สวัสดีครับสวัสดีครับทุกคนครับยินดีต้อนรับนะครับกลับเข้าสู่ซีรีส์ ติวสรุปพิจิตภิกษ์เอเวลนะครับในบทนี้ก็ขึ้นบทที่ 15 นะครับแม่เหล็กและไฟฟ้า โหยเรามาเข้าสู่ของสุดท้ายของช่วงบทของเนื้อหาพิจิตภิกษ์แล้วนะอุ้ยเราอยู่ ช่วงบท 15 แล้วนะเก่งมากเลยทุกคนเย่มา ก็มาเรื่องนี้กันครับ เรื่องนี้เป็นเรื่องถือว่าเริ่มบทใหญ่มากมากหนึ่ง บทของวิชาฟิสิกส์เลยนะครับ แม่เหล็กและไฟฟ้าครับ โอ้โห เนื้อหาจะมีจำนวนเยอะพอสมควรนะครับ ไปดูกันว่า เอ้ย น้องต้องดูอะไรบ้าง ทําอะไรยังไงบ้างนะครับ ไปดูพร้อมพร้อมกันนะครับ ในคลิปนี้เนี่ย เราจะคุยกันเรื่องพื้นฐานของแม่เหล็กก่อน ว่า เอ้ย แม่เหล็กมันคืออะไรนะครับ แล้วมันมีความสัมพันธ์กับไฟฟ้าด้วยหรอ เอ้ย มันเป็นยังไงกันนะครับ เรามาดูปัจจัยกันว่า มันมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องอะไรกัน ถ้าพูดตรงเนี่ย แม่เหล็กไฟฟ้าเนี่ยเป็นเหลี่ยงสองด้านนะครับ หัว ด้านหัวด้านก้อย มันมีความแบบพลิกไปพลิกมาของมันอยู่แล้ว แค่เราจะมองด้านไหน อ่ะ เราเห็นก่อน เห็นไหม เราเห็น ขั้วเหนือขั้วใต้ นะ มันเหมือนไฟฟ้าเลยป่ะ เนี่ย ถ้าเป็นขั้วต่างกัน ก็เกิดเป็นแรงดูด ขั้วเหมือนกันก็เกิดเป็นแรงผัก เป็นแรงผัก เอ้ย มันคล้ายตอนที่เราทําอะไรนะ บวกลบ บวกบวกลบลบเลย อ่า นั่นคือ แรงแม่เหล็กครับ ว่ามันมีอะไรแบบนั้น แต่แม่เหล็กเนี่ยมันถูกค้นพบตั้งแต่สมัยเรามีเข็มทิศใช่ไหม ดังนั้นเนี่ย เวลาเขากําหนดทิศว่าทิศแม่เหล็กมีทิศอะไรเนี่ย เขาก็จะกําหนดตามทิศของไอ้ตัวเข็มทิศ อ่า มันก็จะมีแบบนี้แน่ เห็นไหม สนามเส้นแรงแม่เหล็กมันจะมีเส้นแรงเกิดขึ้นตามที่ต้องเข็มทิศ นี่นี่เป็นขั้วเหนือนะ ก็จะวิ่งไปหาขั้วใต้แบบนี้ด้านนอกก็จะเป็นอย่างนี้นะครับ จริงจริงด้านในอ่ะ เขาก็ถือว่ามีอยู่นะ ด้านในเนี่ย มันจะวิ่งจากใต้ไปเหนือแบบนี้ อ่ะ นี่แหละนะ แต่ถ้าเป็นแม่เหล็กสองอันมาเจอกันอย่างเงี้ยนะครับ เราก็จะเห็นว่า มันจะวิ่งจากเหนือไปใต้แบบนี้ เหนือไปใต้แบบนี้เห็นไหม และถ้าเป็นเหมือนกันนะ ประจุเหมือนคั่ว ไม่ใช่ประจุคั่ว คั่วเหมือนกัน คั่วเหนือเหมือนกันเนี่ย ก็จะผลักออกจากกันป๊าปป๊าปป๊าปป๊าป เราพิสูจน์ไอ้เส้นเส้นที่เห็นอย่างเงี้ยได้ยังไงครับ อ่าบอกมึงไม่เคยเห็นนะ พิสูจน์ได้ยังไง อ้าเราไปดูอย่างงี้กันครับ ก็คือตัวเนี้ย เขาก็พิสูจน์ได้จากเข็มทิศนั่นเองครับ อ่าอะไรเอ่ย เนี่ย เรามีเข็มทิศอยู่ใช่ไหม ลองดูสิ ถ้าอันนี้เป็นเหนือใช่ปะ มันก็จะเห็นว่า เส้นของมันจะวิ่งตามนี้ พอมันขึ้นไปเนี่ย มันจะโค้ง เห็นปะ สีแดงเข็มทิศ มันก็วิ่งตามไปแบบนี้นั่นเองครับ แปลว่าอันเนี้ยคือ ทิศทางของเข็มทิศนะครับ ว่ามีทิศทางอะไร ก็วิ่งไปตามนี้แหละ อ่า วิ่งไปตามนี้นะ ให้ดูไว้ ความรักสนใจอีกหนึ่งจากหนึ่งอย่างที่ควรรู้ไว้ครับ คือโลกครับ โลกเนี่ยเรา เข็มทิ้น เนี่ย ชี้เป็นชิ้นเหนือก็จริงใช่ป่ะ ชี้เป็นชิ้นเหนือ ป้าป้า เห็นป่ะ ที่เป็นชิ้นเหนือก็จริง แต่ให้รู้นะ ความจริงแล้วเนี่ย เรารู้คอนเซ็ปต์ของแม่เหล็กไปกี่นี้ แปลว่า คั่วโลกเหนือเป็นแม่เหล็กใต้ครับ เพราะว่าเส้นแรงแม่เหล็กอ่ะ กําลังวิ่งไปแบบนี้ แปลว่ามันจะสลับกัน เห็นไหม คือ คั่วโลกเหนือ คือแม่เหล็กใต้ คั่วโลกใต้คือแม่เหล็กเหนือนะ อ่ะ อันนี้คือหลักการตรงนี้ เนี่ย เราก็จะรู้แล้วว่า เอ้ย มันเป็นอะไรยังไงนะ เราก็สามารถทราบ ตรงนี้ได้ อ่ะ ไปดูเนื้อหาอื่นต่อไป อันนี้เรารู้แล้วว่า เออ แม่เหล็กอ่ะ มันจะมีแรงกระทำระหว่างการแกะค้ายไฟฟ้าเลยน่ะ แล้วมันก็จะมีเส้นแรงแม่เหล็กแบบนี้เกิดขึ้น ที่เราเห็นเป็นเส้นเส้น เส้นเส้นเส้นเส้นแบบนี้นะครับ เพราะเป็นเส้นเส้นแบบนี้แล้วเนี่ย เราก็จะหาความเข้มของสนามแม่เหล็กครับ อ่ะ คือเขาเรียกว่าฝากแม่เหล็กนั่นเอง มันจะเป็นเส้นแรง คิดว่าเห็นอยู่เป็นฝากแม่เหล็กนี่ใช่ไหม คราวนี้เนี่ย เราต้องหาให้เป็น คือ อะไรเอ่ย นะ หา B นะ B มันจะเป็นต่อพื้นที่ สมมุติบอกว่าพื้นที่หน้าต่อตรงตรงนี้ เราหามาก เช่นเราสุ่มสักที่หนึ่ง อ่ะ แล้วหวังทางตรงนี้เลยนะ ภาพตรงกลาง สมมุติบอกพี่มีพื้นที่ตรงนี้อยู่ เป็น A อย่างเงี้ย ถามว่ามีเส้นเข้ามาเนี่ย เคลมเท่าละ ขนาดเท่าไร ต้องการหานะ ความเข้มตรงเนี้ยที่มันต่อพื้นที่เป็นเท่าไรนะครับ เราก็จะหาได้แบบนี้ครับ คือดูเป็นภาพแบบนี้ สรรพาการความเข้มสนามแม่เด็กครับ ก็คือ B เท่ากับฝักหารด้วย A นะครับ ฝักแม่เด็ก ฝักก็คือแสนแรงแม่เด็กนั่นเอง แต่เงื่อนไขมันมีหนึ่งอย่างครับ มันต้องตั้งฉากกันครับ อันนี้ก็คือมีเงื่อนไขนะ ว่า B กับ A ต้องตั้งฉากกัน จะเห็นว่าภาพนี้มันใช้เลยไม่ได้ คือจะเห็นว่า B มันยังเฉียงๆ อยู่ อย่างภาพตัวอย่างนี้ใช่ไหม แล้วตั้งแต่เวคเตอร์ B ออกมาให้เป็นแนวตั้งฉากครับ ซึ่งแต่ไงล่ะ ก็คือตัวนี้เราจะเห็นว่า Theta จะเป็นที่นี้ใช่ไหม แนวตั้งฉากของมันจะกลายเป็น B cos Theta ดังนั้นเวลาใช้เนี่ยให้ B มันตั้งฉาก A ก็ต้องใช้เป็น B คอร์ส Theta สมการเลยเป็นแบบนี้นะครับ ให้ดูว่ามันต้องตั้งฉากกัน คราวที่เราก็จะมาที่เวลาทำโจทย์เนี่ย เวลาทำโจทย์เรื่อง B เนี่ย เขาจะมีเป็นกากบ่ายกับจุด มันคืออะไร ให้มองอย่างนี้ว่า B เนี่ยมันเป็นธนูครับ โดยตัวสีแดงเนี่ยมันคืออย่างนี้นะ กลมๆเนี่ยคือหัวธนู ในขณะที่ตัวกางกระบาดตัวนี้คือ คือ คือ คือ เขาเรียกว่าอะไรอ่ะ ปลายธนูอ่ะ เออ เรียกว่าปลายธนูแล้วกันนะ ไม่รู้จะเรียกว่าอะไร หางธนูหรือปลายธนู อย่างงี้ครับ การที่เราเห็น แล้วกระดาษเราเป็นกระดาษที่กําลังโดนธนูยิงอยู่อ่ะ มันแปลว่า ถ้าเราเห็นแบบนี้แต่จุดจุดจุดรวดรวมแบบนี้นะ มันแปลว่ากระดาษเนี้ยกําลังถูกยิงออกมา อ่า คือยังไง นี่เป็นกระดาษแผ่นนี้ อืม ปุ๊บ ปุ๊บ ปุ๊บ ปุ๊บ ปุ๊บ ปุ๊บ นะครับ เราก็จะเห็นนะคะว่า ตรงเนี้ยเป็นหัวกลมกลมกลมกลมแบบนี้นะ คือ กําลังพุ่งออกนะ มันกําลังพุ่งออกไป ชิง นะ แปลว่าคนเห็นฝั่งเนี้ย จะมองว่า พุ่งออก นะ ในขณะที่คนเห็นฝั่งนี้นะครับ ที่เป็นกางกะบาดแบบนี้ ปุ๊บ ปุ๊บ ปุ๊บ แปลว่ามันกําลังพุ่งเข้ากระดาษครับ อ่า กําลังพุ่งเข้ากระดาษ นี่แหละ มุมม้อเป็นสามมิติยังไงนะ เราก็จะสามารถมองเห็นแบบนี้ได้ ถ้าเราเห็นเป็นกระดาษที่เป็นกากบาดเนี่ย แปลว่า บีกําลังพุ่งเข้ากระดาษนะครับ ในขณะที่ เป็นจุดจุดนี้กําลังพุ่งออกใส่หน้าเรานั่นเองครับ อ่ะ นี่ก็คือดูให้เป็นว่าเป็นยังไง ถ้าที่มาเนี่ยเราให้เรารู้นึงว่า อย่างที่บอกไปไฟฟ้ากับแม่เหล็กเนี่ย มันเป็นเหลี่ยนสองด้านระหว่างกันนะ คือมันสามารถสร้างแม่เหล็กอ่ะ จากไฟฟ้าได้นะ แม่เหล็กจากไฟฟ้าได้ อ่ะ เราจะเห็นว่า อันเนี้ยเป็นผงตะใบเหล็กทั้งหลายแรก มันถูกแรงกระทําได้นะครับ ถ้าเราใส่ กระแสฟ้าเข้าไปดูสิยังไงเราไปดูก่อน อ่ะ เราก็มาดูครับ ยิ่งตัวนี้เนี้ย เรามีกระแสฟ้าไปแบบนี้ใช่ป่ะ เรากํามือไปครับ กํามือ มันจะได้เป็นม้วนม้วน แบบม้วนม้วนม้วนแบบนี้ ฉะนั้นเราจะเห็นว่า ตัวสนามของมันเนี้ย มันจะม้วนไปแบบนี้ อ่า เราก็จะเห็นนะ มันมีหน้าตาเป็นแบบนี้นะครับ แล้วถัดไปครับ ถ้าเราทําเป็นวงกลมนะ ขดลดเป็นวงกลมแบบนี้นะครับ เวลามันเกิดเนี้ย มันจะเกิดเป็น เป็นบวนเป็นห่วง เป็นห่วงรอบ รอบนะ ตัวนี้มันเห็นไหม เราก็จะเห็นว่า มันก็เลยมีเกลียว เป็นเกลียวคลื่นแบบนี้นะครับ เนี่ยเราสามารถใช้มือเนี่ย ในการสร้างแม่เหล็กขึ้นมาได้นะครับ และอีกแบบนึงเนี่ย สามารถทําเป็นควดเหนือโคตรได้เลย ได้ดีอย่างดีเลยนะครับ คือ โคตรรวด นั่นเองครับ ก็คืออันที่เราใส่ไปแล้วเนี่ย มันทําให้แม่เหล็กเนี่ย มันเหมือนวิ่งไปทางนี้นะ เห็นไหม มันจะเหมือนวิ่งไปแบบนี้ แล้วกลับมือเนี่ย จะเป็นแบบนี้ได้ อ่ะ เราไปดู ตัวโปรแกรมที่พี่ทํามานิดหนึ่ง ก็ของเพจนะครับดีมากมากแอปนี้คือนี้เราเห็นนะครับว่าแม่เหล็กเนี่ยมันสามารถถูกสร้างขึ้นมาได้นะครับโดยใช้ตัวแบตเตอรี่อ่ะเห็นไหมคือเมื่อเราใส่แบตเตอรี่ไปเนี่ยถ้าเราไม่ใส่แบตเตอรี่นะมันก็ไม่มีสภาพแม่เหล็กเห็นป่ะอันเนี้ยไม่มีสภาพแม่เหล็กแล้วไม่ขยับไปไหนเห็นป่ะไม่มีสภาพแม่เหล็ อันนี้เหมือนกันเป็นขั้วเหนือได้เลยนะ แล้วก็อันนี้เป็นขั้วใต้ จะเห็นว่าเหมือนแท่งแม่เหล็กที่เรามีเลยนะ ซึ่งมันมีข้อดีหนึ่งอย่างในตัวนี้คือ เราอยากกลับทิศเมื่อไรก็เปลี่ยนทิศทางแบตเตอรี่ เห็นไหม ฝั่งนี้กลายเป็นเหนือแทน อันนี้เป็นตายแทนนะครับ นี่เรียกว่าขดลวดโซลีนอยน์นั่นเองครับ มันก็สามารถกลับทิศไปมาได้ เราสามารถสร้างแม่เหล็กจากไฟฟ้านั่นเองครับ เราเรียกว่าขดลวดโซลีนอยน์นั่นเอง อ่ะ นี่แหละ คลิปหลัก ตัว อย่าง ของ เรื่อง แม่ เหล็ก มัน มี อะไร บ้าง นะ น้อง ก็ เรียน รู้ จาก คลิป นี้ ว่า เออ มัน มี แรง แม่ เหล็ก อยู่ แรง แม่ เหล็ก เนี้ย ถ้า มัน ต่าง กัน ก็เป็น แรง ดู น นะครับ ถ้า มัน เหมือนกัน ก็เป็น แรง ผัก นะ รู้จัก คํา ว่า คํา ความ เข้ม ส นา แม่ เหล็ก แต่ต้องตอบตอนที่มันวิ่งอยู่ด้วยนะ ถ้าไม่วิ่งเนี่ยมันจะยังไม่มีนะ คือยังไง คือเดี๋ยวค่อยอธิบายสูตรอะไรก่อนนะ ให้น้องเห็นภาพเหตุการณ์ก่อนว่า เอ้ยมันภาพเหตุการณ์อะไรบ้างในเรื่องนี้นะ ไป อืม นี่คือเรื่องราวของเรานะครับ อันนี้คือมีอะไรอยู่ เป็นสนามแม่เหล็กอยู่นะ มันก็เป็นตัวบีแบบนี้ใช่ป่ะ เพราะเป็นแบบนี้แหละ เราก็จะเห็นอาทิตย์ทางมันก็จะวิ่งแบบนี้ อันเนี้ยพุ่งออกเห็นไหม มันจุดนะ พุ่งออก ปึ๊บ พึ่งออกแบบนี้ครับ เราจะเห็นนะว่าถ้าประจุลบกับบวกแบบนี้เนี่ย ถ้ามันมีความเร็ว ต้องมีความเร็วก่อนนะครับ มันจะมีแรงกระถำแล้วมันจะเคลื่อนที่เป็นลูกวงกลมในสนามแม่เหล็กครับ แต่จะเห็นว่าทิศทางการเคลื่อนที่เนี่ย ของประจุบวก เป็นแบบนี้ กับประจุรบมันจะไม่เหมือนกันนะ ประจุรบไม่เหมือนกันนะ เห็นไหม มันจะคนละแบบนะ ไม่เหมือนกัน ทิศทางการโค้งคนละทิศทาง เราจะมาหากันว่าทำไมเนี่ย เราจะคำนวณได้ยังไงถึงจะมา แต่ละแบบเนี่ย ถึงการโค้งที่ไม่เหมือนกันนะ มีแรงอะไรกันทำมันอยู่นะ รัฐสมีตลาดแบบเนี่ย ก็ไม่เท่ากันนะครับ ซึ่งไอ้ตัวการยิงแบบเนี้ย มันจะมีอยู่สองแบบ คือ ให้ดูเลยแล้วกัน เป็นโค้งตรงกับโค้งไม่ตรง อืม คือยังไง อันนี้มันแบบยากไปแล้ว เอาขอแบบ โค้งตรงก่อน อ่ะ คือแบบนี้ คือถ้าปรากฏว่าความเร็วเนี่ย วิ่งตั้งฉากนะ ตั้งฉากเนี่ย มันจะวิ่งเป็นตรงวงกลมแบบนี้ไปเรื่อย ไม่หยุดนะ แต่ปรากฏว่าถ้าเรายิงแบบเป็นเกียว คือยิงแบบนี้ อืม ยิงแบบ ถ้ายิงตรงตรงเห็นป่ะ จะไม่เกิดแรงกระทำ อ่ะ ขนาดนั้น ความเร็วขนาดบีไม่เกิดกระทำ แต่ถ้ายิงแบบนี่ เฉียงเฉียง เนี้ย โค้งโค้งเนี้ย มันจะยิงออกไปเป็นเกียวขึ้นแบบนี้นั่นเองครับ อ่ะ นี่แหละ คือสิ่งที่เราจะมาคุยกันในคลิปนี้นะครับ คือ แรงที่กระทำในประจุที่อยู่ในสถานะไม่เหล็ก แต่ต้องมีความเร็วนะครับ ด้วยแรกกระทำของมัน เราสามารถหาได้เลยนะครับว่า จากสูตรตัวนี้ครับ F เท่ากับ Q V B นะ โดยมันเป็นที่มาจากเวคเตอร์แล้วกัน มันจะแบบระดับเขาเริ่มเข้าสู่มหาลัยแล้ว มันต้องเกิดมาจาก Q V ระหว่างกันนะ อันนี้ต้องเวคเตอร์สามิติคณิตศาสตร์นะครับ จากสมการนี้ถ้าใครจำได้ มันจะเหมือน Q V U Q V นะครับ ตรงนี้เนี่ย มันจะได้ว่าอะไรเอ่ย ขนายของ u ควอร์ส v นะ มันก็คือขนายของ u คู่นขนายของ v คู่นสายทีต้านั่นเอง อันนี้ก็ไปทบทวนในเรื่องเวคเตอร์เอานะครับ สมการนี้ของเราเนี่ยก็จะได้ตัวนี้ขึ้นมาครับว่า แรงแม่เหล็กนะครับ ก็เท่ากับ q v b สายทีต้านั่นเอง หรือจริงๆแล้วเนี่ย อันนี้มันเขียนแบบถูกต้องแบบตามหลักเป๊ะๆนะ แต่โดยหลายๆครั้งก็เวลาทำโจทย์ขอเขียนแค่นี้พอนะ f เท่ากับ q v b สายทีต้า สมการก็ดูไม่ได้ยากเลยเนี่ยครับพี่ ก็ใช่ครับ มีแค่นี้แหละ โดยต้องรู้ว่ามุมที่เราเห็น V และ B นั่นเอง ตัวที่ตายทีต้าคือ ตรงนี้นะ ทีต้าคือมุมระหว่าง V กับ B ครับ ให้เรารู้นะ มันคือมุมระหว่าง V กับ B แบบนี้ แล้วเราก็ไปดูต่อ ควรจะรู้นิดนึงครับ ไม่ได้เขียนไว้ก็เขียนไว้ก่อนนะ ถ้าปรากฏว่าเป็น 90 มุมมันตั้งฉากกัน อย่างภาพเนี้ยคือตั้งฉากกัน เนี้ยเราย้อนกลับไปเนี้ย ถ้ามันตั้งฉากกันแบบนี้เนี้ย จะมีข้อดีมากมากหนึ่งอย่างคือ จะได้ว่า สายเก้าสิบนะครับ สายเก้าสี่สองสามก็มีค่าเป็น หนึ่งนั่นเอง ชับ โพสต์นี้ก็ถูกเหมือนไม่ต้องคิดไปเลยนะ เป็นคิววีบีไปเลย แบบนี้ไปนะ อันนี้ก็จะมีแรงกระทำแบบนี้นะ เราจะสามารถหาทิศทางของเอฟเนี้ย ได้จากกดมือขวา อันนี้ย้ำก่อนว่าท่านี่เราทําอยู่เนี่ย เป็นท่าของประจุบวกนะ มันจะมีสองประจุคือบวกกับลบ อันนี้ประจุบวกกําลังวิ่งอยู่นะครับ เราสามารถใช้มือขวาแบบนี้ ทํายังไงครับ ถ้าประจุบวกใช้มือขวา อ่ะ เขียนไปแล้วนะ ประจุบวกเนี่ยเราให้ใช้มือขวา การหาทิศของ f นะ ประจุลบก็เปลี่ยนมือเป็นมือซ้าย สี่นิ้วตามวีนะครับ จริงจริงมันมีท่าสองท่า ท่านี้แต่พี่ว่ามันเจ็บมืออ่ะ จริงจริงท่านี้ก็โอเคนะ แต่พี่ชอบใช้การกํามือมากกว่ามันสูงว่า มือมันไม่เมื่อย มีแค่นี้แหละ หลักการนะครับ ไม่ได้มีอะไรครับว่า ทำไมไม่ใช่ท่านี้ มันก็ทําได้แหละ แค่มันเมื่อยนิ้ว แบบนี้มันดูไม่ค่อยเมื่อยนิ้วดี ก็คือ อย่างภาพนี้ สี่นิ้วตามวีนะครับ เข้าไปก่อนปุ๊บ กํา ปะครับ กําตามทิศบีครับ บีอยู่ไหนก็กําไปตามทิศนั้นเนี่ย กําไปแบบนี้นะครับ กําตามบี เอกเนี่ยจะกลายเป็นนิ้วโป้งครับ หลักการมีแค่ในนี้ครับ จําคําให้ดีครับ สี่นิ้วตามวีบีเข้าหลังมือหรือกําตามบีก็ได้นะ บางครั้งนะ พี่ก็ใช้หมอว่า เหมือนเด็กเล่นเกมไง ก็คือ มองว่าอันนี้คือโล่ นะ บีคือธนู นะ แล้วก็ สี่นิ้วตามวีขึ้นไปแบบนี้นะ ปุ๊บ แล้วก็ให้ธนูเนี่ย เข้าทางนี้ เท่าหลังมือ กลําไปเรียบร้อย อ่า นิ้วโป้งกันคือเทปของทิศของ fb นะครับ มันก็เป็นหลักการแบบนี้นั่นเองครับ อ่า เรามาดูภาพตัวอย่างว่า ประจุไฟฟ้าต่างต่างเนี่ย ที่วิ่งเข้าไปแล้วเนี่ย มันจะมีทิศของ f ยังไงบ้างนะครับทุกคนครับ ป่ะ ไปดูกัน เราจะเห็นนะคะว่า ประจุบวก อ่ะ ย้ำก่อนอย่างแรกเป็นประจุบวก ประจุบวกครับเพื่อใช้มือขวานะ มือขวาไป จะเห็นว่าใช้หลักการนี้เลย สี่นิ้วตามวีครับ อ่า สี่นิ้วตามวี ประจุบวกเป็นมือขวานะ ย้ำว่าทําไมถึงใช้มือขวา ก็เพราะว่าตอนนี้เราทําประจุบวกนะ ประจุบวกก็ใช้มือขวาไป สินตามวีครับ จนนั้นครับ ตัว เนี่ย กําลังพุ่งเข้า ฉะนั้นเนี่ย ให้มัน ถ้ามองเป็นสามมิติเนี่ย ให้มันพุ่งเข้าหลังมือครับ ให้มันเข้าหลังมือจนนะครับเราจะได้ขึ้นมาว่าทิศของตัว f ที่เราสนใจอยู่นะ ก็คือจะทิศขึ้นแบบนี้เห็นไหม มันก็เลยได้ f เป็นทิศขึ้นแบบนี้ มันเลยทำให้การคงของมันเนี่ย เดี๋ยวมันเข้าไปแล้วมันจะคงขึ้นแบบนี้นั่นเองครับ นี่แหละคือรูปแบบ แบบที่ 1 ว่าเป็นยังไง ไปดูเรื่อยๆนะจะได้เข้าใจ แบบ 2 ครับ แบบนี้ เหมือนเดิมตอนนี้เป็นประจุบวก แล้วก็ใช้มือขวาแบบนี้นะครับ และเหมือนเดิม 4 นิ้วตามวีครับประจุกำลังไปทางขวาแล้วก็สินิ้วตามวีแบบนี้ป๊าปไปเนี่ยแต่คราวนี้บีต้องเข้าหลังมือแต่บีกำลังพุ่งออกอยู่นะเราหงายมือไม่ได้ต้องให้เข้าหลังมือบีเนี่ยมันจะเข้าหลังมือมาแบบนี้นะให้เข้ามาแบบนี้ปุ๊บปุ๊บปุ๊บปุ๊บแล้วก็กลับแบบนี้แล้วก็นิ้วโป้งมันจะทิ้งลงใช่ไ คงลงแบบนี้เพราะว่านิ้วโป้งมันทิดลงนะ แล้วก็ได้แล้วนี่คือประจุบวกสองแบบมันก็จะคงไปมาแบบนี้นะอยู่ที่ว่าสนามแม่เหล็กทิดไหนคราวนี้ไปจูประจุลบ้างประจุลบนะประจุลบเนี่ยเราก็ไปดูอ่าเห็นไหม พอเป็นจุดลบนะพี่จะใช้กลายเป็นมือซ้ายแทนนะใช้มือซ้ายในการว่ามแทนนะครับในการทําตรงนี้แล้วเหมือนเดิมสี่นิ้วตามวีครับสี่นิ้วตามวีแต่ต้องใช้มือซ้าย แล้วปรากฏว่า B กำลังพุ่งเข้ากระดาษนะ พุ่งเข้ากระดาษ ใช่งั้นนะครับ เราก็จะให้ B มันพุ่งชนหลังมือเรา ปุ๊บ ชนหลังมือเรา หรือจริงๆ ถ้าใครจะมองก็คือเป็นคอร์สแบบนี้ กำ B ตามนี้ก็ได้นะ นี่คือ B เราจะได้ว่า เมื่อเรากำแบบนี้แล้วนะ เมื่อเรากำแบบนี้แล้ว เออ จริงๆ เขียนแบบนึงให้ดูนะ กรรมแบบเมื่อกี้เนี่ย เราใช้วิธีการกรรมเอา มันก็ถูกต้องไม่ได้ผิดอะไรนะ กรรมเอานะ กรรมแบบนี้ นี่คือมุม Theta นะ อย่างนี้เราคือ ตรงนี้ถ้าใครมองเนี่ย มันคือ B มันจะมาทางนี้นะ แล้วมันก็จะกรรมไปทางนี้นะ คือใช้วิธีการกรรมมือแทนนะ มันมีอีกวิธีหนึ่งอย่างที่บอกไปว่า มันมองเข้าหลังมือเป็นหรือเป็นการกรรมมือก็ได้นะ ตรงนี้ไปเนี่ย เราจะได้ว่า B แบบนี้เนี่ย เป็นการกรรมมือไปแบบนี้ กรรมมือขึ้นแล้วหมุน อ้าวไม่ใช่ นั่นเพลงสมัยเด็กละ กลับมาเข้าเรื่องของเรา คราวนี้ครับ เราก็เป็นแบบนี้ใช่ไหม มือซ้าย แล้วก็กําไปทางนี้ หรือเข้าหลังมือก็ได้นะครับ เราก็จะได้ว่า ทิศของ F เนี่ย มันก็จะทิศลงแบบนี้ ทําให้ประจุลบที่เข้ามาแบบนี้ มันก็จะโค้งลงไปแบบนี้นั่นเองนะครับ และแบบสุดท้ายเพื่อให้เราเข้าใจนะ เหมือนเดิม ถ้าเราเจอประจุลบเนี่ย ก็เลือกใช้มือซ้ายก่อนนะครับ แล้วเราก็ให้ตัวนี้นะ สี่นิ้ว ตาม V เหมือนเดิม ให้บีเข้าหลังมือครับหรือเราจะกลับไปแบบนี้ แล้วก็เป็นการกลับไปเห็นป่ะ กลับมือตามทิศนี้นะครับ เราจะได้ว่านิ้วโป้งของเราเนี่ยก็จะเป็นทิศของนี่นั่นเอง ของเอฟนั่นเองครับ เราก็จะหาได้ก็กลับไปแบบนี้ ใช้มือซ้ายเพราะเป็นประจุรบ ใช่ไหม นี่คือแต่ละแบบครับว่าเราสามารถหาทิศ ของตัวนี้ได้อย่างไร สําหรับเจ้า อ่า ประจุที่วิ่งในสนามแม่เหล็กนะครับ จากนั้นเนี่ยเราจะดูว่าถ้ามันเคลื่อนที่แบบครบรอบเลย บนบนบนบนเลยน่ะ มาดูตรงนี้กัน ก็คือตรงนี้ครับ ถ้ามันเข้าไปแล้วเนี่ย มันบนบนบนบน เราอยากหารัสมี รัสมีเป็นยังไง เหมือนที่พี่เปิดให้ดูตั้งแต่แรกเลยนะ ที่ตรงเนี้ย เราอยากรู้ว่ารัสมีเนี้ย เป็นเท่าไร อะไรยังไง นี่ที่เราเห็นนะ เนี้ย เราอยากเห็นว่าเออ มันรัสมีเป็นอะไร ถ้าเราอยากหานักศัมยีแบบนี้ครับ เราก็มีสมการให้ดูนะ อ่ะ ไปดูกัน ก็คือสามารถพิสูจน์ได้จากนี้ ถ้าใครอยากรู้พิสูจน์นะ ก็พิสูจน์มาจากสมการนี้นะครับ คือ Fc เท่ากับ mv ยกกำลัง 2 ส่วน r ปุ๊บๆ แล้วก็ได้ว่ามันคือ qvb ทราย 90 ทราย 90 มันจะหักล้างพอดีนะ ก็กลายเป็น mv ยกกำลัง 2 ส่วน r ก็ไปตัดสมการเอาไปมา มันก็จะได้เป็น r เท่ากับ MV ส่วน QB นั่นเองนะครับ อ่า เราก็จะได้หารักษรินิดาเป็นยังไง ถือว่าเป็นสมการที่คนรู้ไว้แล้วกัน น่าจะมีโอกาสได้ใช้พอสมควร อีกตัวหนึ่งเป็นตัวแถมครับ คือถ้ามันเป็นเกลียวขึ้นเนี่ย เป็นเกลียวเฮลดิกเนี่ย อ่า มันจะวิ่งไปแบบนี้ ป๊อบ นะ ตัวนี้เนี่ย เราก็จะได้ว่ามันคือ อ่า เท่ากับ MV สาย Theta หารด้วย QB นั่นเอง มันจะคล้ายคล้ายเดิมนะ แต่มันแค่มีโพสต์สาย Theta ขึ้นมาน่ะ ก็จบไปเรียบร้อยนะครับ นี่คือ รักการนะครับ ของแรง แม่เหล็กที่จะทำต่อตัวภาพที่มีประจุนะมันก็สมการไม่ยากนะจริงๆคือ f แล้วก็ qvb สายที่ใต้แบบนี้และความยากของมันคือการหาทิศนะเราต้องกำให้เป็นนะว่าเอ้ยเราจะหาทิศของ f ยังไงนะเลือกให้ถูกประจุบวกประจุลบกำให้เป็นนะว่าจะกำยังไงจากนั้นก็จะหาสามารถหาตัวรัฐมีของวงกลมที่มันเคลื่อนที่ได้ว่าเป็ สวัสดีครับทุกคนครับ กลับมาพบกับพี่อีกครั้งนะ ในคลิปนี้เนี้ย พี่จะสอนน้องในเรื่องแรงแม่เหล็กที่กระทำตอ ลวดตัวนามที่มีกระแสเวฟฟ้าผ่าน โอ้โห เขียนยาวเชียว นะ คืออะไรครับ ลักลักเนี้ย มันเป็นการต่อยอดจากเมื่อกี้นี้ครับ เมื่อกี้เนี้ยเราเรียนมาแล้วนะว่า เออ อนุภาพที่มีประจุไฟฟ้าเนี้ย วิ่งไปแล้วเนี้ย มันจะมีแรงกระทำใช่ป่ะ อันนี้ก็เหมือนกันครับ ถ้าเป็นเส้นลวดนะ ที่แบบมีกระแสเฟ้าผ่าน มีอยู่ในสนามแม่เหล็ก มันก็จะมีแรงกระทำเช่นเดียวกัน เป็นยังไง เราไปดูภาพ ตัวอย่างจันนะ จากอาจารย์ท่านนี้นะครับ อันนี้ก็บอกว่านี่นะนักเรียน เราจะใส่กระแสไฟฟ้าเข้าไปนะ ไปทางนี้ ทางนี้นะ แล้วก็เดี๋ยวจะมีสนามแม่เหลกทิ้งขึ้นนะ จากนั้นเนี่ยเราจะมาดูแลกกระทำกันนะนักเรียนว่าจะเป็นยังไง ไปดูพร้อมๆกันนะ เราดูนะ ดูนั้น เดี๋ยวจะกระแสไล่ทางนี้ไป อย่างนี้นะ แม่เหลกทิ้งขึ้น เราก็ทำการไล่กลับมาแบบนี้นะ Cross Vector แบบนี้นะนักเรียน พลิกมือ นะครับ ก็ให้บีทิศขึ้นไง แล้วก็จะได้ว่า ถ้าเราใส่ฟ้าไปตามทิศนี้เนี่ย มันจะทําให้สะลวดพุ่งเข้าไปข้างในครับ จริงปะอาจารย์ จริงครับ นักเรียน เนี่ย ก็ได้ตามนี้นะ มันก็จะดันเข้าไปแบบนี้ แต่เดี๋ยวอาจารย์ท่านนี้จะกลับทิศของการใส่ไฟฟ้านะ มันก็ทําให้ทิศของแรงกระทําเปลี่ยนไปด้วยเนี่ย มันก็ไปทางนี้ครับ แปลว่าเราสามารถ เปลี่ยนทิศไปมาได้เหมือนกัน กลับทิศของกระทําไฟฟ้าเห็นไหม เนี่ย ก็เป็นพฤติกรรมของเจ้าเรื่อง แรงที่กระทำในเส้นลวดนะครับว่าเป็นยังไงครับง่ายง่ายครับไม่ยากเลยเลยนะอ่ะไปไปดูกันก็เหมือนเดิมตั้งสมการครับ f เท่ากับ l i b แบบนี้นะครับใช้หลักการเวคเตอร์ครับนะมันคือ i b sine theta แบบนี้แต่อย่างที่บอกครับเอาให้เขาใช้ง่ายครับเราควรกรรมกันแบบนี้ทุกคนอ่าจำเป็นแบบง่ายง่ายคือ l i b sine theta ครับโดย theta เนี่ยคือมุมนะระหว่าง i กับ b ครับคือมุมระหว่าง i กับ b แบบนี้เราก็จะหาได้แล้ว โอเคมันเป็นแบบนี้นะ นักเรียนมุมคืออะไรนะ คราวนี้ถัดมา เราก็ไปดูหลักการหาที่ของ f กันนะ ไม่ยากครับ หลักการคล้ายๆเดิม ทำแบบแรกเป็นแล้วแบบนี้ก็ไม่ยากครับ Concept นะ อันนี้ไม่มีมือขวามือซ้ายด้วยนะ เพราะว่า มันไอมันใช้ตามไอตัวเดียวนะ ใช้มือขวาอย่างเดียวนะครับ ก็คือ ให้ 4 นิ้วตามไอครับ 4 นิ้วตามไอเห็นไหม 4 นิ้วตามไอนะ จากนั้นเนี่ย แล้วก็ให้ B เข้าหลังมือหรือกรรม B ตามเนี่ย เห็นไหม ให้ B เข้าหลังมือหรือกรรม Vector ตาม B นะครับ เราจะได้ว่าทิศของแรงเนี่ย จะเป็นตามนิ้วโป้งนะ เหมือนเดิมเลย เหมือนเดิมเลย เหมือนเมื่อกี้ที่เรา อาจารย์เขาทำให้ดูนะ อ่ะ เรามาดูภาพตัวอย่างของเราอีกรอบหนึ่งนะครับ อันนี้ง่ายๆ สบายๆ เลย ก็คือใช้แต่มือขวา 4 นิ้วเห็นไหม 4 นิ้วตาม I นะครับ 4 นิ้วตาม I จากนั้นเนี่ยก็ให้ B เข้าหลังมือ เพราะว่ามันกำลังพุ่งเข้ากระดาษอยู่นะ ตัว B จะเห็นว่ามันเป็นพุ่งเข้ากระดาษอยู่นะ B พุ่งเข้าหลังมือแบบนี้ หรือจะไปทางนี้เลยก็ได้ ให้กำไป เราก็สามารถกำ Vector ได้แบบนี้นะครับ เมื่อเรากำแบบนี้ได้นะครับ เราจะได้ว่านิ้วโป้งของเรา ถึงนิ้วโป้งที่จะไม่ตรงนะ อ่ะ วันนี้มันตั้งฉากแล้วกัน เราจะได้ว่า F มันจะทิ้งขึ้นแบบนี้นะครับ ทิ้งขึ้นแบบนี้ก็ เนี่ย ได้ภาพมาแล้วเป็นยังไง คราวนี้ครับ ถ้าแรงไปดังขวาเหมือนเดิม ไม่ ไม่ใช่แรง กระแสไฟฟ้าไปดังขวาเหมือนเดิมนะครับ แต่ กําลังพุ่งออกนะครับ เราต้องคว่ามือแบบนี้นะครับ อ่า ก็ตามภาพนะ ทําให้ดูไปแล้วนะ ก็สี่นิ้วตามไอ ชึบชึบ นะ กําลังพุ่งออก แล้วก็ใส่ ให้มันพุ่งออกมา ตามนี้ ชึบ ทําไงดี ให้ดูสามมิติ อ่ะ แบบนี้แล้วกัน แล้วก็ให้มันพุ่งออกไปต่อก็ได้นะ แบบนี้ ชิ้น นะฮะ อ่ะ บีก็พุ่งออกไปแบบนี้นะ เราก็ได้ตัวนี้ขึ้นมา กํามือลงไปครับ เราจะได้ว่าที่ของนิ้วโป้งเนี่ย จะเป็นที่ของเอฟแบบนี้นั่นเองครับ นี่เราก็กําเรียบร้อย ขอเขียนเป็นกําดีกว่ากว่าตั้งฉาก คือภาพนี้มันตั้งฉาก แต่ให้เราดูนะว่าหลักการบังกัดจากที่เรากํามือไปนะ ก็ตามนี้เราก็สามารถหาที่ของเอฟได้แล้วว่าเป็นยังไงนะครับ นี่คือแหล่งที่จะทําของตัวกระแสฟ้า ที่วิ่งในสนามแม่เหล็กครับ มันก็จะเกิดแบบเหตุการณ์แบบนี้เลยขึ้น ขอต่ออีกนิดหนึ่ง คราวนี้เนี่ย ปรากฏว่าถ้ามีตัวไอ้เส้นรวดตรงเนี้ย ที่เรารู้แล้วนะว่ามันสามารถเหนียวนําให้เกิดสนามแม่เห���็กได้นะครับ ตัวเส้นรวดเหล่านี้เนี้ย ถ้ามันมีอยู่ใกล้ใกล้การแล้วมันวิ่งตามกัน วิ่งสนกันเนี้ย มันสามารถเกิดแรงการทําระหวังกันด้วยได้เพิ่มนี่นะ อันนี้ก็ถือว่าน่าสนใจ ก็คือ รถตัวนําเนี้ย อันนี้วิ่งไปน่ะ เรากํามือครับ เราจะเห็นว่าเราสามารถสร้างแม่เหล็ก ได้ทิศตามนี้เนี่ย ตามทิศมือที่พี่กำแบบนี้เลย กรรมเลยนะ ก็จะได้แบบนี้มา เนี้ยคือ b ครับ เราก็จะได้ฝั่งเนี้ยเป็นพุ่งเข้า เห็นไหม ส่วนฝั่งเนี้ยก็จะเป็นพุ่งออก ก็เลยทําเป็นจุดจุด อ่ะ แบบนี้ อีกฝั่งนี้ก็เหมือนกันครับ กรรมไป นะ ฝั่งนี้คือ ฝั่งขวางเนี้ยพุ่งเข้า ฝั่งนี้ครับ มันพุ่งออก ปุ๊บปุ๊บ จะเห็นว่าพอทิศของมันเนี้ย ไม่เหมือนกันนะ พุ่งเข้าพอเหมือนกันเนี้ย แรงกระทําระหว่าง จะลวดตรงนี้นะ จะกลายเป็นแรง ดูดนะ แรงดูด เห็นไหม เกิดเป็นแรงดูด แรงดูด ปุ๊บ ปุ๊บ ในขณะที่ ถ้ามันวิ่งส่วนกันครับ กํามือแบบนี้เลย ตามที่พี่ทําให้ดูนะ ก็กําไป อันนี้พุ่งเข้า อันนี้พุ่งออก แบบนี้ ใส่เบียนเดียวพอ แต่พออันเนี้ย มันทิศลงใช่ป่ะ เมื่อเรากํามาแล้วเนี้ย เราจะได้ฝั่งเนี้ย เห็นไหม ฝั่งเนี้ย จะเป็นพุ่งเข้า ฝั่งนี้จะเป็นพุ่งออกนะครับ ลองกําไป ปรากฏว่ามันเป็น ทิศพุ่งเข้าเหมือนกันแบบนี้ครับ แรงที่เกิดขึ้นเนี่ย เกิดเป็นแรงผักครับ เราก็จะรู้นะว่าเป็นยังไง นะ แรงผักแรงดูด โดยปัจจัยที่มีผลเนี่ยมันก็มีเรื่องกระแสฟ้าตรงนี้นะครับ แล้วก็ระยะระหว่างเส้นลวดตัวนี้ด้วยครับ ให้ระยะระหว่างเส้นลวดเนี่ยเป็นดี เป็นดีนะ แล้วก็ความยาวของเส้นลวดตัวเนี้ยเป็นเอว จําสีอื่นแล้วกัน เนี้ย แรงที่กระทําตรงเนี้ย ระยะที่เส้นรวดกระทําเนี้ยเป็น l ระยะแนวนี้นะ ด้วยนั้นแล้วเนี้ย เขาจะมีสูตรสมการที่หามาแล้วนะว่า แรงกระทําเนี้ยต่อเส้นรวดระยะเนี้ยจะเป็นเท่าไรนะครับ อ่า ไปเลยนะ สื่อตัวนี้ครับ เราก็ได้สมการตัวนี้มา f ส่วน l นะครับ เท่ากับสองคูลสีบย้อนลบลบเจ็ดนะครับ i1 คูณ i2 อาหารด้วย d นั่นเอง ก็อันนี้ไว้หาขนาดจริงจริงก็ไม่ได้เน้นเท่าไรนะ สมการนี้ดูไว้ว่ามันมี ประมาณนี้แล้วกัน หลักการที่เราสนใจคือตามหลักการจำคือตามไปดูดที่ส่วนผลักนะครับ ตามไปที่ส่วนผลักหลักการจำง่ายง่ายครับ ก็ทำให้เรารู้ว่าเวลาเส้นลวดเนี่ย สองเส้นที่มันอยู่ใกล้ๆกัน มันอาจมีแรงดูดแรงผลักระหว่างกันได้นะครับ ก็ตามนี้ในคลิปนี้น้องก็จะรู้เรื่องหลักการเกี่ยวกับเส้นลวดว่ามีอะไรบ้างนะครับ ว่าถ้ามันวิ่งในสนามแม่เหล็กก็มีแรงกระทำนะครับ แบบนี้ หรือถ้ามันอยู่ใกล้กันก็มีแรงกระทำด้วยนะ เป็นแรงดูดแรงผลักอีกทีนึงนะ อ่าโอเค ก็ตามนี้สำหรับเรื่องนี้ก็เท่านี้แหละครับ ก็ โดย เจอ กัน คลิป หน้า ครับ สวัสดี ครับ สวัสดี ครับ ทุก คน ครับ กลับ มา พบ กับ พี่ อีก ครั้ง นะ ครับ ใน คลิป นี้ เนี่ย พี่ จะ พา น้อง มา รู้ จัก สิ่ง ที่ เดี๋ยว ว่า โมเม้น ของ แรง คู คู ออก ครับ ต้อง บอก เลย ว่า นี่ คือ ต้น กำเนิด ของ เจ้า มอเตอร์ ที่ เรา ใช้ กรรม แบบ เยอะ มาก นะ ซึ่ง เรา จะ ดู กัน ว่า เป็น ยัง ไง นะ ครับ ก็ คือ คอมเซ็ปต์ ก่อน เดิม เนี่ย เรา มี ประจุ ที่ วิ่ง ใน สรร แม่ เหล็ก