สวัสดีครับ มีสอบถามกันมาเยอะนะคะ คิดว่าเนาเนี่ยจัดสัมนาที่จริงไม่ใช่นะคะ เนาทําเป็นตีมการลงทุนขึ้นมาค่ะ แล้วก็ร่วมกับหกบริษัทหลักทรัพย์ชั้นนํานะคะ หกแข่งที่มีการกําหนดตีนนี้ขึ้นมา ก็คือวิกฤตเขาโอกาสเรา เพราะตอนนี้เราเห็นวิกฤตเกิดขึ้นเยอะมากทีเดียวนะคะ แต่ว่าบนวิกฤตที่มันเกิดขึ้นกับเขาเนี่ย บางทีมันก็เป็นโอกาสของเรานะคะ สอบถามกันมาเยอะว่านี่สัมนาไม่ใช่นะคะ แต่เป็นตีมเรื่องการลงทุนที่เนาร่วมกับบริษัทหลักทรัพย์ เพื่อที่จะให้ทุกคนนั้นได้ลองทำการบ้านดู เพราะว่าตอนนี้เชื่อว่าหลายๆคนอาจจะรู้สึกบุตรหยิดว่าซื้อหุ้นไปแล้วก็ตกตลอดนะคะ แต่ไม่เป็นไรค่ะ ช่วงระหว่างนี้สามารถทำการบ้านได้ ก็ให้ทางทีมนักวิเคราะห์ 6 รายนะคะ ซึ่งเป็นชั้นนำของทางเราที่เราคับเลือกมา ทำการบ้านให้กับเรานะคะ แล้วก็คัดเลือกทีมมา ซึ่งทีมแต่ละท่านจะไม่ซ้ำกันเลยนะคะ ฉะนั้นทุกคนจะคัดเลือกหุ้นที่เป็นสุดยอด และคัดติมที่เป็นสุดยอดของเขา ที่เขาคิดว่าน่าจะลงทุนได้ในระยะยาวตั้งแต่ 1-3 ปี หรือว่า 1-5 ปี ไม่ว่าจะเป็นหุ้นที่จดเวียนในตลาดระทรัพย์ หรือว่าจะเป็นหุ้นต่างประเทศที่ซื้อผ่าน DR ก็ตาม ก็จะมาวิเคราะห์ให้ฟังกัน เริ่มวันที่ 15 มิถุนายน ก็เห็นชมหน้ากันแล้วว่า เราสัมภาษณ์ โรคไหนบ้าง แล้วก็สัมภาษณ์ใครบ้างนะคะ ช่วงนี้เป็นช่วงที่เราลองทำกันบ้านแล้วกัน ไม่ซื้อก็ไม่เป็นไร แต่ว่าเตรียมความพร้อมเอาไว้ก่อน ถ้าเราพร้อมเนี่ย แล้วตลาดเนี่ย เกิดเงียร์แรงกระแทกลงมาแรงๆ แล้วราคานั้นเป็นราคาที่เรารู้สึกว่า มันเซฟแล้วนะคะ ก็สามารถที่จะเข้าไปลงทุนได้นะคะ แล้ววันนี้ค่ะ เราชวนคุยกันนะคะ วิเคราะห์เกี่ยวกับสถานการณ์ทางด้านของเศรษฐกิจกัน เพราะว่าเราเห็นเรื่องของการปิดโรงงานนะคะ ที่มีมากขึ้นมากกว่าที่เป็นการ เปิดโรงงานให้มันเกิดอะไรขึ้นกับทั้งภาคของอุตสาหกรรมและสิ่งที่สำคัญเนี่ยที่เรานำเสนอมาตลอดนะครับไม่ว่าจะเป็นภาคของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์หรือว่าภาคของรถยนต์ปรากฏว่าเวลาไปขอกู้แบงค์ไม่ปล่อยกู้นะคะแล้วก็มีการไม่อนุมัติเนี่ยโดยเฉพาะอสังหาริมทรัพย์เนี่ยสูงถึง 70% ฟังด พูดกันเพราะว่าเราเห็นธนาคารแห่งประเทศไทยนะ ก่อนอ่ะงอได้มีการคงอัตราดับเบี้ย 2.5% แล้วปรากฏว่าเสียงเพิ่มมากขึ้นนะคะ เป็นเพิ่มมาจากเดิมที่เป็น 5 ต่อ 2 นะครับ 5 ต่อ 2 คือ 5 นั้นบอกให้คง 2 นั้นคือปรับลดลงนะครับ ครั้งนี้เพิ่มมาเป็น 6 ต่อ 1 ค่ะ มันเกิดอะไรขึ้น แล้วก็สภาพเศรษฐกิจในปีนี้ เราจะคาดหวังว่ามันจะเติบโตได้มากน้อยแค่ไหนนะคะ วันนี้ค่ะเราพูดคุยกับดร.พิพัทรเหลืองนรมิชชัยนะครับ เป็นกรรมการบุจจักรหัวหน้านักเศรษฐศาสตร์ แล้วก็หัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์เศรษฐกิจและการลงทุนของกลุ่มธุรกิจการเงินเกียจ นาคมพัทราค่ะ สวัสดีค่ะ สวัสดีครับ ค่ะ โด๊กจังน้ํามองเรื่องของการส่งสัญญาณของแบงค์ชาติยังไงบ้างคะ การประชุมของกรณงอวันนี้ออกมา หกต่อหนึ่ง เสียงมากขึ้นนะคะ ดูเหมือนว่าจะมีความมั่นใจมากขึ้นในตัวเลขของเศรษฐกิจที่แบงค์ชาติมองเอาไว้แล้วก็เรื่องของเงินเฟ้อด้วย ในมุมของเรารอสัญญานี้อย่างไรคะ ครับ สอง สองประเด็นนะครับ ประเด็นแรกคือตัวคะแนนโวทย์เองนะครับ ถ้าจํากันได้เนี่ย สองครั้งที่ผ่านมาเนี่ย ก็คือห้าสองห้าสองนะครับ แล้วก็ตอนนี้เป็นหกหนึ่ง ก็แสดงว่า แบงค์ชาติ อาจจะ นวดกรรมการเสียงข้างน้อย ทำให้กรรมการเสียงข้างน้อยหนึ่งคน เปลี่ยนใจ โดยที่กรรมการเสียงข้างน้อยหนึ่งคน ที่ยังโหวตสวน ก็ยังมองว่าประเด็นเรื่องของ ศักยภาพทางเศรษฐกิจที่ขยายตัวต่ำลง จากปัจจัยเชิงโครงสร้าง แล้วก็การลดอัตราดอกเบี้ย น่าจะช่วยบรรเทาภาระของลูกหนี้ได้บ้าง ในขณะที่กรรมการเสียงส่วนใหญ่ ผมส่งสัญญาณว่า อันที่ 1 ก็คือ เศรษฐกิจแล้วก็เงินเฟ้อ มันมีแนวโน้มดีขึ้น แล้วก็อาจจะบอกว่าเรื่องของการขยายตัวเศรษฐกิจ ก็คงจะทยอยปรับตัวดีขึ้นจากการท่องเที่ยวที่ฟื้นตัว แล้วก็การเบิกจ่ายภาครัฐ เพราะถ้าเกิดจำกันได้ ตรายมาตร 4 ปีที่แล้วกับตรายมาตร 1 ปีนี้ ถ้าดูตัวเลข GDP การเบิกจ่ายภาครัฐที่มัน Delay ไป เป็นตัวฉุดหลังเศรษฐกิจที่สำคัญที่สุดตัวหนึ่งเลย เพราะว่า ถ้าไปดูจากตัวเลข GDP เนี่ย ไตรมาส 4 ปีที่แล้วเนี่ย การลงทุนภาครัฐเนี่ย ติดลบ 20% Year on Year นะครับ แล้วก็ไตรมาส 1 ปีเนี่ย ติดลบอีก 27% Year on Year Contribute ประมาณ 1% ถึง 1.5% ต่อ GDP นะครับ แต่ว่า GDP ที่เราเห็น ไตรมาส 1 เนี่ย ที่ 1.5 เนี่ย จริงจริงแล้วมันควรจะสูงได้มากกว่านั้น ถ้าเกิดการเบิกจ่ายภาครัฐเนี่ย มันทําให้การก่อสร้างอะไรต่างต่าง มันดําเนินไปอย่างปกตินะครับ เพราะฉะนั้น คํา พ พ เนี่ย ผ่านไปแล้วเดือนเมษา หลังจากเนี้ยผมเชื่อว่า การเบิกจ่ายภาครัฐเนี้ยมันก็น่าจะกลับมาเข้าสู่ภาคปกติ เราดูตัวเลขเดือนพฤษภาเนี้ยเห็นเลยว่าการเบิกจ่ายภาครั เพิ่มขึ้นมากกว่าสองเท่าเมื่อที่เปิดเรียนพฤษภาพีที่แล้ว จําว่าพอเปิดปุ๊บเนี้ย มันโดนยกขึ้นปุ๊บ น้ํามันไหลออกมาแล้ว นะครับ ฉะนั้นอะไรที่มันดึงเอาไว้เนี้ย มันก็น่าจะเริ่มพยอยปรับตัวดีขึ้นนะครับ แล้วก็แบงค์ชาติมองอีกไว้ครับว่า อัตราเงินเฟ้อเนี้ยนะครับ ที่ตอนต้นปีติดลบที่หลายหลายคนกังวลนะครับ ตอนเนี้ยมันเริ่มกลับมาเป็นบวกแล้วนะครับ ทีนี้ถ้าดูตัวเลขล่าสิทธิ์เนี้ย มันขึ้นไปถึงหนึ่งจุดห้าเปอร์เซ็นต์ แต่หนึ่งจุดห้าเปอร์เซ็นต์อาจจะมี special case เล็กน้อยเรื่องของถัง ของค่าไฟ เดือนหน้าอาจจะลงมาต่ำกว่าหนึ่งเปอร์เซ็นต์ แล้วก็ อ่า ทยอยปรับสูงขึ้นนะครับ ขึ้นไปเกินหนึ่งเปอร์เซ็นต์ในช่วงปลายปี เพราะฉะนั้น ทั้งก็จะกลับเข้าสู่ภาพปกติ เงินเฟ้อก็จะกลับเข้าสู่ภาพปกติ เพราะฉะนั้น ความจําเป็นในการลดอัตรายดอกเบี้ยเนี่ย ก็อาจจะมีความจําเป็นน้อยลง นี่คือความเห็นกรรณงอนะครับ แล้วก็ อ่า มองว่า สิ่งที่ตอนนี้กรรณงอกังวลเนี่ย ก็ยังเป็นเรื่องของสถิตรภาพของระบบการเงิน โดยเฉพาะ นี่ นี่ ควร หรือ แล้วก็การลดดอกเบี้ยไปตอนนี้ มันอาจจะไปเร่งทำให้หนี้โครเลินเนี่ย มันไม่ลงหรือลงยากนะครับ และอาจจะทำให้ไปสร้างความเสี่ยงต่อสถิตรภาพของระบบการเงิน เพราะฉะนั้น โดยสรุปโดยรวมก็คือ เงินเฟ้อดีขึ้น กลดดีขึ้น ความจำเป็นในการลดดอกเบี้ยลดลง วันนี้เก็บดอกเบี้ยไว้ตรงนี้ดีกว่า เพราะคือลดไปเดี๋ยวหนี้โครเลินขึ้น มีความเสี่ยงเพิ่มมากขึ้น อย่างนั้นก็สรุปคือ คงไปตรงนี้แหละ ซึ่งความเห็นผมเนี่ย ซึ่งตั้งแต่รอบ เห็นด้วยไหมคะ สองครั้งก่อน ผมก็ ถ้า อันนี้คือ คาดเดาจากการ พูดคุยของ คณะกรรมการ นิยบัยการเงิน คือ ต้องบอกว่า ถ้าจะปิดประตูแล้ว เราไม่น่าจะเห็นการ ปีนี้มันลดแล้ว ปีนี้แล้ว นะครับ เห็นด้วยไม่เห็นด้วยอีกเรื่องนะครับ แต่ว่านี่คือมองจากอาการการค่า การสื่อสารของนัยยอุบัยการเงิน และความกรรมการนัยยอุบัยการเงิน แล้วก็มองว่าถ้าเราไม่ได้เห็น growth เนี่ย disappoint หนักหนักหรือว่าเห็น NPL ขึ้นเยอะเยอะเนี่ย เชื่อว่าน่าจะเป็นมติแบบเนี้ยนะครับ ไม่รู้จะเป็นหกหนึ่งหรือจะศูนย์หรือ ไปเรื่อยเรื่อยจนกระทั่งสิ้นปี แล้วก็เดี๋ยวปีหน้าว่ากันใหม่ ค่ะ แต่รอบนี้ประชุมก่อนเฟทนะคะ เพราะเฟทเขากว่าผลจะออกก็ประมาณเที่ยงคืนวันนี้ไปแล้วล่ะ กว่าจะรู้ผล ครั้งนี้ประชุมก่อนเฟทด้วย ซึ่งเฟทเอง แซลแฟงชัยก็คิดว่าควรไม่รถ ใช่ครับผมว่าเฟท ไม่น่าจะมี surprise นะครับ แล้วก็ ถ้าเราไปดูตลาดเนี่ย ตลาดน่าจะแปรสอินแบบเก้าสิบกว่าเปอร์เซ็นต์ว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลงอะไร นะครับ สิ่งที่ตลาดน่าจะอยากรู้มากกว่าจากจากเฟทคืนนี้ก็คือ guidance นะครับ ว่าแล้วสรุปว่าไงเพราะว่า ครั้งสุดท้ายที่ให้กายเดิม คือให้ดอตพล็อตไว้เนี่ย เฟทบอกว่าจะลด 3 ครั้งปีนี้นะครับ ซึ่งถ้าดูตัวเลขวันนี้ไม่น่าจะเป็นไปได้แล้ว แน่นอนต้องมีการตอบตอบตอบแน่นอน แล้วก็ต้องตั้งคำถามว่าวันนี้เฟทจะบอกประหลาดว่ายังไง วันนี้ตลาดเนี่ยนะครับ ไพรส์อินเหลือแค่ 1 ครั้งแค่นั้นเองนะครับ ค่ะ แล้วกว่าเห็นของกรณงอที่ 6 ตอน 1 แล้วก็ด้วยความเห็นที่เมื่อสักครู่ที่รบจนาเล่าให้เราฟังเนี่ย เห็นด้วยไหมคะในมุมของนักศึกษา คือผมเนี่ย มองว่า อ่า ถ้าเกิดดู ในการลดเนี่ย ผมเชื่อว่า ในการลดเนี่ย อาจจะผ่านไปแล้ว เพราะว่า ในช่วงที่เสร็จนกิจ เหนื่อยเหนื่อยก่อนหน้านี้นะครับ น่าจะลดกว่าเบี้ย ตอนนี้ถ้าสถานการณ์ปัจจุบัน ความจำเป็นในการลดก็อาจจะน้อยลง จริงจริงตามการฟื้นตัวของภาคการคลัง คือถ้าไม่ได้ลดมาแล้ว จังหวะนี้ก็คงไม่อาจจะไม่ลดแล้ว แต่ว่าผมยังคิดว่า มีความเป็นไปได้ที่ แรงส่งของเศรษฐกิจเนี่ย อาจจะไม่ได้ต่อเนื่องอย่างที่ กรณ์อองค์งอคาดเพราะว่า จริงจริงถ้าเรามาดูนะครับ เอ่อ เมื่อกี้อย่างที่อย่างที่เรียนว่า ก็คือการฟื้นตัวเนี่ย มีมีแรงผลักดันอยู่สามตัวใหญ่ใหญ่ ใช่ไหมครับ ก็คือการฟื้นตัวของการท่องเที่ยว แต่ว่าการฟื้นตัวตัวเนี้ย ก็จะมีแรงส่งน้อยลงไปเรื่อยเรื่อย ถูกไหมครับ เพราะว่าเราขึ้นมาจากสิบเอ็ดล้าน มาเป็นยี่สิบแอดล้านคนในเรื่องของนักท่องเที่ยวต่างประเทศ ขึ้นมาเป็นสามสิบห้าล้านคนปีนี้ ปีหน้าเนี้ยนะครับ จํานวนนักท่องเที่ยวเนี้ย มันคงไม่สามารถที่จะเพิ่มในอัตราแบบนี้ได้แล้ว แรงส่งก็จะเบาลง เรื่องของแรงส่งการคลังเนี้ยนะครับ อย่างเก่งที่สุดเนี้ย ก็คือลากไปได้ถึงไตรมาสสี่ปีนี้ นะครับ แล้วก็อาจจะชะลอลง แล้วก็อันที่สาม นะครับ ก็คือจะคงจะมีการฟื้นตัวของภาคการผลิตในระยะสั้น นะครับ เพราะเรื่องของ อะไรต่างต่าง เนี่ย ก็ยังเชื่อว่าแรงส่ง เนี่ย ยังมีอยู่ แต่ว่าอาจจะมีอยู่ในในในระยะสั้น แต่ว่าที่ที่ผมอาจจะกังวลนิดหนึ่ง ก็คือเรื่องของ แรงต้านนะครับ หรือ Headwinds ของเศรษฐกิจไทยเนี่ย สองเรื่องใหญ่ๆนะครับ เรื่องแรกก็คือเรื่องของ สินเชื่อของระบบธนาคารซึ่งวันนี้ สินเชื่อเนี่ยติดลบนะครับ ด้วยสาเหตุต่างๆ ทั้งดอกเบี้ยสูง ทั้งเรื่องของ Demand ไม่ค่อยมี ภาวะเศรษฐกิจไม่ค่อยมี ความสามารถในการจ่ายคืนนี่ไม่ค่อยมีนะครับ สั่งหาริมทรัพย์ ตัวเลข เอ่อ การขาย ยอดขายรถยนต์เนี่ย นะครับ ติดลบ ตามสินเชื่อ พาคครัวเรือนที่ที่ที่ที่ชะลอตัวลงนะครับ ซึ่งอีกตัวเนี้ย น่าจะเป็นตัวฉุดที่สําคัญพอสมควรเลยนะครับ ที่ทําให้เศรษฐกิจเนี้ย แรงส่ง ถ้า ถ้า แรงส่ง ที่ ที่มาแรงแรง จาก ภาคการคลัง เริ่มหายไป เนี่ย ตัวเนี้ย ก็จะเป็นตัวที่จะลึกลงมา ไม่งั้นต้อง จะต้องระมัดระวังอยู่ แล้วก็ เรื่องที่สองที่เป็น สิ่งที่ควรจะต้องกังวล นะครับ นี่คือ เรื่องของความสามารถในการแห่งขัน ของเศรษฐกิจไทย นะครับ เราเห็นเลยว่า โรงงานปิด เราเห็นเรื่องของ อ่า เทรด อ่า ธุรกิจของไทย เนี่ย วันนี้เริ่มแข่งกับข้างนอก ได้ ได้ยากขึ้น ทั้งเจอเรื่องของการ เปลี่ยนแปลง เรื่องของเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงเรื่องของสภาพตลาด การเปลี่ยนแปลงเรื่องของ การค้าต่างต่าง แล้วยังเจอการแข่งขันจากจีน การแข่งขันจากสินค้านำเข้าอื่นอื่น นะครับ ตรงเนี้ยมันจะเป็นตัวที่ดึง ทําให้ อ่า ภาวะเศรษฐกิจเนี้ยได้รับผลกระทบ แล้วก็ อ่า ภาพระยะยาวอีกอันหนึ่งก็คือเรื่องของโครงสร้างประชากร ทั้งหมดทั้งปวงเนี้ยมันเป็นตัวที่ดึงทําให้ อ่า วันนี้ อ่า แรงส่งของเศรษฐกิจภายในเองเนี้ยนะครับ มันไม่ค่อยมี เพียงแต่ว่าแรงส่งที่เมื่อกี้เราพูดถึงเนี้ยมาจาก อ่า แรงส่งภายนอกก็คือการท่องเที่ยวกับ เรื่องของประเด็นเทคนิคโค้ก็คือแรงส่งพักการคลัง นะครับ แต่ถ้าเรามาดู เอ่อ ภาวะเงินเฟ้อ โดยเฉพาะยิ่งดู นะครับ ไม่ได้ดู เนี้ย เอาอาหารกับพลังงานออกเนี้ย วันนี้ อยู่ศูนย์จุดสามเก้านะครับ คือต่ํามากนะครับ คือแทบจะไม่มีแรง แรงกดดันเงินเฟ้อเลย ถ้าถ้าดูตัวเลขพวกเนี้ยนะครับ แสดงว่า ภาวะเศรษฐกิจจริงจริงเนี้ย อาจจะไม่ได้ดีมาก ฉะนั้นผมยังเชื่อว่า อ่า อ่า ท่าแรงส่งของภาคการคังเริ่มหมดเนี้ย หรือว่าจริงจริง แรงชาติอาจจะต้องเริ่มมองแล้วว่า เราจะผ่อนคลายนโยบายการเงินยังไง เพราะไม่งั้น หรือการพาวะการลดหนี้ การที่สินเชื่อหดตัว มันจะทำให้พาวะของเศรษฐกิจ มันชะลอตัวในอนาคตได้เหมือนกัน ทั้งๆ ที่จริงๆ ช่วงช่วงนี้มันคงมี technical issue อย่างที่เราว่านะครับ การบดจ่ายภาคการคังมันคงดันเศรษฐกิจไปได้อีกสักระยะนึงนะครับ เมื่อสักครู่ที่พูดถึงเรื่องของสินเชื่อธนาคารไม่ออกเนี่ย ส่วนหนึ่งก็มาจากเรื่องของความไม่เชื่อมั่นว่า ปล่อยไปแล้วจะได้คืนหรือเปล่า แบงก์เองเขาก็คงเห็นอะไรอยู่ เนื่องจากว่าเขาอยู่กับคนที่กู้เขาโดยตรง เศรษฐกิจก็อาจจะไม่ได้ดีอย่างที่คิดใช่ไหมคะ ที่รกจนาบบอกว่าช่วงของไตรมาสที่ 2 มันเริ่มจะดีแล้ว 3-4 ถ้ามีงบประมาณลง มันก็จะเริ่มดีขึ้นตามที่แบงก์ทราบคาดการ 2.6% ใช่ ใช่ครับ คือจริงจริงผมว่า แบงก์เองก็คงแบบเหมือนกับหมุน มุนตัวปรับว่า เอ๊ะ จะปล่อยกู้เยอะแค่ไหน หรือว่าจะเข้มมวดกับคุณภาพเสียรเชื่อขนาดไหน เนี่ย ผมว่าวันนี้แบงก์อยู่ในโหมดของการเร่งตัว ในง่ายของคุณภาพของเสียรเชื่อ คือ คือ คือ ตัวตัวมาตรฐานการปล่อยกู้ขึ้นมา เพราะว่าแบงก์เองก็ไม่เคยไม่เคยไว้ใจเหมือนกันว่า ให้ปล่อยไปแล้วจะเกิดอะไรขึ้น เพราะว่าถ้าเราดูอย่าง ออโตโลนนะครับ เหมือนเชื่อ เอ่อ เอ่อ ซื้อรถเนี้ย นะครับ ช่วงที่ผ่านมาเนี้ย เอ็นพีเอาเพิ่มขึ้นค่อนข้างเยอะ แล้วแบงก์เองก็ขัดทุนจากการขายรถยึด เพราะว่าราคารรถมือสองเนี้ย มันปลับตัวรถลงมาค่อนข้างเยอะ งั้นแบงก์เองก็ต้องแบบ รักษาตัวเหมือนกัน ว่าปล่อยไปแล้วไม่ได้คืน จะทํายังไง นะครับ เอ่อ สินเชื่อบ้านก็เหมือนกัน แบงก์ก็บอกเลยว่า เอ็นพีเอาของ ต่ํากว่าสามล้านเนี้ย ขึ้นสูงมาก นะครับ เพราะฉะนั้น ต่ํากว่าสามล้านเนี้ย แบงก์ก็ระมัดระวังมากมากในการปล่อยกู้ นะครับ วันนี้ก็จะลามไปเรื่องของบัตรเครดิตแล้วนะครับ แล้วก็จะลามไปเรื่องของ SME ลามไปเรื่อง อ่า อื่นอื่น เพราะฉะนั้นวันนี้แบงก์กําลังระมัดระวังในการปล่อยกู้ค่อนข้างเยอะนะครับ ส่วนหนึ่งก็คือเพราะว่า อย่างที่ว่าคือ ภาวะเศรษฐกิจมันยังไม่ได้ดี รายได้ของคนมันยังไม่ได้เพิ่มขึ้นอย่างอย่างอย่างเต็มที อ่า นั่นแสดงว่าตอนเนี้ยคือขาของทางพาการคลังเนี้ยมาแล้ว แต่ว่าขาของทางพระเอกชนเนี้ยยังไม่ได้ปล่อยสินที่ออกมา แต่พาการคลังมาแล้ว แต่พาการคลังเนี้ย น้องเจ้าน้ำบอกว่ามันคือจะทำให้เศรษฐกิจเนี่ยมันเติบโตได้แบบว่า จนกระทั่งเอกชนเขามั่นใจแล้วก็ยอมปล่อยสินเชื่อในส่วนที่เป็นของธนาคารพันธุ์นี้ไหมครับ คงต้องใช้เวลานะครับ เพราะว่าจริงจริง ถามว่าภาคการคลังที่เติมเข้ามาเนี่ยนะครับ จริงจริงมันก็ไม่ใช่เติมเพิ่มเข้ามาถูกไหมครับ เพราะมันจริงจริงมันเป็นของที่ควรจะเข้ามาตั้งแต่สองไตรมาสที่แล้ว ของที่อั้นเอาไว้ จริงจริงมันก็คืออย่างเก่งก็คือกลับไปตามคาด คือมันไม่สามารถที่จะเร่งตัวขึ้นได้ ทีนี้ความหวังที่หลายหลายคนเดาให้หวังกันไว้เยอะเยอะก็คือ digital wallet วันนี้ก็ยังเจอปัญหาเป็นโลกเลื่อนนะครับ คือเลื่อนตลอดเวลาความชัดเจนอะไรต่างต่างเนี่ย ก็ยังถูกตั้งคําถามเหมือนกัน ซึ่งถ้า Digital Wallet มา นี่ผมว่าคิดว่าก็น่าจะอาจจะเป็นแรงส่ง อ่า มาต่ออีกได้อีกทอดหนึ่งนะครับ แต่ถ้า Digital Wallet ไม่มาเนี่ย ผมคิดว่าเศรษฐกิจอาจจะ เจอกับภาวะชะลอตัวได้เหมือนกัน แต่ตอนนี้มีเรื่องของการเมืองด้วยนะคะ คือตระหน่าทุนเองต่างชาติส่วนหนึ่งที่แบบขายเราทิ้งนี่ก็มาจากเรื่องความไม่เชื่อมันเกี่ยวกับเรื่องการเมืองที่แบบว่าตอนนี้รออยู่ในเรื่องของการพิจารณา ตรงนี้มันจะเป็นตัวที่เป็น Deadlock สำหรับเศรษฐกิจไทยไหมคะ คือจริงจริงผมว่ามันเป็นปัญหาเหมือนกันนะครับ โดยเฉพาะยิ่งถ้าความไม่แน่นอนผมผมใช้จริงจริงผมไม่อยากใช้ความความไม่แน่นอนเพราะความไม่แน่นอนเป็นเรื่องปกติผมใช้คําว่าคือความที่ไม่สามารถคาดเดาได้เลย คือปกติ political uncertainty เนี่ย มันคือเหมือนกับ โอ้ เลือกตั้งแล้ว ไม่รู้ใครจะชนะ แต่ยังพอคาดเดาได้ว่า ถ้ากลุ่มนี้ชนะ ผลจะ นโยบายคืออะไร อะไรจะเกิดขึ้น วันนี้เราไม่สามารถคาดเดาใดใดใดได้เลยนะ เพราะว่ามันมีสิ่งที่ขยับกลับไปกลับมาสามสี่เรื่องพร้อมพร้อมกัน แล้วดูเหมือนว่า คนที่ตามดูใกล้ชิดเอง