศาเท่ากับ 1 ทุกตอนดังนั้นเราจะได้ สไลด์ Theta C หรือค่าสไลด์ของมุมวิกฤตนะครับหาจาก N2 ส่วน N1ถ้าเรียนอยากหา V นะครับ ก็ต้องเป็น V1 ส่วน V2 นั่นเองหาจาก V นะมุมวิกฤตนะครับ ก็จะเกิดเมื่อนะครับ แสงนะครับ เคลื่อนที่จากตัวกลางนะครับ ที่มีความเร็วน้อยนะครับไปตัวไปยังตัวกลางที่มีความเร็วมากเสมอ v น้อย ไป v มากเสมอเช่น แก้วถูกอากาศ อากาศไปแก้วไม่มีนะครับและแน่นอนถ้าแหล่งกำเนิดแสงอยู่ในอากาศ งดมีงดมีมุมวิกฤตนะครับเพราะความเร็วแสงในอากาศมันมากที่สุดแล้วนะ และการเคลื่อนที่ของแสงจาก v น้อยไป v มากนะครับ ก็เป็นจาก lambda น้อยไป lambda มากด้วยแต่ถ้าพินาธิ์ในแง่ของตัดชีวิตการหักเหนะครับมุมวิกฤตเกิดเมื่อแสงเคลื่อนที่จาก n มากนะครับ ไปยัง n น้อยแล้วก็เราสามารถหามุมวิกฤตได้นะครับ โดยใช้สมัครการนี้ข้อสรุปของมุมวิกฤตอีกอย่างหนึ่งก็คือนะครับเมื่อมุมตกธพน้อยกว่ามุมวิกฤตนะครับ อันนี้หักเหได้ มุมตกฐพเท่ากับมุมวิกฤตนะครับ มุมหักเหมีค่าเป็น 90 องศาแต่ถ้ามุมตกฐพมากกว่ามุมวิกฤตนะครับ อันนี้ไม่หักเหหรือเราเรียกว่าการสะท้อนกลับหมด ครับ อันนี้ก็เป็นเรื่องมุมวิกฤตแล้วก็การสะท้อนกลับหมดนะครับ ถัดมานะครับ เราก็จะมาดูเรื่องเลนส์นูนนะฮะภาพที่เกิดจากเลนส์นูนเลนส์เว้าต์และภาพที่เกิดจากกระจกเว้าต์แล้วก็กระจกนูนนะครับข้อสอบเข้ามาอะไรมักออกเรื่องการหักเหนะกฎของ Sine L N1 สไลด์ Theta 1 N2 สไลด์ Theta 2 ออกเรื่องมุมวิกฤตนะครับแล้วก็ออกเรื่องภาพที่เกิดจากเลนส์กับกระจกนะดังนั้นถ้าท่านกลิ่นจะเตรียมตัวอันสอบเข้ามาวิทยาลัยนะครับครูก็คิดว่าวิดีโอนี้น่าจะช่วยนักเรียนได้ด้วยนะครับในระดับหนึ่งเอาละมาดูภาพที่เกิดจากเลนส์นะครับเลนส์นูนและเลนส์เว้าต์ Lenoon และ Lenwow นั้นนะครับ ทำให้เกิดภาพโดยการ��ักเหนะต่างกับกระจกนะครับ ซึ่งกระจกนั้นทำให้เกิดภาพโดยการสะท้อนการหักเหของแสงผ่าน Lenoon นะครับ Lenoon นั้นจะรวมแสงนะครับไปอยู่ที่จุดโฟกัสอีกฝั่งหนึ่งนะครับ โดยการหักเหแปลว่าถ้านักเรียนมีแสงจากอันนั้นนะครับ หรือมีแสงขนาดนะครับพรุ่งตกกระทบ Lenoon ตามภาพด้านขวามือนะครับ ลังเหยียงทั้ง 2 นั้นนะครับ ก็จะหักเหนะครับ ไปตัดกันที่จุดโฟกัสสําหรับเลนส์วาวน่ะนะครับ เลนส์วาวนั้นจะกระจายแสงโดยการกระจายแสงนั้นนะครับ จะเหมือนว่านะครับมาจากจุดโฟกัสอีกจุดหนึ่งนะครับ ที่อยู่อีกฝั่งตรงข้ามคุณก็ว่าลังสีขนาดนะครับ เข้ามา รังสีขนาดนะครับ ก็จะหักเห้ออกนะครับ โดยถือเสมือนว่ามาจาก fn นะครับซึ่งแน่นอนรังสีที่มันหักเห้ไปจริงจริงนะครับ ก็เป็นรังสีจริงรังสีที่ต้องต่อ ตึ๊ดตึ๊ดตึ๊ด เขาเป็นรังสีเสมือนนะตอนนี้การวาดภาพที่เกิดจากทั้งเลนส์นูนและเลนส์วาวน์นะครับ เราก็อาจใส่รังสีสองรังสีจากว่าถูกไปตกกระทบเลนส์และหักเห้ไปตัดกันนะครับ รังสีที่หนึ่ง ลังสีที่ 1 จะออกจากวัตถุนะครับ จะขนานกับแกนมุกสำคัญนะครับตกกระทบกระจกนะครับ แล้วก็หักเห ผ่านจุดโฟกันตกกระทบกระจกนั่งเล่นไปเขียนเอง ตกกระทบกระจกหักเห ผ่านจุดโฟกันลังสีที่ 2 นะครับ จะผ่านกลางเลนเลยก่อนนี้กูจะสรุปภาพนะครับ ที่เกิดจากวัตถุทุก ที่ที่ 1 ถึงที่ที่ 6 กันนะครับ กูจะวาดทางเดินของแสงก่อนเอาเลข 4 แล้วกันนะ เราจะมาวาดว่าวัตถุอยู่ที่สี่นะครับ เราจะวาดทางเดินของแสงได้อย่างไรแล้วท่านเรียนวาดรังสีของแสงรังสีแรกนะครับ จากวัตถุนะ ขนาดไปเลยอันนี้สีดําไม่ต้องดูนะครับ ดูแต่สีแดง พอตกกระทบกระจกพอตกกระทบเลนส์ปุ๊บนะครับ ก็จะหักเหผ่านจุดโฟกัสรังสีเส้นที่หนึ่งแล้วหลีเส้นที่สองผ่านตรงกลางเลนส์นะครับ ตรงกลางเลนส์ก็คือที่ขูเอ็กซ์ไว้นะครับลากให้ตรงนะครับ ถ้าเรียนลากตรงก็จะไปตัดกันนะ จุดที่ตัดกันก็เป็นภาพนะครับ แปลว่าถ้าวัตถุอยู่ที่นี่สี่ก็จะได้ภาพจริงนะครับขนาดใหญ่กว่าวัตถุตามรูปนี้นะ แล้วเราวาดทางเดินของแสงได้นะครับตามที่กูวาดให้ดู คือวาดให้ดูอันเดียวนะครับถ้านักเรียนอยากรู้ทุกการณ์ นักเรียนย้อนกลับไปดูวิดีโอที่กูสอนนะ ถัดมานะครับ เราจะวาดทางเดินของแสงนะครับ กรณีภาพที่เกิดจากเลนเว้านะลังศีลแรกนะครับ ก็ขนาดแกนมุกสําคัญเหมือนเดิม แล้วก็หักเหนะครับโดยเสมือนว่ามาจากจุด f นี่ลังศีลแรก ลังศีลที่สองนะครับ ก็ผ่านตรงกลางจุดที่ตัดการเกิดเป็นภาพนะครับ อ่า นี่วาดทางเดินของแสงที่เกิดการเกิดภาพนะครับ ของไอ้เลนเว้า ก็แน่นอนเดี๋ยวคุณจะลบ 2 อันนี้ทิ้งแล้วคุณจะวาดภาพทุกภาพเลยนะครับลงบนหน้าเดียวเพื่อเราจะได้รู้ว่าวัตถุอยู่ตรงนี้ภาพอยู่ที่ตรงไหนนะในการที่เรารู้ว่าวัตถุอยู่ตรงนี้ภาพอยู่แถวๆไหนนะครับในบางครั้งเราไม่ต้องคำนวณนะครับเราแค่รู้ว่าภาพอยู่ตรงนี้ก็กาเลยภาพอยู่ตรงนี้ก็กาเลยถ้าใครติดตามคุณมาตั้งแต่ต้นก็จะรู้ว่าคุณมีเทคนิคนี้เสมอนะครับ โอเค เรามาดูสรุปนะครับ เลน นู น ให้ภาพจริงทุกขนาดและให้ภาพเสมือนขนาดใหญ่กว่าวัตถุเท่านั้นนะครับ แปลว่าถ้าโจทย์บอกว่าวัตถุให้ภาพจริงนะครับวัตถุต้อง เราต้องใช้ฉากลับนะครับ เราต้องใช้ฉากลับภาพนะครับภาพเป็นภาพจริงแปลว่าใช้เลน นู นนะครับ แปลว่าถ้าเกิดภาพจริงปุ๊บถามว่าใช้เลนไร เลน นู นนะครับ แต่ถ้าเกาะนี้เป็นภาพเสมือนต้องดูนะครับว่าเสมือนใหญ่หรือเสมือนเล็กนะเสมือนใหญ่เป็นเลนส์นูนนะครับ แต่ว่าเสมือนเล็กกว่าวัตถุเป็นเลนส์วาวต์ครับให้เฉพาะภาพเสมือนขนาดเล็กเท่านั้นภาพเสมือนของเลนส์คล้ายๆกับภาพที่เราดูจากแว่นขยายนะครับ หรือภาพที่เราดูจากแว่นของเรานะแว่นของเราเป็นเลนส์นะ คนใส่ตาสั้นใส่แว่นเลนส์วาวต์ คนใส่ตายาวใส่แว่นเลนส์นูนนะครับแว่นของเราเป็นเลนส์ คือเราจะเห็นภาพอยู่อีกที่นึง ถ้าเราเอาแว่นขยายมาดูมื้อ เราจะเห็นว่ามือเราโตขึ้น แต่อยู่ไกลขึ้นแต่ถ้าเอาเลนส์เวลมาดู มือเราก็จะใกล้ลง และมือเราก็จะเล็กนะโอเคนะครับ หลังจากนั้นเราจะมาดูภาพที่เกิดจากวัตถุทุกๆที่คุณขอรบนะครับ ถ้าไม่ทันก็หยุดวิดีโอได้ตอนนี้นะครับ วัตถุคูมี 6 ที่ วัตถุแรกอยู่ Infinityวัตถุที่ 1 นะครับ วัตถุแรกนะครับ อยู่อันนั้น วัตถุที่สองก็ขยับมานะครับวัตถุที่สามก็ขยับเข้ามา วัตถุที่สี่ก็ขยับเข้ามาวัตถุที่ห้า วัตถุที่หก เราจะมาดูว่าแล้วภาพนะครับขอไอ้วัตถุหก หกภาพนี้นะครับ หกวัตถุนี้อยู่ที่ไหนบ้างเราดูรูปทางด้านขวามือได้นะ แสงจากอันนั้นนะครับเป็นแสงขนาด มันตัดกันที่จุดโฟกัส ภาพที่สองนะครับจะได้ภาพจริงขนาดเล็กนะครับ วัตถุที่สองนะครับ กับไอ้ภาพที่สองอยู่นี้เนอะภาพที่สามนะครับ เป็นภาพจริงขนาดเท่าวัตถุนะครับเราวางวัตถุไปที่สองเอฟ ภาพเกิดที่สองเอฟนะภาพที่สี่เป็นภาพจริงขนาดใหญ่นะครับ อันนี้เอสสี่แดดคือภาพที่ครูวาดเมื่อกี้นะครับวัตถุอยู่ที่จุดโฟกัสนะครับ อยู่ที่ห้านะครับเอสห้าแดดจะอยู่ที่บวกลบอินฟินิตี้นะ แล้วก็ภาพที่หกนะครับ วัตถุอยู่ที่หก ภาพจะเป็นภาพเสมือนนะครับ ขนาดใหญ่กว่าวัตถุอยู่ด้านหลังของวัตถุและตอนนี้เราเจนว่า เลนส์นู้นนั้นนะครับจะเกิดภาพจริงเฉพาะกับอะไรที่วัตถุมีระยะมากกว่า f เท่านั้นนะครับs มากกว่า f นะครับ จะเกิดภาพจริงแต่ถ้า s น้อยกว่า f นะครับ จะเกิดภาพเสมือน แล้วถ้าเรากําหนดจุดโฟกัสมาเนี่ย เราจะบอกได้เลยว่าวางวัตถุตรงไหนให้ภาพชนิดใดเนอะและก็แน่นอนนะ ถ้าวัตถุอยู่ไกลก็ได้ภาพ เอ่อ จริงขนาดเล็กนะครับวันระยะวัตถุมากกว่าสองเอฟก็จริงเล็กนะครับ วัตถุอยู่ระหว่างเอฟกับสองเอฟก็จริงใหญ่นะครับซึ่งตอนนี้เราเลื่อนวัตถุเข้านะครับ ภาพก็เลื่อนออกนะ ดูนะเลื่อนวัตถุจากอินฟินิตี้นะครับ มาเรื่อยเรื่อยเลื่อนเข้ามาเอสหนึ่ง เอสสองก็เข้า เอสสามก็เข้า เอสสี่ก็เข้า เอสห้านะครับ มันอยู่ที่จุดโฟกัสก็เข้ามาเรื่อยเรื่อย เนื้อวัตถุเลื่อนเข้ามาเรื่อยเรื่อยในที่ภาพก็เลื่อนจากจุดโฟกัสนะครับ ออกไปเรื่อยเรื่อยนะครับจุด f นะครับ f กับสอง f สอง f แล้วก็ใหญ่นะ แล้วก็ที่ infinityโดยนะครับมันมี pattern การเกิดดังนี้นะครับ ในวัตถุนะครับinfinity นะครับ มาสอง f นะครับ มา f ภาพนะครับก็จาก f นะครับ ไปสอง