ถัดมาแล้วก็เป็นเส้นรวดใช่ไหมที่มีกระแสฟ้าผ่านแล้วอยู่ในสนามแม่เหล็กก็มีแรงกระทำคราวนี้ครับเส้นรวดตรงนี้เราจะเปลี่ยนไว้ให้กลายเป็นแบบเป็นขดแบบนี้ให้มันเป็นขดแบบนี้นะให้เป็นครบรอบแบบนี้ พอคดรอบแบบนี้มันก็ยังมีแรงกระทำครับแต่ทุกคนมาดูกันว่าแรงกระทำมันเกิดอะไรขึ้นอ่าคือเราใช้กระแสฟ้าหลักการเดิมเลยนะสี่นิ้วตาม iab เข้าหลังมือเอ็บคือนิ้วโป้งนะครับตอนนี้ตัวสนามเนี่ยสนามแม่เหล็กเนี่ยกําลังเคลื่อนที่จาก นะครับซ้ายไปขวาแบบนี้เราจะเห็นนะตามนี้ ฉะนั้นเราใช้สี่นิ้วมือขวานะครับ สี่นิ้วตาม IB เข้าหลังมือครับ เราจะได้ว่าแรงที่กระทำนะ แรงที่กระทำ ตรงนี้ก่อน ของแต่ละข้างจะเป็นทิศทางนี้นะ ลองใช้มือนะครับ ไปดูนะ อันนี้จะเป็นแบบนี้ ส่วนตรงนี้ก็จะเป็นแบบนี้ มันก็จะเห็นว่า ฝั่งนึงขึ้น ฝั่งนึงลงนะครับ ขนาดกันแบบนี้ ฉะนั้นตรงนี้เนี่ยจะเกิดอะไรขึ้นครับ มันจะเกิดแรง หมุนเกิดขึ้นแบบนี้นะครับ โมเมนต์แรงคู่ควบนั่นเองครับ มันทำให้ตัวจานตัวเนี้ย ไอ้ตัวหน้าตัดเนี้ยครับ มีการหมุน หมุน หมุน หมุน หมุน ไปเรื่อยเรื่อยแบบนี้ อ่ะ ก็เป็นแบบนี้นะครับทุกคนครับ เราก็มาดู ผ้าจํานวนกันว่า ผ้าจํานวนตัวนี้เป็นอย่างไร อ่ะ เนี้ย เราก็จะเห็นนะครับ มันเกิดการหมุนไปเรื่อยเรื่อยแบบนี้นะ นี่แหละ มันทําให้เกิด นี่ไง เพราะว่ากระแสที่ไหลในสนามแม่เหล็กเนี้ย มันจะมีแรงกระทําแบบนี้ อ่ะ เราก็เห็นภาวนะว่านี่คือสิ่งที่มันเกิดขึ้นว่าเป็นยังไงบ้างนะครับก็เกิดเป็นแรงบิดเกิดขึ้นพอเป็นแรงบิดแบบนี้นะครับเราเรียกมันว่า moment นั่นเองครับ moment แรงคู่หวบ mc ตัวนี้ก็เท่ากับจําง่ายง่ายตัวนี้คือใบหน้าครับมันแปลผันตามอะไรบ้างก็คือสนามแม่เหล็กครับสนามแม่เหล็กยิ่งเข้มมันก เดี๋ยวจะให้ดูนะว่าถ้าหมุนหลายๆอันจะเป็นยังไง ถ้าเป็นขดรอบ อันนี้คือยิ่งขดไปหลายๆรอบเนี่ย มันก็ย Motor ตัวนี้นะ moment ตัวนี้ก็ยิ่งมากขึ้นเรื่อยๆครับ และตัวสุดท้ายปัจจัยที่มีผลนะครับ ไม่นับคอร์ส Theta ก่อนแล้วกันนะ ก็คือ A ครับ A คือขนาดของหน้าตัดของมันว่าหน้าตัดเป็นยังไง อ่ะเราก็เห็นน่ะ นี่คือหน้าตัดของมัน หน้าตัดตรงนี้ครับเราเรียกมันว่า A ครับ คราวนี้เนี่ยไอ้ตัวคอร์ส Theta เนี่ยมันจะไม่คงที่ มันจะเปลี่ยนไปเปลี่ยนมา มุมของมันคือมุมระหว่างอะไร มุมระหว่างหน้าตัดตรงนี้ครับ กับสนามแม่เหล็ก เราไปดูกันว่ามันเกิดอะไรขึ้น ก็คือถ้าแบบเนี้ยเราถือว่ามุมมันแนวเดียวกัน ก็คือหน้าตัดละนาบเนี้ยมันเดียวกันแบบนี้ใช่มะ แบบเนี้ยเราเรียกว่าคอสูตรองศา น่ะ สูตรองศาตรงนี้สูตรองศา แล้วตรงเนี้ยมุมนี้คือทีตาอยู่ที่นี่ครับ อ่า เห็นมั้ย คือละนาบกับไอ้เจ้าเส้นแรมเมล็ดตัวเนี้ย นะครับ เป็นมุมทีตานะ ก็จะเห็นว่าเออมันก็เปลี่ยนไปได้แบบนี้นะ ตอนที่มันอยู่ที่กันเลยเป็นศูนย์ไง แล้วถ้าคราวนี้มันตั้งฉากครับอันเนี้ยมันจะได้ว่าตั้งฉากกันเรียบร้อย อันนี้คือทีต้าเท่ากับเก้าสิบองศามันจะเป็นยังไงโดยทางคณิตสายครับ โพสต์ตัวเนี้ยมันคือ คอร์สทีต้า คอร์สศูนย์เป็นหนึ่งมากสุดครับ คอร์สเก้าสิบเป็นศูนย์ ระหว่างระหว่างก็อยู่ในช่วงศูนย์ถึงหนึ่งตามนี้ ฉะนั้นเนี้ยเราจะทราบนะครับว่าถ้ามันอยู่ระด้าแบบเนี้ย แรงบิดมันจะมากสุด ลองใช้มือนะ ลองใช้ตัวมือแล้วลองทํามา ป๊าบ เราลองดูนะ ความปลายอ่ามมันจะได้ว่า ลองใช้ มันจะยากนิดหนึ่งนะการวาด อันนี้มันกําลังพุ่งเข้าตัวนี้ พุ่งออกนะ ไฟฟ้าพุ่งเข้าพุ่งออกนะครับ แล้วลองใช้มือมา ตัวนี้จะเป็นทิศลงแบบนี้ ส่วนฝั่งนี้จะเป็นทิศขึ้นแบบนี้ อ่ะลองไปใช้มือกันนะ สี่นิ้วนะครับ ตามอะไรเอ่ย สี่นิ้วตาม เข้าหลังมือนะครับ ตัวนี้มันก็จะเปลี่ยนไปนะ อันนี้ก็จะน้อยลงนะ อันนี้ก็จะน้อยลง อ่า แรงบิดจะน้อยลง คือกระแสแรงมันยังเท่าเดิมนะแต่แรงบิดมันน้อยลงและสุดท้ายแบบนี้แรงบิดจะไม่มีเลยที่ตอนจบแบบนี้ มันทำให้แต่ละช่วงของแรงบิดเนี่ยไม่คงที่แต่ละช่วงจะเป็นไงบ้างสรรพาการตัวนี้ไงให้เห็นแล้วนะครับก็แบบนี้คือใบหน้านะอันนี้ก็เป็น 0 ไปเลยครับอันนี้ก็จะเป็นช่วงที่เท่ากับใบหน้าคอร์ดทีตา เราจะบอกได้ว่าช่วงที่มันหน้าแบบนี้มากสุดนะและแบบนี้จะ น้อยที่สุดครับซึ่งนี่คือสิ่งที่เกิดขึ้นกับมุมแม้แรงควบควบหรือเจ้ามอเตอร์แบบนี้นั่นเองคราวนี้ต้องมาดูนิดหนึ่งว่าแล้วเขาจะแก้ปัญหายังไงถ้าแต่ช่วงไม่คงที่ครับแล้วก็มีคลิปอันนี้มาให้ดูนิดหนึ่งอ่ะป่ะอันนี้ตัวอย่างของมอเตอร์นะครับที่ใช้งานจริงจริงนะเราจะเห็นนะครับว่ามอเตอร์ แล้วมันก็จะ เป็นอย่างงี้ไปช่วงบนเนี่ยมันจะไม่มีแรงบิดเห็นปะอัน เนี้ยมันจะหายไปนะครับจึงที่เขาแก้ครับเขาทำยังไงครับนะเขาก็เลย ใส่สองแกนเข้ามาครับเพิ่มแกนจํานวนที่ทําให้ได้แรงบิดเนี้ยแบบนี้ มันก็จะมีแรงบิดที่ค่อนข้างดีขึ้นแต่ก็ยังไม่สมดุลดีพอครับ งั้นทางแก้เขาทำยังไงครับเพิ่มมาหลายแกนไปเลยครับอ่าจบอ่า เนี้ยเวลามอเตอร์ที่เห็นเนี้ยมันเลยหมุนนะเพราะว่าตัวเนี้ยมันมี อยู่หลายแกนนั่นเองครับจบ อ่า ก็ให้เข้าใจว่า เวลาเขาใช้งานเขาใช้ยังไงนะ เขาจะไม่ได้มีแค่แกนเดียว เพราะแกนเดียวมันจะเกิดเหตุการณ์แรงไม่ คงที่ไม่สม่ำเสมอนะครับ อ่า ก็เห็นว่าเป็นแบบนี้นั่นเองครับ อ่ะ นี่แหละ คือสิ่งที่ได้ว่า โมเมนต์แรงคู่ควบและเป็นต้นฉบับ ที่มันให้เกิด มอเตอร์ที่เราใช้งานกันนั่นเองครับ เหมือนพันลมอะไรอย่างเงี้ยที่เราใช้ ก็ออกการแบบนี้นะครับ สําหรับคลิปนี้ก็เท่านี้แหละครับ สวัสดีครับ สวัสดีครับทุกคนครับ กลับมาพบกับพี่อีกครั้งนะครับ ในคลิปนี้เนี้ย พี่จะสอนนองเรื่องการผลิตไฟฟ้าครับ ซึ่งชื่นเต็มของมันนะ อันนี้เอามาจากกล่องของเลนนะ จริงจริงมันเรียกว่า หลักการเหนียวนำของฟาราเรนะครับ แล้วก็ของเลนส์ คือสมการเนี่ย มันกลับของเลนส์เนี่ย ก็เลยมาบอกแบบนี้ เราต้องมาดูกันครับว่า เฮ้ย เราผลิตไฟฟ้าเนี่ย ทุกวันนี้เราใช้อยู่เนี่ย เราผลิตได้ยังไง อ่า ที่การผลิตเนี่ยครับ เราก็ไปดูสื่อประกอบนิดหนึ่งนะ คือเมื่อกี้เนี้ยเราแบบมีความสัมพันธ์แล้วนะว่า อะไรนะ เราใส่กระแสไฟฟ้าในแม่เหล็ก มันจะมีแรงกระทําเกิดขึ้น หรือเราสามารถสร้างแม่เหล็กได้ จากการใช้กระแสไฟฟ้า คราวนี้ครับ เราต้องมาดูหลักกายอีกตัวหนึ่งคือ การผลิต ไฟฟ้าบ้าง เออ มันเหมือนมีความสัมพันธ์แบบซับซ้อนเชื่อมโยงกันอยู่น่ะ คอมพิเครต คอมพิเครต นะครับ อ่ะ คืออย่างเงี้ย ท่านเห็นตรงนี้ครับ เรามีแม่เหล็กอยู่หนึ่งตัวนะครับ ปรากฏว่าถ้าเราเอาแม่เหล็กเนี่ย วิ่งเข้าไฟครับ พึบ เฮ้ย ไฟสว่าง ก็ไฟสว่าง เราสามารถทําให้ไฟเนี่ย มันเกิดสว่างมาได้นะครับ เพราะว่ามันมีกระสาห์ไฟฟ้าเกิดขึ้นนั่นเองครับ แปลว่าการที่เราขยับแม่เหล็กไปมาแบบเนี้ย มันทําให้สว่างได้ อันนี้ท่านลูกดูนะ ถ้าตรงนี้เข้าปุ๊บ ไปถังลบใช่ป่ะ ดูนะด้านบนวอมมิเตอร์ ออกไปทางบวก เข้าทางลบ ออกทางบวก เข้าลบ ออกบวก เข้าลบ ออกบวก คราวนี้ลองกลับทิศบ้าง จะเหมือนกันหรือว่า หรือแต่ต่างกัน อ้าว เขา นี่ เข้า บวก ออก ลบ เข้า บวก ออก ลบ เข้า บวก ออก ลบ มันก็ กลับ ทิศ ไป มา ไป นี่แหละ ที่ มา ของ กระแส ไฟ ฟ้า กระแส ส ล ั บ นะครับ แล้ว ที่ มา เป็น ยังไง คือ กัน ที่ ว่า เรา เห็น เนี้ย ตัวนี้ เหล็ก น่ะ มันก็ เรียก คือ คือ กัน อยู่ ได้ คราว เนี้ย พอ มันมี แต่ มันจะ เกิด ขึ้น เมื่อ มีการ ข ย ั บ เพราะ เมื่อ มีการ ข ย ั บ แล้ว มันจะ เกิด สิ่ง ที่ เรียก ว่า delta fuck หรือ delta b นั่นเองครับ อ่ะ สําคัญตรงเนี้ย พื้นที่ตรงเนี้ยมันมีจํานวนเส้นแรงที่เปลี่ยนไปน่ะ มันทําให้เกิดการแสงไฟฟ้า เกิดขึ้นนั่นเองครับ นี่คอนเซ็ปต์ที่ faraday แล้วก็เลนส์พิสูจน์มานะครับ อ่ะ ตามนี้ฉันก็บอกว่า ไม่เขียนการแสงไฟฟ้า แต่เขียนเป็นแรงเคลื่อนไฟฟ้านะครับ เอฟซีลอนนี้เรียกว่าแรงเคลื่อนไฟฟ้านะ เมื่อมีอะไรเอ่ย delta fuck ต่อเวลานะครับ นะ เดี๋ยวตั้งส่วนตัวเวลามีเครื่องหมายลบด้วย เขาเป็นสมการเขาแล้ว เอาเป็นว่า คีย์สําคัญเนี้ย ต้องมีตัวนี้ครับ ถ้าไม่มี ไม่เกิดน่ะ ตรงนี้สําคัญเลยน่ะ ตัวฝักตรงนี้น่ะ ปุ๊บปุ๊บ พอเป็นแบบนี้ครับ น่ะ จริงจริงบางครั้งก็เขียนแบบนี้น่ะ เออ มันเขียนได้หลายแบบนะครับ เป็นแบบนี้ก็ได้น่ะ เค พอคราวนี้เนี้ย มันมีตัวนี้เกิดขึ้นมาเรียบร้อยแล้วใช่ไหม คราวนี้อยากให้ได้หลายหลายขดรวด หลายขดรวดมากขึ้น ให้ได้แรงเครื่องไฟฟ้ามากขึ้นนะครับ ก็ใส่จนมูลขดรวดเยอะเยอะไป ก็ใส่เอ็นขดรวดนะครับ แล้วคราวนี้แหละ มันเลยทําให้เกิดเป็นตัวแรงเครื่องไฟฟ้า ที่อยู่ในสรรพาการ Delta V เท่า IR ก็ทําได้นะครับ ก็จะคล้ายคล้าย ตัวนี้เลย Delta V เท่ากับ IR เขาเรียกว่า EMF เหนี่ยวนํานะ EMF เหนี่ยวนํานั่นเอง ตัวนี้เราได้มาแล้วนะครับ เกี่ยวกับการผลิตไฟฟ้าเกิดขึ้น แล้วเราผลิตจริงจริงยังไงครับ เราจะดูวิธีการกันนะ สมมุตินี้เป็นแผ่นเหล็กครับ โดยพื้นที่ตรงนี้นะ เป็นพื้นที่หนึ่ง ที่ถูกอะไรอยู่ ถูกมีการเปลี่ยนแปลงโดยการขยับเปิดปิดพื้นที่เข้าออกแบบเล็กๆ ตอนแรกอย่างนี้เป็นพื้นที่หน้าตัดเล็กๆใช่ไหมก็ฝักเข้าน้อย แต่พอเราขยับมาแบบนี้ฝักที่รับมามันก็มากขึ้นใช่ป่ะ มันเกิด Delta B ไงพอมีการขยับเข้าออกแบบนี้ พอเป็นแบบนี้คือยังไงนะครับมันก็จะบอกว่าสิ่งที่คนจะรู้นะตามนี้ครับคือรู้ว่ามันต้องมีแอวที่นี่ครับนะ ระยะ L ที่นี่ป๊าบ นะ แล้วคือความยาวของแผ่นตัวนี้นะ แล้วก็มีความเร็วเป็น V นะครับ ความเร็วเป็น V นะ ความเร็วเป็น V นะครับ สนามแม่เหล็ก B อยู่แล้ว อ่า ตามนี้นะครับ ลักการหาทิศครับ พี่ลืมเอามือมาใส่ในภาพนี้นะ เดี๋ยววาด เอามือวาดเอาแล้วกันนะ คือตรงนี้ครับ ใช้มือขวาครับ อ่า มือขวา ปุ๊บปุ๊บ มือขวานะ มือขวาครับ ให้เราสี่นิ้วตาม V ครับ 4 นิ้วตาม V ครับ ให้ B เข้าหลังมือเหมือนเดิมนะ แล้วก็ให้ B เข้าหลังมือ แล้วก็คอลเวคเตอร์ไปนะ เป็น B แบบนี้ เราจะได้ว่า ทิศของแรงเครื่องไฟฟ้าเนี่ย จะเป็นทิศตามนิ้วโป้ง คล้ายๆ เดิมเลยที่เราเคยทำนะ ตามนี้ปุ๊บๆ เราก็จะเป็นสมการตามนี้ครับ คือ ε เท่ากับ LVB ทีต้านั่นเองครับ ได้แบบนี้ เราก็เลยทำให้ หาตัวนี้ได้นะ ก็วิ่งไปนะ เห็นไหม กระแสฟ้าก็จะไหล ตามทิศที่แรงเคลื่อนไฟฟ้าเนี่ย เนียวนําส่งมา เนี่ย เราก็ได้ไอมาทางทิศนี้ ปุ๊บปุ๊บปุ๊บปุ๊บปุ๊บปุ๊บปุ๊บปุ๊บปุ๊บปุ๊บนั่นเองนะ ก็ได้ไอตามนี้ครับ จบแล้วเนี่ย คือตัวอย่างแบบนี้นะครับ ที่เป็นเส้นรั่วตัดสนามแม่เหล็ก มันก็จะได้แบบนี้นะครับ คราวนี้เราอาจจะมันมีปัญหาที่มีว่า เราขยับไปถึงสุดแล้วก็ดันกลับมา สุดไปกลับมามาดูอ่ะ ก็แอบวื้นวายเหมือนกันนะ มันก็แอบวุ่นวายเหมือนกันนะครับ อีกทางเรื่องหนึ่งที่เขาทําครับ ทําเป็นรูป นะ หรือ นั่นเองครับ ตัวนี้แหละ ก็เป็นการที่เราหมุนหน้าตัดนี่เอาครับ ให้มันเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ หน้าตัดตรงนี้เพราะมันหมุนเนี่ย จํานวนที่เข้ามันก็ไม่เท่ากัน เห็นป่ะ คือถ้ามันหมุนเปลี่ยนไปมันก็จะเข้าไม่เท่ากันไปเรื่อยเรื่อยแบบนี้ครับ พอมีการหมุนเนี่ย นะ โอมิก้าที่นี่นะครับ หน้า นะ พื้นที่ตัดเป็นเอเหมือนเดิมนะครับ สนามแม่เหล็ก เป็น B นะครับ จนถึงขดรอบ ขดลวดเป็น N นะครับ หมุนๆๆๆไปเนี่ย มันก็จะเกิด Delta Fug นะ หรือ Delta B เกิดขึ้น พอเป็นแบบนี้แล้วนะครับ มันก็ทำให้เราสามารถ ผลิตไฟฟ้าขึ้นมาได้นั่นเอง นี่แหละ มันเป็นยังไงนะ เราก็จะสามารถหาได้แบบนี้ ยังไงเดี๋ยวจะมีวิทยาให้ดูนะ สื่อให้ดู เดี๋ยวรอ ที่ถูกใช้งานจริงมันเป็นลักษณะแบบไหนนะครับ แต่เกิดให้กูดูก่อนว่า อันเนี้ยน้องต้องรู้คอนเซ็ปต์นะจากส่วนนี้คือ ถ้าเราสร้างเดลต้าฝักหรือเดลต้าบีได้เนี่ย เราจะสามารถสร้างสนาม ไม่ใช่สนามสร้างแรงเครื่องไฟฟ้า เหนียวนําได้ เนียวนํานั่นเองนะครับ ตัวนี้แหละก็ทําให้ มันเกิดกระแสไฟฟ้าวิ่งขึ้นไปได้แล้วก็คือเราผลิตไฟฟ้าขึ้นมาอยู่นะ คราวนี้มันต้องมาวุ่นวายนิดหนึ่งเกี่ยวกับการหาทิศ การหาทิศเนี่ยเป็นยังไง รูปเนี้ยมันจะเหมือนรูปที่พี่ทําไปกินเลยนะ ก็คือสื่อตรงนี้เลยนะครับว่าเข้าไปยังไง อันเนี้ยเราจะมาดูการหาทิศกันว่าทําไมมันขยับซ้ายขวาอย่างงี้ อย่างงี้ทําไมขยับซ้ายขวาแบบนี้ เราจะมาดูตามหลักแบบหลักการทฤษฎีกันนิดหนึ่งว่าเราจะใช้อะไร คือจริงจริงเนี่ยมันมีสองท่าในการใช้คือมือขวากับมือซ้าย ซึ่งเราจะชอบนะ คือถ้าเอาง่ายจริงจริงมือซ้ายง่ายกว่า แต่ให้มันถูกต้องอ่ะ คือมือขวา อันนี้ต่อเลือกนะ ชอบง่ายหรือชอบแบบถูกต้องตามหลักการ คืออย่างงี้ เราต้องสังเกตตัวเนี้ยสําคัญมากมากคือเดลต้าบีครับ เนี่ย คืออย่างงี้ ตอนแรกบีเนี้ย ท่านไหนที่ช่างมันเถอะ ไม่ได้มีผลอะไรมาก ถ้าคั่วเหนือเข้านะ คั่วเหนือเข้า เรามันคิดภาพตรงบริเวณเนี้ย คั่วเหนือเข้าไปเนี่ย มันทําให้เดลต้าบีฝั่งซ้ายเนี้ยมากขึ้นนะ เดียวจะมีฝั่งซ้ายมากขึ้นดูอย่างงี้นะสําคัญอยู่ที่นี่ การที่เอาเหนือขึ้นเนี้ย จําภาพนี้ให้ดี มันทําให้ดีฟังนี้มากขึ้น ถ้าตามที่สถิติแท้ครับ ตัวเนี้ยในขดรวดเนี้ยมันจะต้องสร้าง อ่า บีเหนียวนํามาต่อต้าน เดี๋ยวจะมีที่มันเกิดขึ้น อ่า แบบไม่ยอมมึงสร้างมาเหรอ เอามาสร้างมาต่อต้านนะ ไม่ไม่พอใจนะ ไม่พอใจ ซึ่งต่อต้านในที่ตรงข้ามครับ เพราะมันต่อต้านในที่ตรงข้ามแบบนี้ เนี้ย เนี้ยแบบต่อสู้ ยังไงดี อ่ะ เออ ไม่พอใจแล้วแล้วกัน คิดถึงตัวตัวนี้นะ เอามาต่อต้านครับ ใช่งั้นเนี่ย มันจะเกิด B เหนียวนำในทิศนี้เห็นปะ ตรงข้ามกับอะไร ตรงข้ามกับ Delta B ที่มันเกิดขึ้นครับ แล้วการเกิด Delta B ตรงนี้ หรือ B เหนียวนำตรงนี้เนี่ย มันทำให้เกิดกระแสฟ้าเกิดขึ้น เราจะเห็นว่า กระแสฟ้าเนี่ย จะทิศเดียวกับกล้ามมือ อันนี้ใช้มือขวานะครับ เพราะเราใช้ทิศตาม B Induce นะครับ นะครับ B เหนียวนำแบบนี้ มันก็จะทำให้เกิดไอทิศลงแบบนี้ครับทุกคนนะ ตามนี้ หรือจริงๆ ไม่ต้องมานั่งทำแบบหาอินดิวซ์เลย ก็ทำ Delta B แล้วใช้มือซ้ายไปเลยครับ ก็หาได้เท่ากันจะเห็นว่าทิศทางการกรรมเนี่ยมันก็เหมือนกันนะ กรรมได้ทิศทางแบบนี้ทั้งคู่นะครับ จะมองมือซ้ายมือขวาแต่เลือกให้ถูกนะ ถ้ามือซ้ายคือทิศตาม Delta B มือขวาทิศตามอินดิวซ์ เป็นปากนิดนึงแล้วแต่ชอบๆ แล้วแต่ชอบว่าชอบท่าไหนก็ใช้ตามนั้นนะครับ สอนทั้ง 2 วิธีให้เห็นว่ามี 2 วิธีในการหาทิศไฟฟ้ากระแสเหนียวนำนะ คราวนี้เนี่ยเราก็มาดู มันจะตรงข้ามกันง่ายง่ายเมื่อกี้เนี้ย ฝั่งเหนือเข้าไปอ่ะ เดลต้าบีฝั่งซ้ายใช่ป่ะ ถ้าเป็นแบบเนี้ย เดลต้าบี ก็จะเป็นฝั่งขวา ถ้าเอาโค้ดเหนือออกนะครับ เราก็จะเห็นว่า เออ ก็เป็นฝั่งนี้นะครับ ฝั่งซ้าย ก็จะเกิดเหมือนเดิม พอเดลต้าบีไปฝั่งขวาแบบนี้ใช่ป่ะ มันจะเกิด มี เนี่ย นําอ่ะ ที่ตรงข้ามต่อต้านเสมอคือ แบบ ไม่ถูกกันอ่ะ น่ะ ไปขวานี่จะไปซ้ายนี่ไปซ้ายนี่จะไปขวา มันจะต่อต้านกันตลอดครับ ดังนั้นเนี่ยเมื่อเรากลับมือก็อยู่ที่กลับท่าไหนถ้าเป็นดูตามที่ที่จะมีก็ใช้มือซ้ายที่ตามบีอินดิวใช้มือขวานะครับแล้วเราก็กลับไปนะกลับไปนะเราก็จะเห็นว่าการกลับของเราเนี่ยมันจะกลับตามทิศนี้เนี่ยไม่ว่าจะมองมือนี้หรือมองมือนี้ก็กลับแบบนี้หมดมันก็จะทำให้กระแสฟ้าเนี่ยทิศขึ้นทิศขึ้นทิศ คือจําง่ายง่ายตรงข้างเมื่อกี้เนี้ย เหนือเข้าอ่ะ ไปทางซ้าย ใต้เข้าก็ไปทางขวาแทนครับ เราจะเห็นว่าถ้าฝั่งใต้เนี้ย เข้ามาตรงขดโลกตรงนี้นะครับ เดลต้าบีเนี้ยมันจะไปฝั่งนี้แล้ว บีอินดิลบอกไม่ยอมนะ ต้องต่อต้านกันตลอดนะครับ ต่อต้านกันตลอด ไปทางที่เดียวกันไม่ได้นะครับ เราก็แค่กรรมนะ บีอินดิลก็ทิศตามมือขวา เดลต้าบีก็ทิศตามมือซ้ายนะครับ ปุ๊บปุ๊บปุ๊บปุ๊บปุ๊บนะ แล้วก็ดูการกรรมครับ เราก็จะเรียกว่ากรรมทิศนี้ไม่ว่าจะมองจากมือนี้หรือมือนี้ มันก็กรรมทิศนี้ทั้งคู่ใช่ป่ะ มันก็จะทําให้เกิดกระแสไฟฟ้าเนี้ยทิศขึ้นในขดรวดตัวนี้นะครับ อ่า เห็นไหม และแบบสุดท้ายครับ เมื่อกี้เราจํามันต้องตรงข้ามกันอ่ะ เหนือเข้า เอ้ย ใต้เข้าเนี้ย ไป Delta B ทาง ทางขวาใช่ป่ะ ก็ต้องต่อต้านขึ้นมาครับ ไปทางขวา อืม อยู่ด้วยกันไม่ได้เลยใช่ไหมเนี้ย ต้องต่อต้านกันตลอดนะครับ จากนั้นเนี้ย มันก็เลยทําให้หารากก้านเหมือนเดิม เนี้ยแหละ นะ อินเดียวก็ใช้มือขวา ถ้าเป็น เด็กตะบีก็ใช้มือซ้ายนะครับ แล้วเราก็กํานะ เหมือนเดิม เราจะเห็นว่ามันจะกําทิศนี้ ไม่ว่าจะใช้มือนี้หรือมือนี้ มันก็จะกําทิศนี้ นะ กระแสฟ้าก็จะทิศลงแบบนี้นั่นเองครับ อ่ะ ตามนี้เนี้ย นี่คือสี่แบบ พื้นฐานก่อนว่า เวลาแม่เด็กขยับเนี้ย มันสามารถหาทิศ ยังไงได้บ้างนะครับ แล้วก็สามารถหาทิศได้ตามหลักการตัวนี้ ในการหานะครับ ว่าหายังไง โอเค พอผ่านตรงนี้ปุ๊บ เรามาดูแบบ เป็นเส้นเส้นแบบนี้แบบ basic ขึ้นนิดหนึ่ง เราก็จะเห็นนะครับว่า หลักการดูนะ ไม่ว่าจะทิศไหนก็ตามเนี่ย เราดูแค่ delta b เป็นหลักครับ อ่า delta b เป็นหลัก คือ delta b กับอีกตัว indule delta b ทิศขึ้นเนี่ย ก็จบแล้วนะ หรือดูตัว indule นะว่าทิศไหน ถ้าประกวดว่า delta b เนี่ย ก็ใช้มือซ้ายนะ ถ้าเป็น bi ก็ใช้มือขวา indule ตัวนี้นะครับ แล้วเราก็ลองกํานะ ตามนี้ไม่ว่าใช้มือซ้ายมือขวากรรมเนี่ยเกิด b ที่นี่สําคัญไม่สนใจน่ะดูท่านี้ก่อนดูคู่เนี้ยตรงเนี้ยเป็นตัวกระหนดทิศของกระแสจะเห็นว่ามันไปทางนี้ปึ๊บปึ๊บ เช่นเมื่อเป็นแบบนี้เนี้ยเราก็เลยตอบได้ว่ากระแสต้องเป็นทิศแบบนี้ครับโดยการกํามือตามสองมือนี้แล้วแต่ชอบว่าใช้จะใช้ท่าไหนคราวนี้ถ้าเป็นขึ้นเหมือนเดิมไหมว่า ยังไม่มีผลขึ้นเหมือนเดิมเนี้ยแต่ถ้า ทิศลงนะครับตรงนี้เนี้ยก็ต้องกําแบบทิศของมือซ้ายด้วย มือขวาก็ใช้ นี่ไปตามอินดิวที่มันตรงข้ามกันนะ เมื่อเรากรรมเนี้ยเราก็จะได้ว่ามันจะเป็นทิศตามนี้นั่นเองครับ นี่แหละครับว่า กระแสไฟฟ้าเนี้ยมันผลิตได้ยังไงนะครับ เราก็จะคอยคอนเซ็ปต์นะ แต่ความวุ่นวายของมันคือการหาทิศวะทิศเนี้ยจะเป็นยังไงได้บ้างนะครับ แล้วสุดท้ายในเรื่องนี้ครับ เราก็อยากให้รู้จักเพิ่มเติมนิดหนึ่งว่าเราผลิตฟ้ายังไงนะ เรียกว่า หรือ นะ มันจะเป็นการผลิตแบบสองแบบคือ กําเนินไฟฟ้ากระแสตรงแล้วก็กระแสสลับนะครับ กระแสตรงเนี้ยคือมีด้านบนด้านเดียว มันก็จะคงคงแบบนี้ไม่เหมือนแบตเตอรี่ แล้วให้ฟังถ้าเราไปใช้แบตเตอรี่พวกเนี้ย ที่เป็นฐานที่เรานะ ที่เราเป็นฐานเนี้ย เราก็จะได้ว่า ถ้าเป็นแบตเตอรี่แท้นะ แบต ถ้าเป็นแบตแล้วกัน แบตจะดีกว่าตรงนี้ตรงที่ว่า กระแสมันจะคงที่ตรงตรงแบบนี้เลยนะครับ อ่า โอ้โห แบบคงที่เลย นี่คือ ไอจากแบตนะ หรือวีก็ได้นะ เอ็บทีลอนของพวกแบตจะเป็นแบบนี้ แต่ของตัวนี้ที่มอเตอร์ผลิตอ่ะ มันจะ เป็นขึ้นขึ้นแบบนี้นะ เป็นขึ้นขึ้นแบบนี้เป็นกระแสตรงนะครับ สังเกต ดูวงแหวนนะครับ วงแหวนเดี่ยวครับ อ่า เดี๋ยวค่อยบอกกันว่าเป็นยังไงน่ะ เดี๋ยวไปดูภาพกัน แต่ถ้าตัวนี้คือกระแสสลับครับ มันจะมีทิศขึ้นลง คือยังไง คำว่าขึ้นลงก็คือ อันนี้เขาเรียกว่าขึ้น แล้วก็จะมีลงไปด้วยน่ะ มันมีการขึ้นลงแบบนี้เนี้ย มันทําให้กระแสมันขึ้นหรือลง ก็คือซ้ายขวา ซ้ายขวา บนล่าง บนล่าง มันเลยเกิดกระแสสลับ มันจะเป็นวงแหวนคู่นะ ซลิปลิง อ่ะ ซึ่งเดี๋ยวเราไปดูคลิปประกอบนิดนึงว่า เอ๊ะ มันเป็นยังไง จะได้เป็นความรู้สนุกสนุกเก็บไว้ เกี่ยวกับการผลิตไฟฟ้านะครับ อืม คลิปดีดีจ้ะ นี่แหละนะ ไป เขาก็บอกว่า นี่นะ มันมี generator การผลิตเนี้ย มันต้องมีอุปกรณ์อะไรบ้าง มีลิง มี มีที่สัมภาษณ์ อ่า อันเนี้ยต้องเกิดสนามแหม่เหล็กนะครับ บิ่งมาทางนี้แล้วเขาก็ทําการอะไรเอ่ย ใส่ตรงนี้เข้าไป อันนี้ผลิตเป็นกระแสสลับนะ เพราะดูวงแหวนง่ายง่าย วงแหวนคู่นะครับ แล้วเขาก็ให้มันมีการหมุนข้างในครับ พอมีการเปลี่ยนแปลตรงเนี้ย เห็นไหม มันก็จะเกิดกระแสสลับ เกิดขึ้น แม้กระแสมันก็จะวิ่งไปมา วิ่งไปมา แบบนี้นะครับ อ่า ไม่มีอะไรมาก ก็ให้ดูทิศนี้ เป็นกราฟท์ไซด์แบบนี้นั่นเองครับ เดี๋ยวจะคุยกันต่อในเรื่อง เวลฟาดกระแสสลับว่าเป็นยังไง แต่นี้จะรู้จักแล้ว อ่า เคย เนื่องจากการหมุนแบบนี้ ทําให้เกิดกระแสสลับ เกิดขึ้นนั่นเองครับ มันก็ขึ้นขึ้นลงลงไปแบบนี้นะ ไปพูดอ่ะ ไปเร็วเร็ว คราวนี้ถ้าตัวนี้เป็นกระแสตรงครับ จะเห็นว่าแหวนเนี่ย ตัวลิงเนี่ย มันจะเป็นตัววงแหวนเดียวนะ แล้วก็มาดูครับว่าตอนผลิตมันจะเป็นยังไง เห็นไหม กระแสดูเส้นเส้นสีน้ําเงินสีแดงด้านขวาล่าง มันจะเป็นเส้นเดียวมันไม่ไปกลับนะ ไม่ไปกลับ ไฟก็สว่างแบบนี้ได้ครับ ซึ่งมันจะแตกต่างจากตัวแบตเตอรี่นิดหนึ่งนะ เราเทียบกันเนี่ยก็คือ แบตเตอรี่จะตรงนะ แต่ของตัวเนี้ยมันจะเป็นลูกคลื่นแบบนี้ จบ น่ะ ก็ไม่มีอะไรมาก ให้เรารู้จักสิ่งที่ได้ว่า การผลิตไฟฟ้า กระแสตรง กระแสสลับ ก็เป็นแบบนี้ นั่นเองครับ สําหรับคลิปนี้ทีนี้ครับ สวัสดีครับ สวัสดีครับทุกคนครับ ในคลิปนี้เนี่ย พี่จะสอนน้องในเรื่องไฟฟ้า กระแสสลับนะครับ ที่ผ่านมาเนี่ย ตอนเรียนไฟฟ้ากระแสเนี่ย ก็จะเป็นไฟฟ้ากระแสตรงใช่ไหม เขาเรียกว่า DC Direct Current ครับ แต่ถ้าเราเป็นกระแสสลับเนี่ย จะเรียกว่า Alternative Current ซึ่งดูกันนะว่า สองแบบเนี้ยมันมีความแตกต่าง อะไรกันยังไงนะ กระแสตรงกับกระแสสลับนะ อ่ะ ไปดูคลิปนิดหนึ่ง อ่า ไปดูอุปกรณ์สื่อของพี่มันเดิมนะ แล้วมีวงจรสองด้านครับ สองฝั่ง ฝั่งซ้ายนี่คือกระแสตรง ฝั่งขวานี่คือกระแสสลับ ดูได้ยังไงครับ ดูที่ตัวไหล่กำเนินครับ แรงกำเนิดเนี่ยมันจะเป็นบุคลบแบบนี้แต่ถ้าเป็นรูปคืนน่าตาแบบนี้มันคือแรงกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับนะ เรามาดูทิศทางการไหลของวงจรก่อนที่จะไปดูการทิศทางกันนะ ทำไมอันนี้มันดูแรงเครื่องไฟฟ้ามันน้อยเดี๋ยวพี่ขออัดเครื่องนะปรับแรงฝั่งนี้นะ เห็นไหมแรงเยอะๆๆ อ่าเห็นไหม จะเห็นว่าด้านซ้ายเนี่ยเวลามันไหลเนี่ยมันจะไหลแบบอย่างเดียวเลยเห็นไหม อันเนี้ยไหลมันจะไหลแบบทิศเดียว ในขณะที่ตัวนี้ครับเวลาไหลเนี่ย มันจะมีการไหลแบบไปกลับไปกลับนะไปกลับไปกลับเขาเรียกว่าไฟฟ้ากระแสสลับครับแล้วถ้าเราไปดูทิศทางของไม่ว่าจะเป็นแรงเครื่องไฟฟ้านะครับหรือจะเป็นอ่ากระแสดูกระแสก็ได้นะ กระแสตรงนี้จะเห็นว่าถ้าเป็นกระแสตรงเนี่ยมันก็จะไหลคงที่ตลอดนะอย่างที่เราได้บอกไปนะมันก็จะเป็นแบบนี้สลับกระแสตรงแต่คราวนี้ถ้าเราไปดูกระแสสลับบ้างเห็นไหมกระแสมันเนี่ยจะเป็นรูปขึ้นเลยนะเป็น Side Wave นะเขาเรียกว่า Side Wave ก็คือเป็นรูปขึ้นนะเออก็ขึ้นลงขึ้นลงนะเป็นตัวบอกว่ามันไม่คงที่นะครับแล้วก็เป็น คงที่ คงที่ แต่แท้กระแสสลับมันก็จะมีการขึ้นขึ้นลง แบบนี้ ขึ้นขึ้นลงแบบนี้นะครับ อ่ะ ตามนี้เราก็จะเข้าใจแล้วว่าพฤติกรรมเป็นยังไงครับ ก็จะเห็นภาพที่กินแล้วว่ากระแสตรงเนี่ย มันจะคงที่ไม่ว่าจะเป็น I หรือ V เนี่ย ไม่ว่าจะผ่านเวลาใด ก็ตามเนี่ย มันก็ยังคงที่เหมือนเดิม คงที่เหมือนเดิมแบบนี้นะครับ ไม่ได้มีอะไร แต่ว่าใดก็ตามเนี่ย ที่ตัวนี้มันกลายเป็นกระแสสลับนะครับ มันจะกลายเป็นลูกขึ้น กราฟของมันจะเป็นกราฟไซน์นั่นเองครับ เห็นไหม เป็นไซน์ Max นะ ก็เป็น I Max ไซน์ Omega T นะ v max ไซด์ omega t นั่นเอง และปัญหาที่มันเกิดขึ้นหลังจากที่ หน้าตาเป็นรูปไซด์แล้วมันเกิดอะไรขึ้น ทุกคน อืม เราหาค่าตัวแทน ลําบากครับ คือ ไออันเนี้ยมันหาง่ายด้านซ้ายเนี้ย อ่ะ จิ้มมัน ได้เลย เนี้ย ทุกเวลาเป็นเท่านี้ นะ แต่อันเนี้ย จิ้มตรงนี้อ่ะ มันหาค่าตัวแทนยากครับ เราต้องสร้างค่าส่วนขึ้นมาเลยว่าค่า ยังผลครับ อ่ะ ค่ายังผลเนี่ยมันเป็นเทคนิคทางคณิตศาสตร์นะ ที่ช่วยให้เราเนี่ยสามารถหาค่าตัวแทนมันได้ครับ มันหลักการเนี่ยคือ root mean square มันคือการที่ว่า step นะ concept ของมันอารมณ์แบบเนี้ย ก็คือถ้าเรามองมองแบบนี้นะ คือ step การคิดของมันเนี่ยมันคือตอนแรกเป็นกราฟแบบนี้อยู่ ใช่ไหม ก็ทําการยกกําลังสอง กําลังสองซะ มันก็จะกลายเป็น อย่างงี้ทั้งหมดจริงปะ ปุ๊บปุ๊บปุ๊บปุ๊บปุ๊บมันก็จะเป็นทิศขึ้นทั้งหมด แล้วค่อยกลับค่าให้เท่าเดิมโดยการถอดลาก นะ แล้วก็ไม่ได้เท่าควรเขียนเท่ากับ ควรเขียนปรับฟังก์ชันไป ปุ๊บปุ๊บ แบบนี้นะ แล้วก็ทำการถอดลากนะครับ น่ะ ถอดลากแล้วก็หาค่าเฉลี่ย เอาเป็นว่าคอนเซ็ปต์มันประมาณนี้ แล้วก็จะทําได้ เป็นแบบนี้นะครับ ปุ๊บปุ๊บปุ๊บปุ๊บปุ๊บ แล้วก็หาค่าเฉลี่ยตรงนี้มานะครับ มันจะไม่เฉลี่ยตรงๆไม่ได้ เพราะว่ามันเป็นรูปโค้งไง มันเอากึ่งกลางไม่ได้นะ ก็เรียกว่าค่า rms นั่นเองครับ เอาเป็นว่านี่คือที่มา ค่าว่าเป็นที่มายังไงนะ ดังนั้นเราก็จะได้สมการตัวนี้ขึ้นมานะครับ เป็น v rms นะครับ เป็น v max ส่วนรูสองนะครับ หรือ v max เท่ากับ rms ในขณะที่หาค่า i ก็ใช้สมการเดียวกันเลยนะครับ เป็น i max นะ ส่วนรูสองหรือ i max IMS เท่ากับ iMac สูตรรูป 2 หรือ iMac เท่ากับรูป 2 iRMS นะ ก็ดูตามสมการตรงนี้ได้เลยนะครับ ถ้าเราไปดูกราฟเนี่ย เพื่อความเข้าใจมากขึ้นมันคือยังไง คือยังงี้ ให้เราเข้าใจครับว่า นี่คือกราฟ ปึ้ง อ่ะ ขอขี้ขึ้นๆนิดนึง นี่สีเขียวเนี่ย คือตัวพฤติกรรมของตัวฟังก์ชันของกระแสไฟฟ้าในกระแสสลับนะ หรือความสาวไฟฟ้าในกระแสในไฟฟ้ากระแสสลับ ก็จะเป็นรูปโค้มแบบนี้ เราเข้าใจอะไรบ้างครับ อันนี้ด้านบนเขาเรียกว่าค่า P ครับ ค่าสูงสุด อันนี้เรียกว่า v peak คือ v สูงสุดเลยนะ v สูงสุดเลย แต่เราจะเห็นนะครับว่า ถ้าตัวนี้มันจะไม่ใช่สูงสุด มันจะอยู่แถวๆ นี้ เราจะทำให้ดูนะ ตัวค่า rms ที่เรากำลังคุยกัน มันจะอยู่ตรงนี้ ไม่ใช่ครึ่งหนึ่งนะครับ เขาไปพิสูจน์ทาง integrate มาแล้วนะ ต้องบอกว่ามันมาจากการ integrate นะ ตัวนี้มันคือ v rms นะครับ มันคือ v peak หรือ v max นั่นเองนะครับ หาด้วยรูป 2 มันจะกลายประมาณเป็น 0. 707 นะ มันจะมากกว่าครึ่งหนึ่งเนอะ เป็นมาจากคณิตศาสตร์แล้วกันนะ มันจะเป็น 7.707 นะ ปุ๊บปุ๊บ 0.707 vp อ่ะ ตามนี้แหละ จบน่ะ ก็ให้รู้ว่า ต่อไปเนี่ย เราจะให้ค่าตัวเนี้ย เป็นค่าตัวแทนของไฟฟ้ากระแสสลับน่ะ เวลาบอกกันว่าวัดได้เท่าไรน่ะ เป็นค่าตัวแทนเหมือนสถิติเลยนะ บอกว่าได้เท่าไรก็ว่าได้ค่าตามนี้แหละ rms นะ เวลาบอกกันเนี่ย เออ ค่าเท่าไรก็ ใช้ เนี้ย เป็น ค่า ที่ ใช้ ในการ พูด คุย รายงาน ตัว แทน ของ ไฟฟ้า กระแส สําหรับ ชุด นั้น ไม่ว่า จะเป็น กระแส หรือ สัก ไฟฟ้า นั่นเอง ครับ เนี่ย แหละครับ ก็คือ หลัก สูตร ใหม่ ก็ ไม่ได้ ซับซ้อย น่ะ จริงจริง มัน ยาก กว่า นี้ เยอะ เลย แต่ หลัก สูตร แหละ ครับ สวัสดี ครับ สวัสดี ครับ ทุกคน ครับ กลับมา พบ กับ ไฟฟ้า ภาษา อังกฤษ นี้ ชื่อ เหมือน หุ่น ยนต์ เลยน่ะ ทาน ฟอร์ ม อ่า มันคืออะไรครับ อ่า เราจะมาท้องรู้จักกัน หน้านาธิของมันเนี่ย ทําอะไรบ้าง คือเวลาแบ่งเนี่ย มันจะแบ่งสองฝั่ง คือปฐมภูมินะครับ กับ Secondary ทุติยภูมิ เรียกว่าเป็นสองฟังแบบนี้นะครับ ฟังหนึ่งเนี่ยพี่เรียกว่า V1 แล้วกัน ฟังนี้เรียกว่า V2 นะครับ ตอนหลังว่าเป็นยังไง มอบแปลงเนี่ย ทําหน้าที่ทําให้ V2 เนี่ยมันเพิ่มหรือลดแรงดันได้ครับ ถ้าเป็นมอบแปลงประเภทเพิ่มเนี่ย เราก็เรียกมันว่ามอบแปลงขึ้นนะ มอบแปลงขึ้น เรียกมันว่า Step Up V2 เนี่ยจะมีค่ามากกว่า V1 นะ เพิ่มขึ้น ต้องการให้เพิ่มขึ้นแล้วกัน เรียกแบบนี้ หรือเราเรียกแบบตามศัพท์แบบนี้คือ V2 เนี่ยจะมากกว่า V1 เรียกว่ามอบแปลงขึ้นนะครับ แต่ถ้าต้องการให้มันลดลงนะ ก็สําคัญเหมือนกันแบบนี้ ทําให้วีสองลดลงเนี่ย เราเรียกว่า ม่อแปลงลงนั่นเอง วีสองจะน้อยกว่าวีหนึ่ง แล้วการใช้งานกับมันเนี่ย ใช้กับอะไร ยํานะ สําคัญว่าเวลาใช้ตัวม่อแปลงไฟฟ้าเนี่ย ใช้ได้กับนะ ไฟฟ้ากระแสสลับครับ ไม่สามารถใช้กับกระแสตรงได้ อ่ะ เดี๋ยวจะมาดูกันว่า ทำไมมันถึงใช้ได้กระแสสลับนะครับ ไปดูหลักการก่อนแล้วค่อยมาดูหลักการคํานวณ ซึ่งไม่ยากเลยหลักการคํานวณนะ แต่เรามาเข้าใจหลักการก่อนว่าเป็นยังไง คืออย่างงี้ การที่มันเป็นกระแสสลับเนี่ย เราจะเห็นว่าตรงขดลวดเนี่ย มันจะมีการเปลี่ยนแปลง Delta B เกิดขึ้น พอมันมีการเปลี่ยนแปลง Delta B เกิดขึ้นไปประมาณแบบเนี้ย มันทําให้เกิดการเหนียวนําฝั่งขวา ทําให้เกิดกระแสไหลไปด้วยได้น่ะ เห็นป่ะ ฝั่งขวามันก็จะมีกระแสไหลเกิดขึ้น แต่ถ้าปรากฏว่าอันเนี้ยเราไปเปลี่ยนตรงเนี้ย กลายเป็นกระแสตรง จะเห็นว่ามันไม่มีการ มันเกิดสนามแม่เด็กก็จริงใช่ปะ แต่มันจะแบบ อะไรอ่ะ ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงนะครับ พอมันไม่เปลี่ยนแปลง เนี้ย มันก็เหนียวนําให้อีกฝั่งหนึ่ง เนี้ย มันเกิดกระแสไฟฟ้าไม่ได้นะครับ ก็ จบ หลักการมีแค่นี้แหละ นะ โดยการเปิดปิด แน่เลย เดี๋ยวลองดูนี่หนึ่ง สนุกสนุก อ่ะ อันเนี้ย มันจะเกิดได้บางครั้ง ถ้าเขาเปิดปิด นะ แต่ถ้าไม่เปิดปิดมันก็ไม่ได้นะ ตัวกระแสตรง อ่ะ ก็ใช้สวิตช่วยได้เหมือนกัน แต่ไม่สะดวกหรอกนะ ใช้กระแสสลับสะดวกกว่าเยอะ ฉะนั้นนี่คือที่มานะครับว่าทําไมถึงใช้ได้แต่กับกระแสสลับนั่นเองครับ โดยปัจจัยที่ต้องรู้ว่ามีสองตัวคือค่าตัววีไปแล้วนะ แล้วก็ค่าเอ็นนะครับ เราเรียกมันว่าเอ็นหนึ่งแล้วก็เอ็นสองคือจํานวนขดรอบขดรวดนะ ตรงแต่ละฝั่งนะครับ มันก็จะมีจํานวนขดรวดไม่เท่ากันแบบนี้ โดยเราจะทราบนะครับว่า สําหรับการนี้ตัวสําคัญเลย วีเนี่ยแปลผันกับเอ็นครับ ยิ่ง n มาก v มาก n น้อย v น้อยนะ ก็แปลว่าถ้าเราอยากให้ใครเพิ่มอ่ะ ถ้าอยากให้ v 2 เพิ่มเนี่ย ทํายังไงครับ ก็ให้ n ตอนหลังอ่ะ มีค่ามากกว่าตอนแรกครับ ถ้า n 2 มากกว่าตอนแรกเนี่ย มันก็ทําให้ v 2 เนี่ย มีค่าสักไฟฟ้าเนี่ย เพิ่มขึ้น แต่ต้องการให้มันลดเนี่ย มันก็ทําให้ n 2 เนี่ย แล้วทําให้กันสารสลับถูกใช้งานในชีวิตประจําวันเราเยอะมากมากเพราะเหตุผลนี้เพราะว่าเวลาเขาสร้างแรงดันฟ้าเนี่ยเขาต้องใช้แบบผลิตแหล่งเดียวเดียวเนี่ยมันจะผลิตที่ไกลไกลอ่ะต่างจังหวัดอะไรอย่างงี้น่ะไกลมากมากเลยอย่างงี้อ่ะเราก็จะผลิตเยอะเยอะเป็นไฟฟ้าแรงดันสูงแล้วเวลาเราใช้เนี่ย แล้วก็ใช้ตามบ้านเรานะครับ ไม่เหมือนชีพผลิตโรงไฟฟ้านี้ แรงดันสูงมาก นี่แหละครับ หน้าที่ของหม้อแปลงมีประโยชน์มากมาก แบบนี้ทําให้กันสัตว์สลับถูกใช้อย่างแพร่หลายก็เพราะเหตุผลนี้ นะ แล้วไงต่อ ครั้งนี้มารู้จักหม้อแปลงนิดหนึ่งว่ามันจะมีสองแบบ คืออุดมคติกับไม่อุดมคตินะครับ ถ้าอุดมคติคือกําลังไฟฟ้าไม่ได้หายไปไหนครับ ซึ่งไม่เป็นจริงนะ แต่ก็อาจจะเจอคํานวณทางฟิสิกส์เพื่อให้เข้าใจหลักการ พีหนึ่งเท่ากับพีสองก็คือ ฝั่งนี้เนี่ย มีกําลังไฟฟ้าเป็นพีหนึ่ง ฝั่งนี้มีกําลังไฟฟ้าเป็นพีสอง อ่า อะไรอย่างงี้นะ เราก็บอกได้ว่า ถ้าเป็นม่อแปลงปกติเนี่ย มันไม่ศูนย์หายเลยเท่ากันได้เลยนะ แต่ความจริงไม่ใช่หรอก มัน มันไม่เท่าหรอกครับ มันต้องศูนย์หายไปบางส่วน ประสิทธิภาพของเราก็คือ พีสองหารพีหนึ่งคูณร้อยครับ คือตอนหลังเนี่ย มันต้องลดลง มันสูญเสียกับความร้อนู่นนี่นั่น นะ มันทําให้ลดลงไปแบบนี้นั่นเองครับ นี่แหละครับ หลักการของ ม่อแปลงไฟฟ้าเป็นยังไงบ้างนะ เราก็เข้าใจแล้วว่ามันทําหน้าที่ในการ ปรับแรงด้าน จะปรับเพิ่มปรับลงก็ปรับได้ ขึ้นกับ ตัวนี้สรรค์การคือ V แปรผันตรงกับ N จนตรงขดรอบขดลวดนะ ก็ได้เป็น V2 ส่วน V1 เท่ากับ N2 ส่วน N1 นั่นเอง ส่วนประสิทธิภาพก็ใช้หลักการพลังงานได้เลย สําหรับคลิปนี้ก็เท่านี้แหละครับ สวัสดีครับ สวัสดีครับน้องๆทุกคนครับ ในคลิปนี้เนี่ย พี่จะพาน้องทําโจทย์แนวสอบคําอะไรเรื่องแม่เหล็กและไฟฟ้านะครับ ในคลิปนี้เนี่ย เราจะดูในปี 64 ก่อนนะ อันนี้ไม่ได้พิมพ์มาพิมพ์ด้วยนะ อันนี้ปี 64 ครับ วิชาสามัญปี 64 นะ เพราะนี่เขาว่ายังไงครับ บอกเลยว่าไม่ยากเลยนะ ง่ายๆ อันตรภาพ ABC นะครับ ซึ่งมีอัตราส่วนระหว่างมวลต่อประจุไฟฟ้าเท่ากัน อ่า เขาบอกมาแล้วนะ ว่าตัวแปลสําคัญเลย มวลต่อคิวเท่ากันนะครับ M ต่อคิวเท่านะครับ เคลื่อนที่ระนาบนะ กระดาษภายใต้สถานะแม่เหล็กสำหรับเสมอ มีที่ทางพุ่งเข้าและตั้งฉากกับระนาบกระดาษแทนด้วยสัยลักษณ์ X นั่นเองครับ ก็คือพุ่งเข้านะ เพราะว่าอันตรภาพทั้งสามเนี้ย เคลื่อนที่เป็น ABC ได้ทางภาพนะครับ A เป็นทางขวาบน เอ้ย ทางบนน่ะ แล้ว B กับ C ก็ลงล่างแบบนี้แต่ลักษณ์สมียไม่เท่ากันนะ ข้อใดถูกต้อง อย่างแรกเลยครับ หาประจุก่อนว่า ใครประจุอะไร เราลองใช้มือนะ เราลองดูได้ ใช้มือ ป๊าบ อ่า แบบนี้ ถ้าเราใช้มือขวานะครับ เราสังเกตได้ว่า นี่ นี่ นี่ นี่ เห็นไหม มือขวาเนี้ย เราก็ได้ว่า สี่นิ้วตามวีนะครับ สี่นิ้วตามวีนะ ให้บีเข้าหลังมือ ให้บีเข้าหลังมือ พอดีเลย ให้บีเข้าหลังมือ หรือกําตามบีนะ แบบนี้นะครับ เราก็จะได้ว่า f เนี้ย จะเป็นทิศขึ้นแบบนี้ ใช่งั้นนะ ถ้าใช้มือขวาจําได้ไหม ถ้าเป็นมือขวาเนี่ย นะ มือขวา เราก็จะทราบนะครับว่าเป็น ประจุบวก เดี๋ยวขอเปลี่ยนสีนิดหนึ่ง นะ มือขวา นะฮะ เราก็ทราบว่าเป็น ประจุบวกนั่นเอง ฉะงั้นเราก็จะทราบด้วยนะครับว่า เนี่ยเป็นประจุบวก นะ เป็นประจุบวก แล้วอีกตัวหนึ่งเนี่ย เราก็ใช้มือซ้ายนะครับในการนั่นแทนนะ ถ้าเราใช้มือซ้ายเนี่ยอันนี้เป็นมือซ้ายนะ เหมือนกันเลย 4 นิ้วตาม V นะครับ ให้ B เข้าหลังมือแบบนี้ เราก็จะได้ว่าทิศเนี่ยมันจะทิศลงแบบนี้ ปั๊ง ไปเป็น F นะ เราก็ได้ว่าแบบนี้คือมือซ้ายนะครับ มือซ้ายเนี่ยแสดงว่าประจุ B กับ C เนี่ย ก็จะเป็นประจุลบนะ แต่มันมีรัศมีที่ไม่เท่ากันนะ เพราะอะไรล่ะ อ่า แต่เห็นครับ รัศมีเนี้ย เราสามารถบิขอหาค่าอ่านะ อ่า เนี้ย รัศมีเท่ากับ mv หารด้วย qb นะครับ mv หารด้วย qb เราจะเห็นนะครับ โจ้เขาบอกมาแล้วว่าระบบชุดนี้เนี้ย m ส่วนคิวเท่า อ่า แล้วทุกตัวเนี้ย อยู่ในสนามเดียวกัน นะ B เท่ากัน ฉะนั้นตัวที่แปรผันจะเหลือแค่ความเร็วครับ ดังนั้นไอ้ที่ความเร็วไม่เท่าเนี่ย เราก็จะบอกได้ว่ามันเกิดจากความเร็วที่ไม่เท่ากันนะครับ ดังนั้นเนี่ย เราจะบอกได้ว่าถ้ามันระสบีตรงนี้เท่ากัน ตัว A กับ B เนี่ย จะเห็นระสบีมเท่ากันใช่ป่ะ เราจะได้มีข้อมูลได้ว่า VA กับ VB เนี่ย ต้องเท่ากันนะครับ แต่ VC เนี่ย จะมากที่สุดเลยนะ VC เนี่ย จะมากกว่า VA VC ก็มากกว่า VB แบบนี้ นั้นเราก็สรุปได้อย่างรวดเร็วแล้วครับ ฉะนั้นข้อนี้เราก็ไปตอบกันว่าจะตอบอะไรบ้างเห็นไหมบอกเลยว่าไม่ยากเลยในการทํานะสบายสบายมากมากเลยสําหรับข้อนี้นะครับ ไปข้อมูลครับเขาบอกว่า a และ b เป็นประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกันข้อนี้ไม่ใช่นะครับไม่ได้ชนิดเดียวกันนะครับตัดทิ้งคนละประจุนะ เราจะเห็นนะครับว่า a เป็นบวกส่วนเจ้า b กับ c เป็นลบนะครับต่อ b และ c ครับต่างชนิดกันไม่ใช่เหมือนกันนะครับ ต่อไปครับ C ปัจจุเป็นบวกไม่ใช่ครับ เป็นลบครับ แหงดูทิศปุ๊บนึกว่าตัวหู ได้หลาย Choice แล้ว อัตราเลว B มากกว่า C ไม่ใช่ครับ น้อยกว่าครับ แล้วจะมีตัวเดียวที่ถูกครับ C มากกว่า A ครับ ใช่ไหม ข้อนี้ต่อไป Choice ที่ 5 นั่นเองครับทุกคน อ่า อ่า ตามนี้ โอเค ก็ได้คําต่อไปนะครับ ต่อ คราวนี้ไปที่ข้อที่สองของปี 64 กันนะ ข้อนี้เขาว่ายังไง เขาบอกว่า ดูกราฟก่อน อันเนี้ยเป็นเรื่องไฟฟ้ากระแสสลับ อ่า กระแสสลับนะครับ เขาบอกว่าตัวตั้งทานเนี้ย คณะสองโอม เขาให้ค่าอ่ามาให้ อื้อหือ เข้ากับแหล่งกระหนดไฟฟ้ากระแสสลับครับ ค่าอ่า ของกระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวตั้งทานเนี้ย น่ะ ที่ผ่าน ที่ผ่าน ไม่ใช่ผ่าน นะ ผ่านตัวตั้งทานนะครับ มีค่าเท่ากับเจ็ดแอมเปอร์นะ เขาให้ค่า มาให้ เป็นค่า นะครับ แบบนี้ แล้วก็ให้ค่ารู้สอบมามีค่าอะไรกำหนดมาให้กราฟได้แสดงความสะพานระหว่างตัวกระแสที่ผ่านนะครับกับความต่างศักดิ์กับเวลาทีได้ถูกต้องอ่ะอย่างแรกก่อนเขาให้ค่า IMS มาต้องรู้นะมันไม่ใช่ค่าพีคเราต้องมองให้ออกเป็นยังไงแต่กราฟเวลามองเนี่ยมองค่าพีคมันจะมองง่ายกว่าเห็นป่ะ ฉะนั้นเราต้องไปหาค่า VMAX นะข้อนี้จะรู้คําตอบเนี่ยต้องไปหา VMAX กับ IMAX เราถึงจะรู้ว่ากราฟตัวไหนแล้วก็ไปหาค่า IMAX ก่อนมาหาง่าย iMac นะครับ เราสามารถหาได้จากตรงนี้เลยว่า iMac เท่ากับ Root2 iRMS นะครับ ก็ Root2 เขาบอกมาแล้วนะ คือ 1.41 แล้วคูณกับ 7 นะ เพราะว่า iMac คือ 7 ตรงนี้เข้าไปนะครับ มันจะได้เท่าไหร่ ตัวเลขที่ได้นะ เป็น 9.87 แอมเปรอร์นะครับ แล้วก็ประมาณ เป็น 10 แอมเปรอร์เลยนะ เราก็จะได้ประมาณนี้ เดี๋ยวหาให้ครบแล้วเข้าไปดูกราฟทีเดียวนะ ถัดไปก็ไปหาค่า v max หายังไง ก็ไปหาจากสมการตรงนี้เลยครับ v max เท่ากับ IR นั้นก็ต้องใช้ IMAX RMAX นะครับ อ่ะ ความต่างสักขอเขียนเป็น Delta แล้วกัน จะได้ไม่งงนะ Delta VMAX จะกลายเป็นประมาณสิบนะ เราใช้ประมาณไปประมาณสิบคูณ R R เขาคือสองนะครับ ดัง Delta VMAX ของเราเนี่ย ประมาณประมาณแล้วจะกลายเป็นประมาณยี่สิบโวลต์นะครับ เช่นข้อนี้เราก็แค่ดูครับว่าตรงไหน IMAX 10M ตรงไหน Delta VMAX 20V เนี่ย ก็คือคําตอบของอันนั้นนั่นเองนะครับ เราก็ไปดูกัน ไป นะ อันไหนอันไหน สี แดงเนี่ยต้องเป็น 20 ง่ายๆ นะ ดูเส้นสีแดง ดูพร้อมกัน เดี๋ยวตาลาย สีแดงต้องเป็น 20 นะครับ ส่วนสีฟ้าเนี่ยต้องเป็น 10 นะ แล้วก็ไปดูครับ ก็จะเห็นว่ากราฟที่ใช่เนี่ยคือตัวนี้ครับ Choice ที่ 3 ครับ เพราะว่าจะเห็นว่าตัวนี้เป็นตามที่เราคำนวณมา ป๊าบ นี่ เราจะได้ว่านี่คือ Delta V Max และนี่คือค่า iMax ครับ แต่น้องจะเห็นว่ามีอีกข้อหนึ่งก็ใกล้เคียงแต่ไม่ใช่นะครับ คือข้อนี้ต้องรู้ว่า r เฟสเท่าครับ นี่คือ r เฟสมันเท่ากันครับ อันนี้มันจะเกิดหลักสูตรนี้หนึ่งนั้นเนี่ย จริงๆแล้วเนี่ย อันนี้เฟสไม่เท่าไม่ใช่ r ครับ วงจรที่เขาให้ทำวันนี้มันเป็น r ใช่งั้นมันไม่ใช่ตัวนี้ อันนี้แปลว่าอันนี้ไม่ใช่ r ครับ r มันต้องเฟสเท่ากัน มันจะมีตัว l ตัว c มาเกี่ยวข้องนะ ใช่งั้นข้อนี้ก็เลยตอบ choice ที่ 3 นั่น เอง ครับ ก็ ตาม นี้ สําหรับ อ่า คลิป นี้ ก็ เท่า นี้ นะครับ เดี๋ยว ค่อย เจอ แจน อีก ต่อ ต่อ นะ ว่า ปี หก ห้า จะ เป็น ยังไง สําหรับ คลิป นี้ ทั้ง นี้ นะครับ สวัสดี ครับ สวัสดี ครับ ทุกคน อ่ะ ไปดู กัน น่ะ บ้าย นี่ ปี หก ห้า ไป เขา บอกว่า อะไร เอ่ย ข้อนี้ ครับ ข้อ ที่ สาม ครับ ค ล ว ด นะ รูป สิ ล ิ ม ผ ล ภาพ มีพื้นที่ 0.5 ตราเมตร เขาให้ค่า A มา ก็คือเตาหน้าตัดตรงนี้นั่นเอง แล้วไงต่อ ชิบๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ อันประโยชน์ดีๆ ยูรับ sy นะครับ แปลว่าเริ่มต้นเนี่ยไม่ได้อยู่ตามภาพ เริ่มต้นเนี่ยมันอยู่ที่นี่ นี่คือตอนเวลา t เท่ากับ 0 นะ มันอยู่ที่ตำแหน่งนี้ แล้วต่อไปเนี่ยเขาจะพลิกไปทางนี้นะครับ จากนั้นหมุนออกเป็นตามรูปนะ แบบนี้นะครับ ก็ถามว่าขนาดอยู่ที่ θ เป็น 0 เนี่ย ก็คือภาพแรกนะ ตอนจำแหน่งแรกเนี่ยคือ θ เป็น 0 ในจำแหน่งแรกนะ 0 องศา เขาบอกว่า มีฝากแม่เหล็กผ่านเนี่ยเป็น 0.4 เวเบอร์อ่ะเขาบอกค่า b ตอนแรกนะ b0 เนี่ยคือ 0.4 หน่วยเวนเวเบอร์เอ้ยฝากไม่ใช่ของเข็มขอโทษตอนนี้มีฝากน่ะเป็น 0.4 เวเบอร์นะครับแล้วเขาบอกว่าอะไรตัวน้ำแม่เหล็กนะครับมีขนาดกี่เทราหน้าตอน ที่ถามว่า b เนี่ยจะมีค่าเท่าไหร่นะครับแล้วไงต่อครับจากนั้นเขาบอกเมื่อเพิ่ม ไปเรื่อยเรื่อยจนเป็นเก้าสิบองศาฝักไม่ได้จะมีการเปลี่ยนแปลงยังไงอ่ะ คือตอนหลังเนี้ย เขาจะกลายเป็นว่าราหน้าของตัวเนี้ยมันจะอยู่แนวเดียวกัน ราหน้าที่เขาบิดเนี้ย จะบิดมาอยู่ที่นี่ ที่เขาบอกประโยคสองน่ะ เนี้ยประโยคอันนี้เขาบอกว่าบิดมาแบบนี้ คือตอนหลังเนี้ยทีตาเนี้ยจะกลายเป็นเก้าสิบองศา จะเกิดอะไรขึ้น อ่า จะเกิดอะไรขึ้น อ่ะ มาดูเลยอย่างแรกครับ นะ ไปหาบีก่อน ไปหาบีก่อน เนื่องจากมันตั้งฉากนะในตำแหน่งแรกเนี่ยจะเห็นว่าตอนนี้มันตั้งฉากกันนะเวลาศูนย์นะข้อมูลนะข้อมูลเวลาข้อมูลชุดเนี้ยมันตั้งฉากกันอยู่นะครับ ใช้งานการหาบีเนี่ยหาได้ง่ายมากมากเลย นะก็คือไม่ต้องไปทําอะไรให้มันยากครับ ก็แถงค่าเลยบีเท่ากับปักส่วนเอนะครับ ก็กลายเป็นศูนย์ชุดสี่นะฮะ ด้วยเอ เอคือศูนย์ชุดห้า ก็จะกลายเป็นสี่ส่วนห้านะครับ ฉะนั้นเราจะได้ว่า b ของเราเนี่ย จะกลายเป็นศูนย์จุดแปดเทราครับ งั้นเราจะได้ อ่า ตัวเลือกแรกมาแล้วนะ เราก็ตัดช้อยที่ไม่ใช่ทิ้งก่อนนะ อันไหนไม่ใช่ศูนย์จุดแปดเนี่ย ตัดทิ้งไปเลยนะ ปึ๊บ ปึ๊บ ปึ๊บ ถัดมาเนี่ย ถัดไปที่ง่ายมากเลยนะ คือตอนแรกเนี่ย มันมีผ่านเต็มเต็มเนี่ย ไอ้เนี่ย ถ้าเรารู้เนี่ย ตอนเนี้ย ตอนมุมสูงสูงสูงเนี่ย มันคือค่าสูงสุดที่ทําได้แล้ว แปลว่าตอนหลังเนี่ย เราจะรู้นะฝากเนี้ยจะเหลือศูนย์เวเบอร์ครับ มันไม่มีใครเข้าไปได้นะครับ อันเนี้ยเป็นค่าที่ต่ําสุดแล้ว ดังนั้นเนี้ยเราจะรู้หน้าทีนะครับว่า ในพาดนี้เนี้ หน้าตัดมันมันน้อยลงมันมีพื้นที่ที่ตัวฝั่งไม่��ด้เข้าไปน้อยลงนะครับก็ตอบ ช่อยที่ 3 นั่นเองเนี่ยแหละหลักการหัวง่ายมากๆในการทำข้อนี้นะสำหรับ แม่เหล็กไฟฟ้าในปี 65 ไปกันต่อข้อถัดไปเนี่ยดูซิว่าจะเป็นยังไง กดนิดนึง มีพลังใจนิดนึงครับไปต่อครับข้อสุดท้ายแล้วนะของเรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้าข้อนี้มาจากปี 65 ครับไปดูกันหน้าตาดูซับซ้อนเหมือนกัน เลยจริงก็ คิดเป็นข้าวแมนตอนก็ไม่ยากเกินไปแน่นอนครับ ก็บอกว่า อ่า ต่อต้นทานอานะครับ ที่มีความทานสิบโอม ค่ะ ตรงนี้เขาบอกมาแล้วน่ะ สิบโอมอยู่ที่นี่ อันนี้คือค่าอานะ ตรงนี้เป็นสิบโอมอยู่ที่นี่นะครับ แล้วไงต่อ มีตัวนําเอ็กซ์และวายนะครับ ที่วางขนาดกันอยู่ระยะเป็นยี่สิบห้าเซนนะครับ อันนี้คือค่าแอล เขาให้ค่าแอลมาให้ นะ วางตัวนําแซ่ด นะ นี่มองเขา อยู่นะครับ จะนึกดึงตัวนําแซ่ดให้เคลื่อนที่ ไปทางขวาด้วยอัตราเร็ววีเท่านี้ครับ อ่า ปุ๊บปุ๊บ เขาให้วีมา อันนี้คือสี่สิบเซนติเมตรต่อวิ นะครับ อยู่ในสนามสนามแม่เด็กสนามเสมอบี หนึ่งเทสลา อันนี้หนึ่งเทสลา เราใส่ตัวแปลเข้าไว้ในภาพก่อน มีทิศพุ่งออก ก็คือกําลังพุ่งออกอยู่นะครับ แล้วไงต่อ แล้วบอกว่า กําลังให้ เอ็กซ์วายเป็นตัวนํามีค่า อ่า น้อยมากอะไรก็ว่าอันไป ตัวนําธรรมน้อยมากนะครับ เขาถามว่ากับแสงไฟฟ้าเนี้ย จะมีค่าเท่าไรครับ ถามค่าไอครับ ทำอย่างไร ทำอย่างไร ถามค่า i กระบวนการคิดเลยมา อินโทรมากระบวนการคิดนะครับ เราหาค่า i ใช่ไหม ตัวนี้เราต้องเข้าใจสติปการคิดแบบนี้คือ เดี๋ยวอ่ะ มันต้องมีค่า r มาแล้วเนี่ย จะหาค่า i ได้เนี่ย มันต้องเริ่มต้นจาก delta v เท่ากับ i r ครับ แล้ว delta v คือใครครับ ให้เข้าใจว่า delta v ข้อนี้ของเราเนี่ย มันคือแรงเครื่องไฟฟ้าเหนียวน้ำนั่นเอง เพิ่มเท่ากับ epsilon นะ โดย ตัวนี้ นะครับ มันก็ มาจาก ส ม การ ที่ มัน ผลิต ไฟ ฟ้า ให้ ตัวนี้ ขึ้นมา นะครับ เอ ฟ ซี ด อน เท่า กับ เอ ล วี ดี ซ าย ที ตา นั่นเอง ครับ จบ โอ้โห ส เต ็ป การ คิด ง่ายง่าย ไม่ ยาก เลย นะ เดี๋ยวเรา คิด ร ว ด เดียว ใน การ หา เลย นะ ไป ไป แก้ ส ม การ หา ไอ กัน นะครับ การ หา ไอ ของเรา ทํา อย่างไร นะ ก็ ทํา ตาม นี้ เลย นะ เริ่ม ต้น ส ม การ ครับ คือ จริงจริง เรารู้ มา แล้ว ไง เรา เลย ใช้ ตัวนี้ เป็น ตัว เชื่อ ม ตรง กลาง นะ เพราะเราจะเอาตัวนี้กับตัวนี้เข้ามาเชื่อมด้วยกันนะ ฉะนั้นเลิศวีเท่ากับ IR แบบนี้ เลิศวีของเราเนี่ยเรารู้ว่ามันคือ Epsilon มันก็เลยกลายเป็น LVB ไซส์ 90 นะครับ เพราะตอนนี้ V กับ B เนี่ยมันตั้งฉากันเท่ากับ IR ครับ ตัดไซส์ 90 ทีครับ ไซส์ 90 มีค่าเป็น 1 ไม่ต้องไปสนใจมันนะ L คือ 25 เซน ขอใส่เป็นเสร็จส่วนครับ 25 เซน เนี่ยคือ 25 ส่วนร้อย V คือ 40 เซนครับ ก็เป็น สี่สิบส่วนร้อยเช่นเดียวกัน มีค่าเป็นหนึ่ง ไม่รู้ อ่า เป็นสิบนะครับ อ่ะ ก็ตัดเลขก่อนนะ ตัดเลขก่อน ก็ทําการตัดเลขอ่ะ ยี่สิบห้าไปตัดตรงนี้ เหลือสี่ใช่ป่ะ เอาสี่ไปตัดที่นี่ กลายเป็นสิบ เอ๊ะ แล้วทําไมพี่กี้พี่ไม่เขียนอ่าเป็นเลขสิบล่ะ เออ นะ จะได้ตัดเลขทีเดียวนะ ปุ๊บปุ๊บ ขออนุญาตนะ ตัดอีกรอบนึง ชึบชึบ ชึบชึบนะครับ เราจะได้ว่า ไอ เนี่ย คือหนึ่งส่วนร้อยนะครับ หรือมันก็คือ 0.01 แอมเปร่านั่นเองครับ โอ้โห ง่ายดายนะ ทําแค่สีบรรทัดก็ได้คําตอบเรียบร้อยแล้ว สําหรับข้อนี้นะ ก็จบไปแล้วสําหรับเรื่องแรงนะ เรื่องแรงน่ะ อันนี้มันใช่เรื่องแรง เรื่องแม่เหล็กและไฟฟ้าครับ เฮ้ย น่ะ อันนี้เล่นมุกเล่นมุก เฮ้ย ทันเปล่า เฮ้ย ใช่น่ะ ตามนั้นแหละครับ อ่า โอเค เรื่องนี้ก็จบไปแล้วนะ สําหรับบทสิบห้าครับ แม่เหล็กและไฟฟ้าว่าเป็นยังไงบ้างนะครับ ก็ถือว่าพวกเราเนี้ยจะ ได้เห็นภาพรวมของโจทย์เป็นยังไงทําได้นะครับ ทุกคนครับ ไว้เจอกันในคลิปหน้ากับครูพี่ตัวครับ สวัสดีครับ