f แล้วก็ไปอันนั้นนะครับ โดยภาพในตอนแรกนั้นจะได้ภาพจริงขนาดเล็กแต่ถัดไปจะได้ภาพจริงขนาดใหญ่อันนี้กรณีเกิดภาพจริงกรณีภาพเสมือนนั้นเป็นภาพเสมือนขนาดใหญ่กว่าวัตถุเสมอ อีกทีหนึ่งนะ วัตถุเลื่อนเข้า วัตถุหนึ่งอยู่ infinity ภาพอยู่ focusวัตถุอยู่ที่สองภาพเล็กนะ วัตถุเลี้ยว วัตถุมากกว่าสอง f ภาพเล็กนะครับอยู่ระหว่าง f กับสอง f นะ คือมันสลับกันนะนะครับวัตถุสอง f infinity ภาพ f สอง f วัตถุ f สอง f ภาพก่อนสอง f infinityพอวัตถุสอง f ภาพก่อนสอง f เนี่ย พอวัตถุสอง f กับ f ตรงนี้นะภาพก่อนสอง f กับ infinity ขนาดใหญ่นะครับ พอวัตถุอยู่ที่ ฟิวจุโฟกัสภาพอยู่ที่อันนั้นและเมื่อวัตถุอยู่ที่ที่ 6 นะครับคือระยะวัตถุน้อยกว่า f ก็ได้ภาพเสมือนที่อยู่ข้างหลังภาพเสมือนขนาดใหญ่ ถัดมาเป็นภาพที่เกิดจากเลนวาวนะครับ ภาพที่เกิดจากเลนวาวเลนวาวให้ภาพเสมือนขนาดเล็กกว่าวัตถุเท่านั้นนะนะครับ วัตถุแรกอยู่ที่อินฟินิตี้แล้วก็วัตถุที่สองนะครับภาพภาพแรกอยู่ที่จุดโฟกัส อยู่นี่ ผิดโฟกัส อันนี้เอสหนึ่งแดดนะครับที่จุดโฟกัส แล้วก็เอสสองได้เป็นภาพเสมือนขนาดเล็กก็ให้ภาพเสมือนขนาดเล็กก็บริเวณนี้เสมอนะครับ อืม จริง คือว่า ทาง เนิน ของ แสง ให้ ได้ เลย เนอะ ศ ักดิ์ สี่ แรกนะครับ ขนาด การ ลุก สําคัญ นะครับ เอ่อ ห ัก เฮ พา ร จุด โฟ กัสละ ลิ ที่ สอง นั่นเนี่ยอาจจะเคยดูวิดีโอสรุป เอ่อ เรื่องแสงเชิงรังสีของครูแล้วนะอันนี้ก็เป็นสรุปใหม่นะครับ อัปเดตล่าสุดเลยตัวแบบภูมิฮัตก็เอาแบบภูมิฮัตใหม่ใหม่มาให้ทํานะครับแล้วถ้าดูแล้วครูคิดว่าดูอีกได้ ได้เก่งขึ้น เก่งเยอะเยอะก็สรุปนะครับ เลนด์นูนให้ภาพจริงทุกขนาด จริงเล็ก จริงเท่า จริงใหญ่ภาพจริงใช้ฉากรับได้ ดังนั้นแรกจนบอกว่าใช้ฉากรับ ใช้เลนด์นูนนะครับ และภาพเสมือนขนาดใหญ่เท่านั้น ภาพเสมือนคือ เอ่อ ภาพที่เรามองเห็นด้วยตาเหมือนภาพจากเลนส์เว้นตาของนักเรียนอ่ะนะขนาดใหญ่เท่านั้นนะครับ สําหรับเลนส์เว้าให้ภาพชนิดเดียวคือภาพเสมือนขนาดเล็กกว่าวัตถุเท่านั้นนะครับ นี่คือเรื่องเลนส์นูนและเลนส์เว้าเอ่อ ในเรื่องการคํานวณนั้น ครูจะสรุปการคํานวณไว้อีกหน้าหนึ่งเลยนะครับหน้าเดียวเลย เรื่องนี้ก็เป็นการวาดทางเรื่องของแสงก่อนถัดมาเป็นเรื่องภาพจากกระจกเว้าและกระจกนูนครับ ภาพที่เกิดจากกระจกเว้านะครับ และก็กระจกนู้นนะตัวกระจกเว้าเองนั้นนะครับ อ่า ใส่หลักการสะท้อนนะ ของแสงมันสะท้อนนะครับ ไปตัดกันที่อีกฝั่งหนึ่ง มัน มันบีบแสงออกมาทําให้ภาพที่เกิดจากกระจกเว้านะครับ เหมือนภาพที่เกิดจากเลนส์นู้นทุกประการเลยเอ่อ คุณใช้แค่คําว่า เอ่อ เหมือนนะครับ แต่ว่ามันมีบางอย่างที่ไม่เหมือนกันการไม่เหมือนกันของมันคือ ตัวเลนส์หักเหนะครับดังนั้นภาพจริงจึงไปเกิดฝั่งตรงข้าม แต่ว่าไอ้กระจกอ่ะนะครับ ใช้การสะท้อน พอการสะท้อนปุ๊บเนี่ย ภาพจริงเนี่ย มันจะเกิดด้านเดียวกับวัตถุ แค่นี้เองนอกนั้นการคํานวณก็เหมือนกันหมดเลย แต่ว่าการคํานวณไม่สามารถบอกเราได้นะว่าภาพมันอยู่ที่ตรงไหนนะเอาดูกระจกเว้าก่อนนะครับ กระจกเว้าจะมีจุดโฟกัสนะครับกับจุดศูนย์กลางความโค้งหรือจุดซีนะ ซีตรงนี้มีระยะก็คือสองเอฟ่านะครับเราเรียกระยะจากซีถึงหน้ากระจกตรงนี้นะครับ ว่ารัฐศมีความโค้งหรืออ่า ตรงนี้ส่งผลให้ความยอมโฟกัส f นะครับ มีค่าเท่ากับ r ส่วนสองตรงนี้นั้นนะครับ ถ้าแสงนะครับ จาก infinity นะแสงจากไกลไกลนะครับ เมื่อขนาดนะครับ มันก็จะสะท้อนนะครับโดยการสะท้อนนี้นะครับ จะไปตัดกันที่จุดโฟกัสตรงนี้เรายังจะเห็นว่า คล้ายคล้ายกับการเกิดภาพนะครับของไอ้ตัวเรนโน้นเลยเนอะ คือเรนโน้นเนี่ยหักเหนียวให้พี่ฟังหนึ่ง แต่ว่ากระจกกระจกว้าวนะครับมันสะท้อนนะครับสะท้อนกลับมานะครับแล้วก็ตัดกันที่จุดโฟกัสเหมือนกันมีสิ่งที่ท่านเรียนต้องทราบนะครับควรทราบก็คือว่าท่านเรียนวัดลากจากจุดซีนะครับไปยังจุดที่เกิดการสะท้อนนะครับตรงนี้เนี่ยนะครับเนื่องจากจุดซีเป็นจุดศูนย์กลางความโค้งนะครับมันจึงตั้งฉากนะครับกับผิวนะครับกับผิวกระจกเสมอมันตั้งฉากปุ๊บมันจะทำให้เป็นเส้นแนวฉากและมันจะแบ่งนะครับ มุมจากรังสีตกทบนะครับ ถึงเส้นแนวฉากกับมุมจากรังสีละท้อนถึงเส้นแนวฉากกันเท่ากันนะครับตามกฎการสะท้อนว่ามุมตกทบเซตาหนึ่งเท่ากับมุมสะท้อนนะครับ เซตาสองอันนี้คือกระจกเว้าสําหรับกระจกนูนนะครับ กระจกนูนก็อาศัยหลักการสะท้อนนะครับเหมือนกันนะ ทีนี้กระจกนูนเนี่ยนะครับมันก็จะกระจายแสงออกนะครับ เหมือนกับเลนวาวต์ รังสีของแสงที่มาจากอันนั้นนะครับ รังสีขนาดเนี่ยนะครับเมื่อตกกระทบเลนด์นู้น มันก็จะสะท้อนนะครับโดยถือเสมือนว่ารังสีนั้นนะครับ มาจากจุดโฟกัสซึ่งเรียนจะเห็นว่ามันก็ เอ่อ กระจายแสงออกนะครับเหมือนเลนด์นู้นเลย แต่ว่าเลนด์นู้นนั้นกระจายแสงออกโดยการหักเหง่ะนักเรียนย้อนกลับไปยัง เอ่อ ภาพที่แล้วก็ได้นะครับถ้าเป็นเลนด์มันก็จะหักเหง่ไปตามอีกฝั่งหนึ่งนะครับ แต่ถ้าเป็นกระจกมันก็จะสะท้อนนะ สะท้อนกับทางเดิมโดยที่แนวทางเดิมของแสงก็ เหมือนกัน เพียงแต่ว่าไปกันคนละทางนะครับ สะท้อนกับหังเคตรงนี้เหมือนเดิมครับว่า ถ้าเราลากเส้นจาก 4 นะครับไปที่จุดที่เกิดการสะท้อนนะครับเส้นนี้ก็จะเป็นเส้นแนวฉากหรือ N นะครับโดยที่มุมตกทบกับมุมสะท้อนก็เท่ากันภาพ การวาดภาพที่เกิดจากกระจกเว้ากับกระจกนูนนะครับเราก็อาศัยรังสีของแสง 2 รังสีเหมือนเดิมนะครับไปตัดการเกิดเป็นภาพรังสีที่ 1 ลังศีลที่หนึ่งนี้เหมือนกับไอ้เลนส์หน่อยคือ จากวัตถุนะครับ ขนานแกนมุกสําคัญลังศีลนี้จะสะท้อนนะครับ สะท้อนผ่านจุดโฟกัสลังศีลที่สองง่ายหน่อยนะครับ ก็คือจะผ่านจุดศูนย์กลางความโค้งหรือจุดสี่เลยคุณอธิบายในวิดีโอสอนแล้วว่า ผ่านจุดสี่เพื่อสะท้อนกับทางเดิมเพราะผ่านจุดสี่มันจะตั้งฉากกับกระจก เพราะถ้าอยากกระจกไม่สะท้อนกับทางเดิมจบคุณก็จะวาดภาพนะครับ ที่เกิด จาก ไอ้ ไอ้ ทั้ง เล ็น ทั้ง ไอ้ ทั้ง กระจก เว ้า และ กระจก นู นให้ดู ภาพ เดียว นะครับ อืม จาก วัตถุ สีแดง นี้ เอา กระจก เว ้าก่อน แล้ว สี แรก นะครับ ขนา น แก ร น มุ ค สําคัญ ตก ค ร ศ พ ป ึ๊บเลย ตัด กัน นะครั อันนี้คือลังกฤษที่หนึ่งแล้วก็ลังกฤษที่สอง ถัดมา ถ้าเป็นกระจกนูนนะครับก็ตกทบกระจกปุ๊บ สะท้อน หลังงานที่สองก็ผ่านสี่นะครับนักเรียนลากตรงไปให้ผ่านสี่เนอะ สมมุติว่าผ่านสี่นะครับถ้าแต่การเกิดเป็นภาพนะ ทีนี้พอเราเรียนว่าทางเดินถงแสงได้ปุ๊บว่านะครับ ลังสิ่งที่สองก็จะไม่เหมือนกันถ้าเป็นเลนส์ก็ผ่านกลางเลนส์นะครับ แต่ถ้าเป็นกระจกผ่านซีนะครับตรงนั้นลังสิ่งที่หนึ่งก็คือเหมือนกันนะครับ ตบขนานมาปุ๊บหักเหพาะจุดโฟกัสนะครับ ภาพที่เกิดจากกระจกเว้านั้นนะครับเมื่อกี้ครูบอกแล้วเหมือนเลนส์นู้นนะครับ ก็คือให้ภาพจริงทุกขนาดเลยและให้ภาพเสมือนใหญ่นะครับ แต่ถ้าเป็นเสมือนเล็กนะครับ ก็จะเป็นภาพจากกระจกนูนเท่านั้นนะ กระจกนูนเป็นกระจกที่อยู่ตามแยกนะที่เรียกเห็นเป็นเป็นกระจกโค้งโค้งอ่ะนะครับ เพื่อให้เรามองเห็นรถที่มาจากอีกแยกหนึ่งนะครับกระจกมองหลังรถยนต์ กระจกมองหลังรถจักรยานยนต์ กระจกมองหลังกระจกมองข้างเนี่ยนะครับก็เป็นกระจกนูน ทีนี้เรามาดูภาพนะครับ ที่เกิดจากวัตถุทุกทุกที่กันนะ google จะลบเหมือนเดิมนะครับ เริ่มจากกระจกเว้าก่อนนะครับวัตถุก็จะอยู่หกที่นะครับ ที่แรกที่อันนั้นที่ที่สองก็ขยับเข้ามานะครับ ที่ที่สามก็ขยับเข้านะครับที่ที่สี่ขยับเข้า ที่ที่ห้าขยับเข้า แล้วก็ที่ที่หกภาพทั้งหกภาพนะครับ ก็เหมือนเดิมนะครับวัตถุกระจกเว้ากับเลนโนนะครับ วัตถุอินฟินิตี้ถึงจุดโฟกัสภาพก็จากจุดโฟกัสนะครับ ออกไปยังอินฟินิตี้ อืม จากนั้นภาพภาพแรกนะครับ เอสหนึ่ง แดด ก็อยู่ที่จุดโฟกัสภาพภาพที่สองอยู่นี้นะครับ ภาพจริงขนาดเล็กภาพที่สามนะครับ อยู่ที่เดิมเลยนะครับ กับวัตถุนะครับเอสสามแดด ภาพจริงขนาดเท่า เอสสี่แดดได้ภาพจริงขนาดใหญ่และนะครับ วัตถุอยู่ที่ห้านะครับ เอสห้าแดดนะครับก็ได้บวกลบอินฟินิตี้ แอดออกแดดเป็นภาพเสมือนนะครับที่อยู่ข้างหลังนะ เป็นภาพเสมือนขนาดใหญ่เท่านั้นนะครับ ตอนนี้ก็เหมือนเล่นนู้นนะครับว่ากรณีภาพจริง นะครับ วัตถุนะครับจากอินฟินิตี้นะครับ ไปยังจุดสองเอฟนะครับไปยังจุดสี่นะครับ หรือสองเอฟนะครับแล้วก็ไปยังเอฟอ่ะนะครับ วัตถุนะครับ ภาพนะครับก็ขยับจากเอฟนะครับ ไปสี่แล้วก็ไปอินฟินิตี้นะโดยโซนนี้นะครับ ได้ภาพเล็กนะครับภาพสี่ถึงอินฟินิตี้ อันนี้ได้ภาพใหญ่นะครับ และจะได้จะให้ภาพเสมือนนะครับ อ่า ก็ต่อเมื่อเรียกว่าถูกน้อยกว่า f นะครับคือถ้า f มากกว่า f ก็แบบว่าพักจริงนะครับ เอ่อ กรณีที่ เป็น กระจกนูนบ้างนะครับ อ่าวัตถุแรกนะครับ อยู่ แล้วก็วัตถุที่สองวัตถุแรกที่อยู่ นะครับ ได้ภาพภาพแรกที่จุดโฟกัสเอสหนึ่ง แดด เท่ากับเอฟนะครับ แล้วก็เอสสอง แดด อยู่แถวนี�� อืมเป็นภาพในกระจกมองหลังนะครับ ซึ่งเราต้องเห็นรถเล็กกว่าเดิมในกระจกมองหลังเสมอ โอเค นี่คือภาพจากกระจกเว้าแล้วก็กระจกนูนนะครับ กระจกเว้าให้ภาพเหมือนเลนน์นูนคือให้ภาพจริงทุกขนาด และให้ภาพเสมือนขนาดใหญ่กว่าวัตถุเท่านั้นนะครับกระจกนูนให้ภาพเหมือนเลนว้าวคือให้ภาพเสมือนขนาดเล็กเท่านั้นนะครับ ในการคํานวณแล้วก็ตําแหน่งของภาพนะครับทั้งของกระจกเว้าเลนน์นูนนะครับ ที่มันคล้ายกันกับกระจกนูนเลนว้าวนะครับเหมือนกันทุกอย่างเลย มันต่างกันตรงที่ว่าภาพจริงนะครับของเลนจะอยู่ฝั่งตรงข้ามกับวัตถุ เพราะมันหักเหตุไปตัดกันไงนะครับ แต่ภาพจริงของกระจกนะครับจะอยู่ฝั่งเดียวกับวัตถุ เพราะมันสะท้อนมาตัดกันนะครับภาพเสมือนของเลนส์จะอยู่ฝั่งเดียวกับเลนส์นะครับ แต่ว่าภาพเสมือนของกระจกก็จะอยู่ฝั่งตรงข้ามนะครับแต่ว่าตําแหน่งของภาพก็จะสลับกันนั่นเอง ระหว่างไอ้กระจกกับเลนส์นะครับ เอ่อ ภาพจริงอยู่ตรงไหน ภาพเสมอตรงไหน นั่นจะเป็นสรุปเองบ้างจริงจริงแล้วดูภาพก็รู้แล้วนะครับ โอเค เรามาดูสมการนะครับที่ใช้ในการคํานวณนะครับ ในหน้าถัดไปสมการที่ใช้ในการคํานวณเลนด์นู เลนด์เว้าต์ กระจกเว้าต์ กระจกนูนะครับใช้สมการเดียวกันเลย แต่เราใช้เครื่องหมายบวกลบอ่ะนะครับเพื่อที่จะบอกว่ามันเป็นกระจกอะไร มันเป็นเลนด์อะไรแล้วมันเป็นภาพนะครับ ภาพอะไร ดังนี้ครับ ในการคํานวณเลนและกระจกโค้งสมรรค์แรกนะครับ มาตรฐานหนึ่งส่วน f เท่ากับหนึ่งส่วน sบวกหนึ่งส่วน s แดด ส่วนที่สองนะครับ กําลังขยาย m นะครับเท่ากับ s แดดส่วน s และนะครับ ถ้าเรียนจากพินาคขนาด ถ้าเรียนจากพินาคขนาดของภาพอ่ะนะครับเราจะใช้ขนาดของกําลังขยายนะครับ ไปเท่ากับ y แดดส่วน y เพราะว่าคู่ เพราะว่า y ได้ส่วน y ขนาดของวัตถุนะครับไม่ใช่ ขนาดของภาพนะครับ เราก็จะให้มันเป็นบวกเสมอซะไม่ว่าจะเป็นภาพจริงหรือภาพเสมือนหรือนะครับ ถ้าเจนจะแทนขนาดภาพเสมือนติดลบก็ได้นะครับจริงๆ มันก็ไม่มีผลกับสมังการอื่นหรอกนะครับ นอกจากนั้นแล้วเรายังมีสมการที่เอา 2 สมการนี้ไปรวมกันนะครับ ก็คือ m เท่ากับ f ส่วน s-fเป็นสมการที่ไม่มี s'นะครับ และสมการ m เท่ากับ s'-f ส่วน fสมการนี้ไม่มีระยะวัตถุ ไม่มี s ซึ่งแน่นอนเรามีหน้าที่เลือกนะครับ เลือกไอ้ 4 สมการนี้มาใช้นะมีอีกอันหนึ่งนะครับ สำหรับกระจกก็คือความยาวโฟกัสนะครับเท่ากับรุษมีความโค้งตัว 2 กรณีกระจก การจําสูตรได้นั้นนะครับ ตั้งแต่ยังไม่สามารถทําโจทย์ได้นะไม่ได้จําเป็นต้องแทนเครื่องหมายเพื่อที่จะบอกสูตรว่า เรากําลังคํานวณกระจกหรือคํานวณเลนส์อะไรสําหรับกระจกกับเลนส์ที่ให้ภาพจริงนั้นนะครับ ความทําโฟกัสเป็นบวกก็คือกระจกเว้านะครับ กับเลนส์นู้นนะครับแต่นะครับ เอฟจะติดลบนะครับ ตกกรณีกระจกนู้นนะครับ กับเลนส์เว้า แปลว่ากระจกนูนกับเลนส์เว้านี่มันให้เฉพาะภาพเสมือนเนี่ยนะ ดังนั้น f มันก็ติดลบนะครับระยะภาพนะครับ ภาพจริงนะครับ ก็จะเป็นบวก แล้วก็ภาพเสมือนก็ติดลบอ่ะนะครับกําลังขยายนะครับ เป็นบวกนะครับ กรณีกําลังขยายของภาพจริงนะครับและเป็นลบ กรณีกําลังขยายของภาพเสมือน วัตถุจริงคือวัตถุที่อยู่หน้าเลนส์นะครับ เป็นบวกนะครับ แล้วก็วัตถุเสมือนนะครับ ระยะวัตถุก็จะติดลบใช้ในกรณีคํานวณเลนส์สองชิ้นเนี่ยนะครับ กรณีสองอุปกรณ์ กรุงภาพจากอุปกรณ์แรกนะครับ ก็จะเป็นวัตถุของอุปกรณ์ที่สองนั่นเองอันนี้นะครับ ก็คือการแทนเครื่องหมายนะครับ ว่าเครื่องหมายบวกนะครับใช้สําหรับเลนส์หรือกระจกที่ให้ภาพจริงนะครับ ก็คือกระจกวัลก์กับเลนส์นู้นและเครื่องหมายลบนะครับ ก็ใช้กับเลนส์กับกระจกที่ให้ภาพเสมือนนะครับระยะภาพกับกําลังขยายนะครับ เป็นบวกกรณีภาพจริงและเป็นลบกรณีภาพเสมือนนะหลังจากนั้นนะครับ เพราะเรา รู้แล้วว่าต้องใช้เครื่องหมายอะไรเราก็ไปเลือกนะ เลือกสมัครมาใช้แล้วก็ใช้แก้ปัญหานะ โจทย์ให้มาสองอย่างแล้วเราอยากแล้วให้เราหาอย่างที่สามนะครับเช่น เลนส์มีความยาวโฟกัสเท่านี้นะครับ ห้าเซนติเมตรวางมาดูไว้ที่หกเซนติเมตรเกิดภาพกําลังขยายเท่าไหร่อะไรประมาณนี้นะครับ แล้วเรียนสามารถลองทําตัวแบบทดสอบได้นะครับโอเค นี่ก็คือการสรุปนะครับ เรื่องกระจกโค้งนะครับ แล้วก็เลนส์วอลกับเลนส์นูนครับ เรื่องถัดไปนะครับ ก็เป็นเรื่องแสงสีนะครับ และการมองเห็นแสงสีถัดมาเป็นเรื่องแสงสีและการมองเห็นสีเนอะตรงนี้เนี่ยนะครับ มีเรื่องหนึ่งนะ ที่นักเรียนมักจะสับสนเอาคู่ยกตัวอย่างง่ายๆ เลยนะครับ เช่น คู่ใช้แสงสีแดงนะครับใส่วัตถุสีเขียวนะ นักเรียนจะคิดว่าวัตถุสีเขียวนะนะครับเราจะเห็นมันเป็นสีเหลือง เพราะว่านักเรียนเอาแสงนะครับไปผสมกับสีของวัตถุ แต่จริงๆ แล้วนะครับ ไอ้การผสมแสงสีนะครับ ไม่ใช่แบบนี้นะแสงต้องผสมกับแสงเท่านั้นนะ แสงจะไม่สามารถเอาไปผสมกับสีของไอ้วัตถุได้นะครับการที่สีของวัตถุผสมกันเรียกว่าการผสมสารสีซึ่งไอ้สารสีนั้นนะครับ จะผสมกันได้สีดำในขณะที่แสงสีนะครับแม่สีของแสงสีจะผสมกันได้สีขาวแม่สีของแสงสีมี 3 สีนะครับ Red, Green, Blue, and RGB นะครับ บวกกันจะได้แสงขาวนะ แต่ว่าสารสีนะครับแม่สีของสารสีก็จะมีสามสีนะครับ มีสีม่วงนะครับมัร์เจนต้านะครับ มีสีฟ้า สียาน แล้วก็มีสีเหลืองเย็ลโล่นะครับอันนี้สามสีนี้จะได้สีดํา ถือท่านการเรียนในคอร์สคุณก็มี CMYK มา มาบอก เอ่อ มาอธิบายให้กับนักเรียนด้วยเลยนะครับ อ่า เรามาดูกันนะครับว่าการผสมแสงสี กับการผสมสารสีนะครับกับการมองเห็นสีนั้นเป็นยังไง การผสมสารสีคงจบที่ตรงนี้แล้วล่ะเนอะเอ่อน นักเรียนจะได้เรียนในเรื่องศิลปะนะครับ เอา เรามาดูการผสมแสงสีกันนะครับแม่สีของแสงสีมีสามสี คือสีแดงนะครับ นะครับ สีน้ําเงินนะครับนะครับ ปากกาคุ้มสีฟ้านะ แต่เป็นกีนนะ แล้วก็สีฟ้านะครับ สีเขียวนะครับ บู เลสกินบู อ่ะ คู ไม่มีปากคาสีเขียว ใช้สีฟ้าแหละไอ้สามแสง ไอ้ ไอ้เลสกินบูเนี่ยนะครับ เมื่อรวมกันนะจะได้สีขาวตรงกลางนะครับ ไว้อยู่ตรงกลางนะครับแดงนะครับ แดงกับเขียวนะครับ จะผสมกันได้เย็ลโล่นะครับ หรือเหลืองอ่า แล้วก็แดงกับน้ําเงินนะครับ ได้ ได้แดงม่วงนะครับ หรือมาเจนต้าหรือสีม่วงนะครับแล้วก็ได้สีฟ้านะครับ สําหรับกรณีน้ําเงินบวกเขียวอันนี้ได้สีฟ้า สียานตัวสี ตอนนี้นะนะครับแม่สีเราก็มีสามสีนะ อ่า Red Green Blue คือ RGB นะครับอ่า สีนี้ต้องทราบก็คือว่ามันผสมกัน แต่ละสีผสมกันนะครับได้สีอะไรนะ แดงกับน้ําเงินนะครับ แดงม่วง อันนี้เป็นผ่าไทยนะ แดงน้ำเงินเป็นแดงม่วงแดงเหลือง แดงเขียวนะครับ ได้เหลืองนะครับแล้วก็น้ำเงินเขียวนะครับ ได้น้ำเงินเขียวหรือสีฟ้านั่นเองนะแล้วก็ตรงกลางนะครับ ผสมกัน 3 สีได้สีขาวทีนี้นะครับ เมื่อเราใช้แสงใส่วัตถุนะครับวัตถุนั้นนะครับ จะสะท้อนสีของมันเองนะครับและจะดูดคืนนะครับ หรือไม่สะท้อนนะครับ สีอื่นทั้งหมดเลยตรงนี้นั้น มันสะท้อนสีอะไรนะครับ ทำให้เราเห็นวัตถุเป็นสีนั้น เราจะเห็นวัตถุนะครับตามสีที่สะท้อน แต่ว่าวัตถุจะสะท้อนสีของวัตถุเองดังนั้นจึงย้อนกลับมาสู่คําถามนะครับ ที่ครูถามก่อนที่จะอธิบายเรื่องแสงสีว่าใช้แสงสีแดงใส่วัตถุสีเขียว เห็นวัตถุเป็นสีอะไร เราจะเห็นว่าถูกเป็นสีดำ เหตุผลเพราะว่าวัตถุสีเขียวนั้นสะท้อนได้เฉพาะสีเขียวนักเรียนดูตามคู่มาตรงนี้นะครับ ด้านล่างนี้นะครับเป็นการฉายแสงขาวนะ ไว้ไลก์นะครับ ตกทบวัตถุนะครับมีสีแดงนะครับ ตกทบวัตถุแดงนะครับตกทบวัตถุเขียวนะครับ ตกทบวัตถุสีน้ําเงินตกทบวัตถุสีขาวและตกทบวัตถุสีดํา เอาเริ่มจากวัตถุสีแดงก่อนด้านล่างสุดนะครับวัตถุสีแดงนั้นจะสะท้อนเฉพาะแสงสีแดงมาเข้าตาเราเท่านั้นนะดังนั้นเราจึงเห็นวัตถุสีแดงเป็นแดงภายใต้แสงขาว วัตถุสีเขียวก็จะสะท้อนเฉพาะเขียวนะครับ วัตถุสีอะไรสะท้อนสีนั้นวัตถุเขียวสะท้อนเขียว วัตถุน้ําเงินสะท้อนน้ําเงินวัตถุสีขาวสะท้อนทุกทุกสีนะครับ วัตถุสีดําไม่สะท้อนสีอะไรเลยวัตถุสีดําไม่สะท้อนสีอะไรเลย ดังนั้นทําให้มีคําเก่าที่ว่าการใส่เสื้อสีดํานั้นไปยืนกลางแดดเราจะรู้สึกร้อนนะครับซึ่งก็แน่นอนก็มันดูดคืนนะครับ พลังงานแสงไว้ทั้งหมดเลยดูดคืนแสงทุกสีไว้เลย ทีนี้ ประเด็นคือว่าเรามีแสงสีอะไรบ้างล่ะนะครับ แล้ววัตถุนั้นสะท้อนสีอะไรได้บ้างคือมันสะท้อนสีของตัวเอง และถ้ามันสะท้อนเข้าตาได้นะครับเราจึงเห็นวัตถุเป็นสีนั้นนะ ดังนั้น ถ่ายแสงสีแดง อ่าเรามีแสงสีแดง เรามีเฉพาะแสงสีแดงนะครับใส่วัตถุสีเขียว อันนี้มองเป็นสีเขียวนะครับ วัตถุสีเขียวจะสะท้อนสีเขียวไง แต่แสงสีแดงนั้น มันถูกวัตถุสีเขียวดูดกลืนดังนั้นจึงไม่มีแสงสะท้อนเลย จะไม่มีแสงสะท้อนเลยดังนั้นเราจึงเห็นวัตถุสีเขียวนี้ กลายเป็นสีดำหรือถ้าเป็นวัตถุสีน้ำเงินก็ดำเหมือนกัน อันนี้เป็นสีเขียวนะครับ สีเหลี่ยมนี้สีเขียว อ่า คุณก็ใช้มุกเดียวกับรถยนต์สีขาวหรือรถยนต์สีฟ้าที่ ที่ ที่ติดกันแล้วเราเห็นกันบ่อยบ่อยนะโดยมีหลักการดังนี้นะครับ ไอวัตถุสีที่เป็นผสมภูมิเช่นสี RGB นะครับเราจะเห็นสีมันเองกับสีดําเท่านั้นนะ วัตถุสีแดงนะครับจะเห็นเป็นสีแดงกับดําเท่านั้นนะครับ วัตถุสีเขียวเห็นเป็นเขียวกับดําวัตถุสีน้ําเงินก็เห็นเป็นแค่น้ําเงินกับดําแล้วไม่สามารถเห็นวัตถุสีน้ําเงินเป็นวัตถุสีแดงได้ เหตุผลเพราะว่า วัตถุสีน้ําเงินมันไม่ได้สะท้อนสีแดงเลยไง นะครับดังนั้นการมองเห็นคู่อาจจะสรุปได้ดังนี้นะครับ การมองเห็นสีของวัตถุนะครับกรณีแรกนะครับ คือกรณีแม่สี กรณี rgb นะครับกรณี rgb นั้นนะครับ เราจะเห็นสีตัวเองกับสีดําเท่านั้นนะครับ แปลว่าวัตถุสีแดงเราไม่สามารถฉายแสงลงไปแล้วเห็นมันเป็นสีสีเขียวได้นะ หรือเห็นมันเป็นสีเหลืองได้ ไม่ได้นะครับวัตถุแดงเห็นได้แดงกับดํา วัตถุเขียวเห็นได้เขียวกับดําวัตถุน้ําเงินเห็นได้แค่น้ําเงินกับดํา แต่ว่ากรณีวัตถุที่เป็นสีผสมอ่ะนะครับเช่น วัตถุสีม่วงแดงมาเจนต้านะครับ สีฟ้านะครับสีอ่านแล้วก็สีเหลืองเย็ลโลนะ เราจะเห็นมันเป็นสีของแม่สีที่มาผสมกันอ่ะนะครับกับสีของมันเอง และก็สีดํา สีตัวเองนะครับ สีของแม่สีที่มาผสมและนะครับสีดํา เช่น นะ วัตถุสีเหลือง ex example นะครับเช่น วัตถุสีเหลือง เยลโล เราเห็นวัตถุสีเหลืองเป็นได้คือหนึ่งสีเหลืองนะครับ สองสีแดง สามสีเขียวนะครับ แค่นี้ เราไม่สามารถเห็นว่าสีเหลืองเป็นสีน้ําเงิน สีม่วงแดงหรือสีฟ้าได้นะครับจะเห็นเป็นสีเย็ลโลนะครับ สีเลส สีกีนนะครับหรือสีดํา หรือแบล็คนะ เอ่อ ตอนนี้คุณควรใช้คําว่าหรือสีดํามากกว่าโอเค ดังนั้นนะครับ หลักการ การใช้แสงใส่วัตถุนะครับ เราต้องดูว่าวัตถุนั้นนะครับสามารถสะท้อนแสงสีอะไรได้ ซึ่งวัตถุนั้นสะท้อนแสงสีของมันเองนะครับวัตถุสีแดงสะท้อนแดง วัตถุสีเหลืองสะท้อนได้แค่เหลืองกับเขียวแล้วมีแสงอะไรมาให้สะท้อนไหมล่ะนะ คือถ้ามีแสงมาสะท้อนนะครับแสงนั้นก็จะสะท้อนเข้าตา เราจะเห็นวัตถุเป็นสีของแสงที่สะท้อนเข้าตานั่นเอง กูมักจะใช้ว่า อ่า ถ้าอย่างงั้น นักเรียนเอา เอาสีของ เอาแสงสีนะครับแสงสีที่ส่งวัตถุกับ เอาแสงสีที่วัตถุสะท้อนได้มา นะครับเอาอยู่ว่าสีที่เหมือนกันนะ แต่ที่สีที่เหมือนกันก็สะท้อนเข้าตาเราเห็นเป็นสีนั้นนะครับเอาอีกตัวอย่างหนึ่ง สมมุติวัตถุสีเหลืองนะครับถ่ายด้วยแสงสีม่วงแดงเราจะเห็นว่าถุเป็นสีอะไร เอาให้เวลาสิบวิ วัตถุสีเหลืองนะครับ ฉายด้วยแสงหรือว่ามองผ่านแผ่นกองแสงก็ได้นะครับอ่า แสงสีม่วงแดง จะเห็นวัตถุสีแดงครับวัตถุสีเหลืองนั้นนะครับ ก็มาจากแดงบวกด้วยเขียวนะแต่แสงสีม่วงแดงตัวนี้นะครับ มาจากแดงบวกด้วยน้ําเงินบูนะ ดังนั้นนะครับที่มันเหมือนกันก็คือ นะครับ ได้แดงนะครับเราจะเลยได้เห็นว่าสีแดง กัน นะครับ นี่คือจบไปเรื่องหนึ่งนะครับเราสามารถมองเห็นสีของวัตถุได้ ไม่ใช่ว่าเอาแสงกับเอาสีของวัตถุไปผสมกันแต่เราต้องดูว่ามีแสงอะไรนะครับ มีแสงอะไรสะท้อนได้นะครับคือถ้าไม่ใช่แสงแสงสีน้ําเงิน น้ําเงินก็ห้ามสะท้อนนะ อ่า มีแสงสีไร่มา มีแสงสีไร่สะท้อนได้ แสงนั้นสะท้อนเข้าตาเราจะมองวัตถุเห็นเป็นสีนั้นนะครับ โอเค นี่คือครูอธิบายเรียบร้อยแล้วนะครับแสงสีเติมเต็มนะครับ ก็คือแสงที่รวมกันได้สีขาวนะครับเช่นน้ําเงินนะครับ กับเหลืองนะครับ น้ําเงินคือบูนะครับเหลืองคือเลสกับกีนนะครับ ได้ขาว นะครับ เขียวนะครับคือกีนนะครับ กับม่วงแดงก็รวมกันได้ขาวนะครับ กีนนะครับ กับม่วงแดง ม่วงแดงก็เลสกับบูรวมกันได้ขาวนะครับแดง เลสนะครับ บวกน้ําเงินเขียวนะครับบี จี ก็รวมกันได้ขาวเหมือนกัน หรือไม่ง่ายเป็นแสงที่อยู่เป็นสีที่อยู่ตรงข้ามกันนะครับ ก็จะรวมกันได้สีขาวแดง น้ําเงินนะครับ ตรงนี้แดงเขียวนะครับอ่าบวกจี ตรงนี้แยโล ตรงนี้อ่าบวกบีนะครับ แล้วก็ตรงนี้ b ไม่ใช่ อันนี้กีน อ่า ตรงนี้ bboo บวกกีน ก็ตรงข้ามกันนี้นะครับboo นะครับ กับ rg นะครับ ได้ขาวนะrb กับ g ก็ได้ขาว r กับ bg ก็ ก็ได้เป็นแสงขาวเราเรียกว่าแสงสีเติมเต็ม ถัดมาเป็นเรื่องความล้าของเลสีน่านะครับเมื่อเรามองแสงสีใดนานนานนะครับ เลสีน่าสีนั้นก็จะล้า พอ Retina สีนั้นล้า เราจะไม่สามารถรับรู้แสงสีที่มองนานๆ นั้นได้นะครับเช่น เรามองวัตถุสีเขียวนานๆ นะครับ และเราไปมองวัตถุสีเหลืองเราจะมองเห็นวัตถุสีเหลืองนี้นะครับ กลายเป็นสีแดงเพราะว่าวัตถุสีเหลืองนั้น ก็สะท้อนเขียวกับแดงมา ใช่ไหมแต่ว่าเราล้าสีเขียวไปแล้วนะครับ เราจึงเห็นวัตถุสีเหลืองเป็นแดงนะครับคุยกตัวอย่าง EX นะครับ มองสีเขียวนานๆ แล้วไปมองวัตถุสีเหลืองเราจะเห็นวัตถุนะครับเป็นสีแดงเหตุผลนะครับ เพราะเราล้าสีเขียวแล้วล่ะ สําหรับ วิดีโอ นะครับ ติว สรุป ฟิ สิ ค นะครับ บท ที่ สิบ แรกเรื่อง แสง เชิง ลัง ศ ี ก็ ศ ึก ษา ว่า ทาง ศ ี ของ แสง นั้นนะครับ มันจะ สะ ธ ร ณ นะครับ แล้ว มันจะ ห ัก เฮ นะครับ เป็นยังไง บ้าง ใน ตอน ต้น นะครับ ของ วิดีโอ นี้ ครู ก็ สอน เรื่องการ ส ะ ธ ร ณ ของ แสง สอน เรื่อง กระ จก ง อง รา บ นะครับสอน เรื่อง การ เกิด ภาพ สอน เรื่อง การ มอง เห็น ภาพ นะครับสอน เรื่อง การ หมุน กระ จก สอน เรื่อง การ สอน เรื่อง การ มอง เห็นนะครับ ตัว เรา ได้ ทั้ง ตัว ใน กระ จก หลังจากนั้น ครูสอนเรื่องการหักเหตุของแสงนะครับสอนเรื่องมุมวิกฤตและการสะท้อนกับหมดสอนเรื่องภาพที่เกิดจากเลนส์นูนนะครับ เลนส์เว้าต์และภาพที่เกิดจากกระจกเว้าต์ กระจกนูนพร้อมด้วยสมการที่ใช้ในการคำนวณนะครับและสอนเรื่องการผสมแสงสี การมองเห็นสีนะครับการมองเห็นวัตถุภายใต้แสงสีอื่นนะครับ ว่าทํายังไง แล้วก็มาถึงหน้านี้ก็เป็นแขลงสีเติมแจมแล้วก็ความร้าของเลสิน่านะครับถัดจากหน้าติวสรุปเนื้อหาก็จะเป็นแบบสุดหัดที่มีทั้งหมด 20 ข้อครูกำหนดให้นักเรียนใช้เวลาในการทำ 1 ชั่วโมงก็ข้อละ 3 นาทีนะครับขอให้นักเรียนทดลองทำเองเมื่อทำเสร็จค่อยมาดูเฉลยหรือค่อยมาดูวีดีโอเฉลยกันนะครับบอกให้เป็นอย่างยิ่งว่าวีดีโอนี้จะช่วยให้นักเรียนได้รวบรัดได้รวบยอดได้สร้างของการทำสร้างของเรา สรุปความเข้าใจของฟรีสิกท์เมาส์ 5 บทที่ 19 แสนเชียงอังกฤษและสามารถนำพอรูปไปใช้ในการทำข้อสอบที่โรงเรียนและทำข้อสอบเข้าหมายวิทยาลัยได้ขอให้ทุกคนตั้งใจเรียนและประสบความสำเร็จในการสอบสำหรับวิดีโอนี้ คลิปนี้ สวัสดีครับ