คนที่อยู่ในเมืองไทยเอง ผมว่าก็ยังงงว่าเกิดอะไรขึ้น นักลงทุนตามประเทศนี้ไม่ต้องพูดถึงเลยครับ วันนี้งงมากว่า เอ๊ะ อะไรเนี้ย เกิดอะไรขึ้นมาพร้อมพร้อมกัน มันวางแผนกันมาหรือยัง ไร ทําไมถึงมาได้สอดคล้องกันขนาดนี้ ซึ่งผมว่า จริงนะครับว่า วันช่วงที่ผ่านมาเนี้ย ผมว่า โดนแรงขายค่อนข้างเยอะ เพราะว่า เอ่อ ด้วย เอ่อ เทียบกับประหลาดอื่นอื่นเนี้ย ก็มีปัญหาอยู่แล้วนะครับ แล้วก็ เอ่อ พอไทยเนี้ย เราสังเกตได้เลย คือเรา ประหลาดอื่นด้วยซ้ํา ประหลาดอื่นเนี้ย ยังไม่ได้ลงมาแรงเท่าเหล่า ฉะนั้น เอ่อ ปัญหาทางการเมืองเนี้ย ผมว่ามันสร้าง เอ่อ ความ สับสนความงง ความ Unpredictability ให้กับการลงทุนนะครับ เพราะฉะนั้นผมว่าบรรยากาศแบบเนี้ยค่อนข้างเหนื่อยมากเลยนะครับ แล้วก็โดยเฉพาะอย่างยิ่งเวลาที่นักลงทุนเนี้ยคาดหวังว่ารัฐบาลที่เข้ามาเนี้ยจะมีนโยบายอะไรกระตุ้นเศรษฐกิจ นโยบายอะไรปรับโครงสร้างแล้วเจอภาพแบบเนี้ยเขาก็เดาอะไรไม่ถูกเลยนะครับว่า เอ๊ะแล้วตกลงอีกสองเดือนหลังจากนี้ใครจะเป็นรัฐบาลใครจะเป็นนายกรัฐมนตรีคือคือผมว่ามันมันมันเพิ่มความ ความงงให้กับนักลงทุนนะครับ อืม ค่ะ เอาสมมุติว่าเกิดบัตรยาเหตุทางการเงินเกิดขึ้น ที่สมมุติเฉยเฉยเนี้ย อย่างกรณีของคุณเสถาเนี้ย มันไม่ลามไปถึงปีหน้าหรอคะ ถ้าเกิดบอกว่าคุณเสถาอาจจะต้องแบบว่า ไม่มีคุณสมบัติในการดําลงตําแหน่งนายที่ต่อ แล้วก็ต้องมีการเลือกกันใหม่ มันมันจะมีผลไปถึงปีหน้าไหมคะ อันนี้จะคุยกับเว้ยก่อนค่ะ มี มี มี จริงจริง จริงจริง ขึ้นอยู่กับสินาเรียโอที่ว่าหลังจากนั้นเกิดอะไรขึ้นถูกไหมครับ ว่า อืม นี่จะมีการเปลี่ยนภักดิ์ทางการเมืองไหม เปลี่ยน อ่า พักที่ อ่า เป็น อ่า การจัดตั้งไหม อะไรต่างต่าง หรือจะมีความ อ่า วุ่นวายทางการเมืองอื่นอื่นใดใดหรือไม่ แต่น่า นอน ผมว่า สถานการณ์แบบนี้พอเกิดขึ้นปุ๊บเนี่ยนะครับ ถ้า อ่า ถ้าเราดูเนี่ย พูด พูดตรงตรงก็คือ รัฐบาลวันนี้นะครับ หลาย อ่า ถ้าเป็นฆาตรการวันนี้ก็ต้อง ระวังเล็กนึงแล้วครับว่าไอ้ตัวเองจะทําอะไร นะครับ เพราะฉะนั้นก็มีความเป็นไปได้ที่นโยบายต่างต่างเนี่ย มันอาจจะไม่ได้ลื่นไหล นะครับ ก็คือพูดง่ายง่ายคือ honeymoon period มันจบไปแล้ว นะครับ เพราะฉะนั้น อ่า วันนี้ อ่า การผลักดันนโยบายต่างต่างเนี่ย ก็จะมีอุปสรรคมากขึ้นเรื่อยเรื่อย ก็ยิ่งทําให้ เอฟเฟคติดเนสของตัวรัฐบาลเอง เนี่ย ก็ ก็ ก็ ก็ ผลักดันอะไรได้ลําบาก นะครับ นั้น ข้ามไปปีหน้าแน่นอน ความสับสนเรื่องของนโยบาย อ่า ตกลงจะมาไหม หรือไม่มาแล้ว หรืออะไรต่างต่างเนี่ย นะครับ ว่ามีผลกระทบได้แน่ๆ แต่ที่แน่ๆ คือไตรมาสที่ 2 เนี่ย ที่เราฟังจากน้องตันนักพูดให้ฟังเนี่ย ก็คือ น่าจะเริ่มดีขึ้นสำหรับเศรษฐกิจ ก็คือ งบที่อั้นเอาไว้ตั้งแต่ไตรมาสที่ 4 มาไตรมาสที่ 1 ก็จะเข้ามาถมในไตรมาสที่ 2 แต่ทีเนี่ย ไตรมาส 3-4 เนี่ย อยู่ที่ว่า จะเริ่มแผลวลงหรือเปล่าในเรื่องของการเบิกจ่ายใช่มั้ย ว่ามันจะกลับไปสู่ภาวะปกติละ ใช่ครับ แล้วก็ผมว่าส่วนใหญ่ วันนี้คันคาดการณ์เศรษฐกิจเนี่ย ถึงบอกว่า ตัวเลขกันคันจะไหลเข้ามานะครับ แต่การคาดการณ์เศรษฐกิจวันนี้ก็อยู่ประมาณเนี้ยครับ สองเปอร์เซ็นต์ครึ่งบุกลบ ซึ่งผมคิดว่านี่อาจจะเป็น ของเศรษฐกิจไทยนะครับ เราอาจจะคาดได้ค่อนข้างยากว่าเศรษฐกิจไทยจะกลับไปโตแบบสามเปอร์เซ็นต์ หรือสิบห้าเปอร์เซ็นต์เลย ซึ่งมีความเป็นไปยาก ยากมากมากนะครับ วันนี้เราอาจจะพูดถึงสองเปอร์เซ็นต์ ถึงสองเปอร์เซ็นต์ครึ่ง แล้วจะเป็นตัวนิวนอร์มาลของเศรษฐกิจ สิ่งที่น่าเป็นห่วงก็คือทางด้านของสินเชื่อภาคธนาคาร เพราะว่าเราสัมภาษณ์ทั้งภาครถยนต์มาภาคอสังหาริมทรัพย์มา บอกว่าตอนนี้ไม่ไหว แต่มาสองตัวเลขจะแดงหรือติดลบมากกว่าไตรมาสหนึ่งอีก ทีนี้พอถ้าเริ่มมีงบประมาณค่าใช้จ่ายของภาครัฐเข้ามา สถานการณ์นี้มันจะเริ่มดีขึ้นไหมครับ น้องเจ้าหน้า ควร จริงจริงแล้วควรจะดีขึ้นนะครับ เพราะว่ากระแสเงินสดเนี่ยมันควรจะไหลได้ทั่วท้องมากขึ้นนะครับ เพราะว่าผมว่าตั้งแต่เราเห็น เอ่อ พรบ. มุดประมาณ เอ่อ ล่าช้าเนี่ยนะครับ เราเห็นแม้กระทั่งบริษัทใหญ่ใหญ่ ที่เป็นบริษัทรับเหมาก่อสร้างเนี่ย ขาดสภาพคล่องเลยนะครับ นี่ขนาดบริษัทใหญ่นะครับ ยังเดือดร้อนเนี่ยนะครับ ไม่ต้องพูดถึงบริษัทรับเหมาเล็กเล็ก หรือว่า น้ารายด้วยนะฮะ โอ้โห ลงมาลายเทงงาน แน่นอนคือคือคือเจอปัญหาแน่แน่ งั้นแบงค์อ่ะนะครับก็สมมุติใครที่ปล่อยให้กับคนที่อยู่ในเชคเตอร์พวกนี้ผมว่าหดหมดคือถอนหมดนะครับ ถ้าเมื่อก่อนตัวเลขมันกลับมาดีขึ้นเนี่ยแบงค์ก็อาจจะแอด the margin นะครับอาจจะปรับตัวให้มันดีขึ้นเลยผมเชื่อว่าแบงค์ไม่ยังอยู่ในโหมดระมัดระวังคือถ้าไม่เห็นตัวเลขดีมากมากเนี่ย ถ้าราคารถม.2 ยังถอยอยู่ ราคารถม.1 ยังหดตัวอยู่ ผมว่าแบงก็คงไม่เคยกล้าจะลุยเท่าไหร่ เพราะก็ค่อนข้างกังวลเหมือนกัน ค่ะ ประเด็นเรื่องของค่าการผลิตของเรา โดยเฉพาะตัวเมื่อสักครู่นี้พูดถึงเรื่องของการปิดโรงงานไป สาเหตุหลักๆ ปิดเนี่ยเป็นเพราะว่า คือสินค้านั้นคือเขาสู้ไม่ไหวแล้ว หรือว่าขาดสภาพคล่อง ก็เพราะว่าเงินมันไม่หุ่นแบบนี้ หรือว่าจริงๆ แล้วเนี่ยเขาปรับเปลี่ยน อาจจะไปเปิดโรงงานใหม่ที่มันเป็นธุรกิจใหม่ๆ เพราะว่าการเปิดก็มีเพิ่มขึ้นเหมือนกัน คือปกติเนี่ยนะครับ การเปิดโรงงานเนี่ยเยอะกว่าการปิดอยู่แล้วต่อเนื่องนะครับ แต่ตัวเลขที่เรา ดูมาเนี่ยก็คือ จํานวนการปิดเนี่ยเร่งตัวขึ้นตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังของปีที่แล้วนะครับ แล้วก็จํานวนสุทธินะครับ การเปิดสุทธิเนี่ยนะครับ ก็ก็ลดลงก็คือ พูดงานคือเปิดไม่ทันปิดนะครับ แต่ผมมองอย่างงี้ครับ ผมมองว่า สาเหตุที่โรงงานปิดเนี่ยอาจจะมีสามกลุ่มใหญ่ใหญ่นะครับ กลุ่มแรกเนี่ยนะครับ ก็คงจะเป็นกลุ่มที่ ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ชงโครงสร้างใหญ่ใหญ่ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของเทคโนโลยี ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการเปลี่ยนแปลงของ ของตลาดนะครับ แล้วบังเอิญว่าเราทําอยู่ในอุตสาหกรรมนั้น เราเก่งในอุตสาหกรรมนั้นนะครับ แต่มันมีการเปลี่ยนแปลงที่มันเกิดขึ้น ยกตัวอย่างเช่นรถยนต์เนี่ย ผมว่าจะเป็นเคสที่ที่เห็นได้ชัดนะครับ ว่าสมัยก่อนเนี่ยนะครับ เมืองไทยผลิตรถประมาณสักสองล้านคันนะครับ เราขายในประเภทสักแปดแสน เราส่งออกประมาณสักล้านสอง แล้วรถส่วนใหญ่ที่เราใช้ในประเทศเนี่ย ก็เราผลิตเอง ก็คือค่ายรถญี่ปุ่นเนี้ย ผลิตแล้วเราก็ใช้ในประเทศนะครับ พอในช่วงที่ผ่านมาเนี่ย มันมีการเปลี่ยนแปลงสองเรื่อง หนึ่งก็คือ ยอดขายรถเริ่มชะลอตัวลงอย่างที่ว่าวันนี้ Year on Year ลบประมาณสักยี่สิบเปอร์เซ็นต์แล้วนะครับ จากเรื่องของท่างภาพ ภาวะเศรษฐกิจอะไรต่างต่าง Demographic อะไรต่างต่างเนี่ยนะครับ อ่า แล้วเราก็จึงเจอการแข่งขันจากรถไฟฟ้าจากจากที่ที่นําเข้าจากจีนนะครับ อืม ปีที่แล้วเนี่ย อ่า รถยนต์ไฟฟ้าเนี่ย เพนเทรดไปประมาณสักสิบห้าถึงยี่สิบเปอร์เซ็นต์ของยอดขายรถยนต์นั่ง นะครับ แปลว่าตลาดรถที่ชะลอตัวลงพ่อเศรษฐกิจอยู่แล้วเนี่ยนะครับ มันเจอการแข่งขันจากรถยนต์นําเข้าอีก นึกออกไหมครับ งั้นกลายเป็นว่ารถยนต์ที่เราปกติเราใช้ในประเทศเนี่ย เราเคยผลิตแล้วเราใช้กันเอง กําลังโดนแย่งส่วนแบ่งจาก จากรถยนต์นําเข้าที่เป็นเทคโนโลยีใหม่ ซึ่ง ซึ่งเราผลิตเองไม่ได้ใช่ไหมครับ อ่า แล้วนี้เราก็เลยเห็นว่า เอ่อ คนที่เป็น second tier ผู้ผลิต เอ่อ แบรนด์ที่เป็นที่มี market share น้อยน่อยนะครับ อย่างวันนี้ Subaru กับ Suzuki เนี่ย ประกาศปิดโรงงานไปแล้วนะครับ พูดง่ายง่ายคือว่า หรือการอัตราการใช้กําลังการผลิตเขาเนี่ย โรงงานในระดับที่ต่ํามาก ก็พูดง่ายง่ายคือ ไม่คุ้มที่จะเปิดนะครับ ก็เหมือนกับมีกําลังการผลิตผลิตได้ร้อยคันขายได้สิบ สี่สิบคันเนี้ยนะครับ เปิดต่อไปก็ก็มีแต่ขาดทุนเพราะว่าต้องจ้างแรงงานต้องลันเครื่องจักรอะไรต่างต่างเนี้ยนะครับ สู้นําเข้าจากญี่ปุ่นมาขายดีกว่า ซึ่งอันนี้ก็ก็เป็นการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างนะครับ นอกจากเนี้ยเราเห็นในหลายอุตสาหกรรมซึ่งคล้ายคล้ายกันนะครับที่ เราเคยเก่งแต่วันนี้ การเปลี่ยนแปลงต่างต่าง มันทำให้การผลิตมันชะลอตัวลง เรื่องที่สองก็ต้องยอมรับว่าโรงงานที่ปิด ส่วนหนึ่งก็คือ เราไม่มีความสามารถในการแห่งขันแล้ว โดยเฉพาะยิ่งพวกอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเยอะๆ เราเห็นกลุ่มอุตสาหกรรมที่ปิดเยอะๆ ก็คือพวกรองเท้า พวกเครื่องนุ่มหงษ์อะไรต่างๆ ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมในอดีตนะครับ แล้วพอค่าแรงเราแพงขึ้น แล้วเราสู้กับประเทศอื่นๆ ไม่ได้ ก็กลายเป็นเราเสียความสามารถในการแข่งขันไป แล้วกลุ่มที่สามเนี่ยผมคิดว่าเราจะมันเจอการแข่งขันจากสินค้านําเข้า โดยเฉพาะยิ่งจากจีนซึ่ง มีกําลังการผลิตค่อนข้างเยอะ มีสเกลค่อนข้างใหญ่นะครับ แล้วก็สามารถผลิตที่ต้นทุนที่ถูกกว่าของเรานะครับ แล้วยิ่งเขาเจอปัญหาเรื่องของเจียวพอลิติกส์นะครับ ส่งไปอเมริกาส่งไปยุโรปไม่ได้เนี่ย กลายเป็นว่าสินค้าส่งออกจากจีนเนี่ย มาลงแถวอาเซียนเยอะมากนะครับ ตัวอย่างอย่างเช่น พอเศรษฐกิจในประเทศเขาไม่ค่อยดี เหลือเอาเหล็กมาขายเมืองไทย หรือตั้งโรงงานในเมืองไทยด้วยซ้ำเนี่ย โรงงานเหล็กในเมืองไทยนี้ปิดกันเยอะเลยนะครับ หรือว่า เอ่อ วันนี้ กลุ่ม e-commerce เนี่ยก็บ่นเหมือนกันว่าสินค้านำเข้าจากจีนเนี่ยเริ่มมาฝรั่งในตลาด ก็ทําให้ธุรกิจ sme ซึ่งเคยขายของเล็กเล็กน้อยน้อยต้นทุนไม่ เอ่อ ราคาไม่แพง ก็ถูกแข่งจากสินค้าจากจีนเหมือนกัน ก็กระทบต่อโรงงานเหมือนกัน เพื่อน วันนี้ ภาพใหญ่ๆ คือความสามารถในการแข่งขันของเรา เราไม่สามารถที่จะใช้ต้นทุนของเราสู้กับคนอื่นได้ เพราะฉะนั้นภาวะเศรษฐกิจที่มันชะลอตัว ที่มันหดตัว มันก็ฟอร์สทำให้เราเห็นการปิดโรงงาน แล้วก็กระทบต่อการจ้างงาน กระทบต่อแรงงานอะไรต่างๆ ด้วย กลุ่มนี้ไปเชื่อมต่อกับกลุ่มนี้ไหมคะ กลุ่มที่ไปขอกู้แล้วไม่ผ่านนะคะ จริงจริงก็เกี่ยวนะครับ เพราะเราก็เห็นแล้วอุตสาหกรรมที่ปิดโรงงานเนี่ย ก็เป็นอุตสาหกรรมที่ แบงก์ก็ไม่ขยายกับปล่อยกู้และ NPL ก็ขยับขึ้นด้วย อย่างงั้นจริงจริงทำให้แบงก์ยิ่งประมาณตะวังเข้าไปใหญ่เลย อย่างงั้นกระทบทั้งแรงงาน กระทบทั้ง NPL ของแบงก์ด้วย แต่ว่าตรงนี้มันเป็นเรื่องของโครงสร้าง ปรับมันปรับนาน กลุ่มนี้ก็จะเป็นกลุ่มที่อาจจะต้องได้รับผลกระทบไปเรื่อยๆ ที่บอกว่าเราเห็นการปิดโรงงาน การปิดกิจการ มันก็น่าจะยังคงดำเนินต่อไปเรื่อยๆ หรือเปล่า มันอาจจะแก้ไม่ได้ภัยในแค่ปีเดียวหรือสองปี อ๋อใช่ครับ ผมว่านี่คือปัญหาเชิงโครงสร้างที่เรากําลังพูดถึงกันเลยนะครับ แล้วก็ อ่า ถ้าเราดูในแง่ของโครงสร้างเศรษฐกิจไทยนะครับ ในช่วง อ่า สักปีสองปีที่ผ่านมาเนี่ย เราจะเห็นก็คือภาคเอกเนี่ยเหลือตัวเดียวนะครับ คือภาคบริการแล้วก็การท่องเที่ยว ในขณะที่ภาคเกษตรหรือภาคอุตสาหกรรมเนี่ย พดตัว เกือบต่อเนื่องตลอดทั้งปีนะครับ ถ้าเราไปดูภาคอุตสาหกรรมเนี่ยนะครับ ก็คือดัชนีการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมของไทยเนี่ย อดตัวต่อเนื่องมากกว่าหนึ่งปีแล้วนะครับ ก็คือน้ําหนักที่ใหญ่ที่สุดในนั้นเนี่ย ก็คือหนึ่งคือรถยนต์ สองคือฮาร์ดดิสไตร์ รถยนต์ก็เจออย่างที่เมื่อกี้ว่าก็คือเจอการแข่งขันเจอยอดขายที่มันล่วงลงมาต่างๆนะครับ Hard Disk Drive เองก็เจอปัญหาว่า Global Demand มันชะลอเพราะว่าทั้งเรื่องของการผลิตส่วนเกินที่ผลิตไปเยอะก่อนหน้านี้นะครับ แล้วก็เจอเรื่องของการแข่งขันจากเทคโนโลยีอื่นๆอย่าง Solid State หรืออะไรต่างๆนะครับก็มีผลเหมือนกัน ก็ทำให้การขยายตัวเนี่ยมันแผ่วลงไปไม่งั้นกระทบสินค้าอื่นๆแน่ๆนะครับ นั้นกลุ่มพวกเนี่ยนะครับก็ ก็ทําให้แทนที่ เอ่อ เราจะมีเครื่องจักรสามเครื่องจักรใหญ่ใหญ่น่ะ นะครับ กลายเป็นเครื่องจักรวันนี้เหลือเครื่องจักรเดียวอื่น คือภาพบริการ อย่างที่ภาคภาคอ่า อุตสาหกรรมชะลอตัว ภาคเกษตรเองก็ชะลอตัว นะ ส่วนหนึ่งก็คือเราเจอ ปัญหาเรื่องความสามารถในการอังคันเพียงกันว่าเรา ผลิตแล้วสู้คนอื่นเขาไม่ได้ ยิวต่อไล่ลดลงอะไรต่างต่างเนี่ยนะครับ ฉะนั้นประเด็นพวกเนี้ย ประเด็นเชิงโครงสร้างตั้งแต่งนั้นเลย ฉะนั้นตัวเนี้ยโจทย์ของเศรษฐกิจไทยนะครับ ซึ่งถ้าเราดู ปัญหาระยะยาว เนี่ย มันคือเรื่องของจํานวนเสร็จ จํานวนประชากรไว้ทํางาน โจทย์ที่สําคัญคือเราเพิ่ม ยังไง เราทําให้แรงงานเท่าเดิม เนี่ย ผลิตของได้เยอะขึ้นยังไง ใช่ไหมฮะ ซึ่ง ซึ่ง วันนี้เรา พวกนี้ มันเป็นคือเป็นโจทย์ที่สําคัญ แต่ว่ามันกลายเป็นว่าวันนี้ อ่า ภาคการผลิตภาคอุตสาหกรรมแล้วการผลิตภาคการเกษตรเนี่ย มันดัน หดตัวด้วยซ้ํา แทนที่จะขยายตัว นะฮะ แล้วอันนี้มันก็กลายเป็นโจทย์ที่สําคัญว่า เอ๊ะ แล้วเราจะไปเพิ่ม อ่า ประสบความสามารถในกลุ่มนี้ยังไง แล้วก็ ในขณะที่ภาคบริการเนี่ย แรงส่งก็จะน้อยลงอย่างที่ว่า พอจํานวนนักท่องเที่ยวเริ่มกลับไปใกล้กับ พรีโควิดปุ๊บเนี่ย แรงส่งที่เราเคยได้จากฐานที่ต่ำ มันก็จะ มันก็จะหายไปเรื่อยเรื่อย อืมค่ะ จริง ตอนนี้ก็มีเหมือนจะมีข่าวดีมาช่วยนะคะ เรื่องของเงินทุนไหลเข้าตัว FDI ก็เนื่องจากว่ามันมีปัญหาเรื่องความขัดแย้งกัน แล้วก็ตอนนี้เราเห็นข่าว โดยเฉพาะหุ้นในกลุ่มของนิคมอุตสาหกรรมก็ปรับตัวขึ้นเลยนะ นี่จะเป็นประตูเปิดรับมา อันนี้น่าจะเป็นตัวที่เป็นความหวังเราได้ไหมคะ น้องจนา จริงจริงเราเราเราเห็น เอ่อ การ เอฟ ตัวเลข เนี้ย นะครับ ถ้าเราดู เอ่อ เฉพาะขาเข้า เนี้ย ต้องบอกว่าเพิ่มขึ้น อ่า แต่ว่าเราก็เห็นการขาออกของการลงทุนเหมือนกัน เนี้ย โดยเพราะยิ่งการขนเงินกลับ เนี้ย อย่างเช่น เนี้ย อ่า โรงงานญี่ปุ่นปิด เนี้ย เขาก็ขนเงินกลับ เนี้ย เน็ต เน็ต เอฟ ที อาย จริง เอ่อ ไม่ได้ขึ้น นะครับ ในช่วงสองปีที่ผ่านมา ก็คือ ขาเข้า เนี้ย ยังเพิ่มขึ้นอยู่ นะครับ ก็คือเหมือนกับ เปลี่ยนเจ้า นะครับ ญี่ปุ่นออก จีนเข้ามา ไตรวันเข้ามา นะครับ แล้วก็จริงๆ ก็กลายเป็นนิคมงุษากรรมก็ยังได้ Demand อยู่นะครับ เพราะว่าขาเข้าเป็นยังเข้าอยู่ ทั้งนั้นที่ขาออกเยอะกว่านะครับ แต่ว่าทีนี้ก็หวังว่าจะเป็นแรงส่งของการลงทุนภาคเอกชนของไทยเหมือนกันนะครับ อย่างเช่นวันนี้เราเห็นจีนมาลงทุนในกลุ่มพวกอิเล็กทรอนิกส์ พวกโซล่าเซลล์อะไรต่างๆ หรือรถจนไฟฟ้าใช่ไหมครับ ไต้หวันพูดถึง PCB Board อะไรอย่างนี้ แต่ว่าอันหนึ่งที่ที่อาจจะต้องระบัดระวังก็คือ domestic value added ของอุตสาหกรรมที่เพิ่งลงทุนใหม่ใหม่เนี่ย อาจจะน้อยกว่าอุตสาหกรรมเก่าเก่านะครับ ยกตัวอย่างเช่น รถ รถยนต์ไฟฟ้าเนี่ยนะครับ ก็อาจจะบอกว่ามี domestic value added เนี่ยนะครับ น้อยกว่ารถยนต์ ICE ซึ่ง supply chain ส่วนใหญ่เนี่ยอยู่ในประเทศไทยอยู่แล้วนะครับ ที่รถยนต์ไฟฟ้าใหม่ใหม่เนี่ย อาจจะนําเข้าชิ้นส่วนส่วนใหญ่เนี่ยมาแล้วมาประกอบ ใช่ไหมครับ นั้น domestic value added ที่มันเกิดขึ้น อ่า ในประเทศก็อาจจะน้อยกว่า การลงทุนรูปแบบเก่าเหมือนกัน ก็ทําให้ อืม ผลที่เศรษฐกิจภายในประเทศจะได้เนี่ย ก็อาจจะน้อยกว่า อ่า ธุรกิจ อ่า รูปแบบเดิมนะครับ แต่ว่า ถามว่าเราต้องการการลงทุนใหม่ใหม่ พวกนี้ไหม ผมคิดว่ายังไงเราก็ต้องการ แต่ว่าทํายังไงให้มันเกิด อ่า การอย่างรากของ supply chain ให้มันสร้าง มูลค่าเพิ่มภายในประเทศมากกว่า เพิ่มมากขึ้นได้ให้ได้ อาจจะอย่างรากนะคะ แต่ว่าไม่ใช่คนไทยที่อย่างราก อาจจะเป็นคนของเขาที่เข้ามาแล้วอย่างรากในประเทศไทยแทนนะคะ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการอาหารการกินหรืออะไรก็ตาม ขอให้มันเกิดประโยชน์ต่อเศรษฐกิจข้างในประเทศบ้างก็ดีนะครับ เพราะมันกลายเป็นว่าของเก่าที่นั่นอยู่แล้วออกไปของใหม่เข้ามาสร้างมูลค่าเพิ่มไม่เท่าของเดิม แต่ฟังจากที่นกจนนาพูดนี่เหมือนแบบ เรากว้ำหวังน้อยๆ มากเลยนะคะ ในเรื่องของอนาคตแบบไกลๆ อย่างนี้ว่าเศรษฐกิจจะกลับมาโตได้ เท่าเหรอที่เราเคยโต 4-5% อันนี้ยากมากเลยใช่ไหม ยาก ยาก ยากมากอยู่แล้วครับ เพราะจริงจริงเราลอง imagine นะครับว่าเราเป็น เครื่องจัดเครื่องหนึ่งนะครับที่ที่เราใส่วัตถุดิบเข้าไปก็คือใส่แรงงานใส่เงินลงทุนใส่เทคโนโลยีเข้าไปแล้ว พ่น output ก็คือ GDP ออกมานะครับ แล้วก็ในสมัยก่อนเนี่ยนะครับเราก็จะมี contribution จากแรงงานที่เพิ่มขึ้นใช่ไหมครับ เรามี contribution จากการลงทุนใหม่ๆที่เราใส่เข้าไปมาจาก productivity ที่มันเพิ่มขึ้นจากเทคโนโลยีที่มันเพิ่มขึ้นนะครับ แต่ต่อไปเนี่ยนะครับ ประชากรใบทำงานของเราเนี่ย มันได้ผ่านจุดสูงสุดไปแล้ว แล้วมันกําลังลดลงเรื่อยเรื่อย นะครับ นั่นก็เหมือนกับเป็นเครื่องจักรที่ใส่วัตถุดิบลงไปน้อยลงนะครับ ถ้าเราไม่ทําเครื่องจักรเนี้ยให้มัน ขึ้น เนี่ย ไม่มีทางเลยครับ ที่ที่เศรษฐกิจจะโตแบบเก่าได้ ยังไงก็ต้องโตช้าลง แล้วเราเห็นเทรนด์ช่วงที่ผ่านมาชัดเจนนะครับว่า แนวโน้มของเศรษฐกิจไทยเนี่ย ทุกครั้งที่เจอวิกฤตเนี่ย เราไม่เคยกลับไปที่เทรนด์เดิมได้เลย เราโตในเทรนด์ที่ช้าลงมาเรื่อยเรื่อยนะครับ แล้วก็ในอีกสักห้าถึงสิบปีข้างหน้าเนี่ย Negative contribution นะครับ หรือ ไอ้การที่แรงงานลดลง เนี่ย มันจะดึงทำให้เศรษฐกิจโตได้ยากมาก เพราะฉะนั้น อ่า วิธีเดียวที่เราจะ ทําให้เศรษฐกิจโตได้ เนี่ย ก็คือเราต้อง focus เรื่องของ อ่า การลงทุนแล้วก็การ เพิ่ม productivity นะครับ ไม่งั้นเนี่ย ถ้าเรา แบบเดิม เนี่ย ยากมาก เพราะยังไง เศรษฐกิจมันไม่สามารถที่จะ ขยายตัวได้เกิน supply ของมัน นะครับ แล้ว supply ของมันเนี่ย กําลังถูก constraint จาก แรงงานที่ที่กําลังลดลงนะครับ ไม่ใช่โตช้านะครับ ลดลง แล้วอย่า���นี้เมื่อไหร่เราจะปลดหินลงจากบ่าได้ไหมคะ ก็คือนิสินพักครัวเรือนเมื่อไหร่จะเอาหินลงจากบ่าได้คะ วิธีที่แก้ปัญหานิครัวเรือนที่ดีที่สุดคือต้องทำให้ Norminal GDP โตต้องทำให้รายได้ครัวเรือนดีขึ้น ต้องเอาอีรายได้มากกว่ารายจ่าย นี่อาจจะไม่เคยลงเลยก็ได้แต่ขอให้รายได้เพิ่ม ใช่ไหมครับ ซึ่งอันนี้ผมคิดว่ามันเป็นโจทย์ที่ค่อนข้างสำคัญมาก แล้วเราต้องมาช่วยกันแก้ว่า เออ มันมีโจทย์ยังไงที่เราจะสามารถที่จะแก้ได้ จริงๆ มันก็มีโอกาสหลายอย่างนะครับ ที่เราก็น่าจะต้องแบบเปลี่ยนแปลงหลายๆเรื่อง ที่จะปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ อย่างที่ผมเคยบอกว่า แม้กระทั่งญี่ปุ่นเองเนี่ยนะครับ เขาก็เจอปัญหาค่ะๆ อย่างเงี้ย แล้วเขาก็เคยออกมาบอกว่า เอ๊ะ ตรงนี้จะต้องมีนโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจทั้งใหญ่นะครับ ผมว่าเราอาจจะเต็มเวลาที่เราต้องมานั่งคุยกันนะ นโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจของเราเนี่ย คืออะไร อืม แบบ อับเรียน นุมิต ใช่ ครับ ของเราก็ต้องมี ใช่ ครับ มี สาม ดอก ของเรานี่ อาจจะต้องมีคิดอะไรสักอย่างหนึ่ง นะฮะ มั้ยฮะ นกเจ้านะ ปัญหานิดเดียวคือว่า soft power คือภาคบริการเนี่ยนะครับ คือจริงจริง จริงจริงในหลายปีที่ผ่านมาเราเราพัฒนาเศรษฐกิจไปไปค่อนข้างไกลนะครับ เราเราย้ายจากการผลิตภาคเกษตรนะครับ แล้วก็เอาแรงงานออกจากภาคเกษตรไปเข้าภาคอุตสาหกรรม ถ้าเราไปดูโมเดลการพัฒนาเศรษฐกิจที่อื่นเนี่ยนะครับ ส่วนใหญ่ประเทศรวยแล้วเนี่ยนะครับ ภาคการผลิตภาคอุตสาหกรรมไม่เยอะนะครับ มันกลายเป็นภาคบริการ เพราะส่วนใหญ่มันจะกลายเป็น อ่า ขยับมา มาภาคบริการเพิ่มมากขึ้น อย่างไปดู ห้องกง ดู สิงคโปร์ ดู สหรัฐ ดู ญี่ปุ่น ดูอะไร ต่าง เนี้ย ภาคบริการใหญ่มาก นะครับ แต่ส่วนใหญ่ของเขา เนี้ย เป็นภาคบริการที่มี สูง ใช่ไหม ฮะ เช่น เอ่อ ภาคการเงิน นะครับ ภาคผลส่ง หรือภาค เอ่อ การออกแบบ อะไร ต่าง คือไม่ได้ผลิตเอง แต่ว่ามาออกแบบ ซึ่งอาจจะได้ สูงกว่า นะครับ อ่า การท่องเที่ยว จริง ก็เป็นภาคบริการที่ค่อนข้างสำคัญ แต่ปัญหามันคือ Scale ยาก แล้วก็มี Productivity Growth น้อย ครับ นึกออกไหมครับ คือสมมุติว่าถ้าเรา อ่า คิดค้นอะไรชักอย่างในภาคการผลิตได้เนี่ยนะครับ เรา ตั้งโรงงาน เราผลิตอัลพุทธออกมาเนี่ย มันสามารถ อ่า ได้ค่อนข้างเร็ว แล้วก็สร้าง ได้ค่อนข้างสูง แล้วก็ยิ่งเราแข่งกับคนอื่นเยอะเนี่ยนะครับ productivity growth เนี่ย มันอาจจะ อ่า เพิ่มได้สูงขึ้นนะครับ แต่ว่าพอมาเป็นเรื่องของภาคบริการเนี่ย มันสเกลลําบาก คือเราจะ อ่า ขายอะไรมันก็ อ่า อ่า อ่า ติดนะครับ ว่าให้มัน ยังไง อะไรอย่างเงี้ย แต่ว่า มันก็อาจจะเป็นโอกาสอันหนึ่งที่ที่เราจะใช้ในการเพิ่ม value added ของภาคบริการของเรานะครับ แต่ว่าเราต้องตั้งเป้าตรงนั้นเลยว่า เราเราเราไม่สามารถทําแบบเดิมเดิม เราต้องตั้งเป้าเรื่องของ productivity growth นะครับ ค่ะ หานะ ไม่แน่ใจนะครับ เพราะว่าคุยกับภาคเรียลซิกเตอร์เนี่ย เขาบอกว่าตอนนี้เนี่ย สถานการณ์ที่เกิดขึ้นอ่ะ มันเหมือนว่าความเหลมล้ำอ่ะ มันถ่างขึ้นเรื่อยๆ คือรวยก็รวยมากขึ้น แล้วกลายเป็นว่ากลุ่มคนระดับกลางเนี่ย ถูกฉุดลงมา ให้อยู่ในกลุ่มที่แบบว่าจะเป็นเคที่ปักไว้ขาล่าง อันนี้ไม่แน่ใจว่าข้อมูลของนึกตัวนะ พอจะอธิบายตรงนี้ได้ไหมครับว่า มันเป็นข้อที่จริงมากน้อยแค่ไหนครับ เพราะอันนี้คือเป็นเสียงจากผู้ประกอบการที่ เขาทำธุรกิจแล้วเขารู้สึกว่าเขาขายของแล้วเขาเจอกับสภาพอย่างนี้ จริงจริง จริงจริง ผมว่ามันมันกําลังเกิดขึ้นจริงจริงนะครับ แล้วก็ถ้าถ้าถ้าเทียบให้ดูเนี่ยมันก็เหมือนกับอะไรดีครับ มันมันเหมือนพิซซ่าพายครับ สมัยก่อนเนี่ยเราเรามีพิซซ่าอยู่ก้อนหนึ่งแล้วเราก็แบ่งกันกินใช่ไหมครับทุกทุกคน เอ่อ สมัยก่อนเนี่ย ถ้าพิซซ่ามันขยายใหญ่ ก้อนใหญ่ขึ้นเรื่อยเรื่อย นะครับ ถ้าทุกคนเนี่ย ได้ส่วนแบ่งเท่าเดิม ทุกคนแฮปปี้ ถูกไหมครับ เพราะว่า มันใหญ่ขึ้น อย่างงั้น แต่ละชิ้นของทุกคนเนี่ย มันก็ มันก็เพิ่มขึ้น หรือแม้กระทั่ง ถ้าชิ้นส่วนแบ่งของผมจะเล็กลงนิดนึง แต่พายมันยังใหญ่ขึ้นเนี่ย ผมก็ได้กินชิ้นที่มันใหญ่ขึ้นเรื่อยเรื่อย ถูกไหมครับ พอปัญหาวันนี้ เราคือเรากําลังเจอปัญหาว่าพายเนี่ย มันไม่โต หรือเผลอเผลอจะหดเอาด้วยเนี่ยนะครับ มันกลายเป็นว่าชิ้นของผมที่ผมเคยกินเนี่ย ผมจะกินเท่าเดิมหรือกินเล็กลงไปเรื่อยเรื่อย แล้วมันอาจจะไม่จบแค่นั้นเพราะว่าคนที่ได้พายชิ้นใหญ่หรือได้ส่วนแบ่งชิ้นใหญ่ในพายอาจจะรู้สึกว่าตัวเองได้น้อยก็จะมาขอแบ่งอีก มันก็แปลกมาคนที่ เอ่อ รวยกว่าคนที่มีโอกาสมากกว่าเนี่ยนะครับ ก็จะมายึดเอาส่วนแบ่งของคนอื่น เพิ่มขึ้นไปอีก เพราะว่าปัญหาคือพายมันไม่โต คือถ้าเกิดพายมันโตทุกคนก็จะแฮปปี้ถูกไหมฮะ พอพายมันโตช้าลงหรือพายมันหดตัวเนี่ย นะครับ เรานี่ก็จะโดนคนที่มีโอกาสมากกว่าเนี่ย แย่งชิงส่วนแบ่งไปเรื่อยเรื่อยนะครับ นะครับ ฉะนั้นเราก็จะรู้สึกว่าของเราเล็กลงเล็กลง ฉะนั้น เค อย่างที่ว่าเนี่ย ก็จะแย่ลงเรื่อยเรื่อย เพราะว่าคนรวยก็จะ เอ่อ มีโอกาสก็จะยึด ชิงส่วนแบ่งจาก จากภาวะเศรษฐกิจเนี่ย มากขึ้นเรื่อยเรื่อย นะครับ ฉะนั้น วันนี้เลยก็จริงจริงผมว่า เห็น เห็นภาพชัดชัดในหลายหลายจุดเลย อย่างเช่น อ่า ถ้าดูอสังหาเนี่ยก็จะบอกว่า บ้านต่ํากว่าสามล้านขายไม่ออก บางคนก็บอกว่า เอ๊ะ แต่สิบล้านขายดี อ่า สามสิบล้านขาย หายล่องเลย ใช่ไหมฮะ หายล่อง ใช่แล้วก็แล้วก็ภาวะอย่างเงี้ย ผมว่ามันก็มันก็ยิ่งทําให้ความเหลื่อมล้ำเนี่ย ทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นไปอีก นะครับ แล้วก็ยิ่ง อ่า พอรายได้ของคนกลุ่มกลางหรือกลุ่มร่างเนี่ย นะครับ ไม่โต แต่ค่าครองชีพเขาเนี่ย เพิ่มขึ้นตลอดเวลาเนี่ย ปัญหานี่ก็จะตามมา พอปัญหานี่ตามมาเนี่ย คนก็จะวนไม่ออก วนไม่ออก ผมว่า ก็จะมีปัญหาทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นเรื่อยเรื่อย แล้ววันนั้นก็จะกลายเป็นปัญหาทางสังคมเพิ่มขึ้นไปอีก เอาจริงๆแล้วคนกลุ่มกลางนี่ก็เป็นตลาดทุนก็เป็นที่พึ่งเหมือนกันนะ เพราะเอิญตอนนี้ที่พึ่งก็พึ่งไปได้ด้วยนะตลาดทุน ที่พึ่งยังไม่เหมือนกัน ใช่ไหม ยงทั้งเรื่องของรถยนต์แล้วก็เรื่องของบ้าน ใช่ค่ะ ใช่ค่ะ มันมีเครื่องมืออะไรที่แบบว่าพอจะเป็นตัวช่วยทำให้เศรษฐกิจไทยเราดีขึ้นได้ไหมครับน้องเจ้านะ คือ คือ จริงจริง อ่า จริงจริง ��ม ผม อยากจะกลับไปแบบ อาเบโนเมกซ์เหมือนกัน นะครับ เพราะว่า จริงจริง อันนั้นมันเป็น เป็นบทเรียนที่สําหรับทางว่า เขาก็คิดไปแล้ว นะครับ ว่าเขาติด deflation มายี่สิบปี เขาแกะไม่ออก นะครับ นะครับ แม้เขาก็เลยบอกเลยว่า นั้นเขาต้องทํานโนโลยีสั้นกลางยาว ใช่ไหมครับ นโลยี อ่า ระยะสั้นของเขาเนี่ยนะครับ ก็คือการใช้นโลยีการคลังกระตุ้นเศรษฐกิจในระยะสั้น นะครับ ระยะกลางของเขาเนี่ยก็คือบอกว่าใช้นโลยีการเงินที่บอกว่า จะมุ่งเป้าเรื่องของการรักษาเป้าหมายเงินเฟ้อใช่ไหมครับ แล้วก็สุดท้ายก็มาทํา QE ทําอะไรต่างต่างเนี่ยนะครับ แล้วเขายังระยะยาวเนี่ยซึ่งทิ้งไม่ได้เลย ก็คือการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ วันนั้นเนี้ย เขาประกาศทําหลายเรื่องนะครับ อย่างยกตัวอย่างเช่น เอ่อ การให้ผู้หญิงเนี้ยนะครับ เข้ามาสู่ตลาดแรงงานเพิ่มมากขึ้น เพื่อทําให้ของแรงงานมันสูงขึ้น นะครับ การทําให้ธุรกิจต่างต่างเนี้ยนะครับ มีการ เอ่อ ลงทุนเพิ่มมากขึ้นนะครับ ในการเข้า เอ่อ ตอนนั้นนะครับ แล้วทําให้ เอ่อ ภาคอุตสาหกรรมเนี้ย เขามีการแข่งขันเพิ่มมากขึ้น การเพิ่ม ของภาคเกษตร โดยการรวม เอ่อ อ่า ลดข้อจํากัดในการรวมไล่นาอะไรต่างต่างนะครับ อ่า แล้วก็ไป เอ่อ ทำเรื่องของโครงสร้างทางเศรษฐกิจต่างต่างเต้นไปหมดเลย นะครับ ลิสต์ออกมาเนี่ย ยาวมากเลย แต่การเปลี่ยนแปลงแต่ละเรื่องเลยนะครับ ไม่ง่าย เพราะมันไปแตกตรงไหนเนี่ย มันก็กระทบคนนะครับ อาเบะเนี่ยต้อง ยุบสภาสองครั้งนะครับ กว่าจะทําหลายเรื่องนะครับ แต่สุดท้ายเนี่ยก็หลายปีที่ผ่านมา เราเริ่มเห็นเศรษฐกิจญี่ปุ่นเนี่ย เริ่มกระติกกระตุกดีขึ้นนะครับ แล้วก็ตลาดหุ้นก็ดูเหมือนจะดีขึ้น แต่ตอนนี้ก็เริ่มจะเจอปัญหาเนี่ยนะครับ แต่ว่าอย่างน้อยเนี่ยมันก็ทําให้ คนในญี่ปุ่น มันเริ่มมีความหวังเพิ่มมากขึ้นว่า Growth มันเริ่มกลับมาได้ เพราะฉะนั้นผมว่า เนี่ยเมืองไทยก็ต้องกลับมา Step แรกเลยนะครับ ต้องยอมรับกันก่อนว่า ตอนเนี้ยเรามีปัญหา แล้วเป็นปัญหาเชิงโครงสร้างที่ไม่สามารถแก้แบบสั้นๆได้นะครับ เพราะไม่งั้นเนี่ยเราก็จะมองว่า เฮ้ยเดี๋ยวเราจะกลับไปโต 3% 5% กลับไปเองโดยที่เราไม่ต้องแก้ไขอะไรเลย ซึ่งผมว่าวันนี้ Reality มันกําลังโชว์ให้เราเห็นนะครับว่า มันกลับไปอย่างนั้น โดยที่เราไม่แก้ไขเชิงโครงสร้าง ยากมาก เราไม่สามารถที่จะ อะไรกลับขึ้นไปได้ ปัญหาหนึ่ง อย่างเช่นที่เราเห็นในญี่ปุ่น วันนี้ถ้าเราดู นี่สาธารณะเขาสองร้อยหกสิบเปอร์เซ็นต์ของ GDP นะครับ สาเหตุหนึ่งที่ขึ้นไปได้สูงขนาดนั้น ก็คือเขากระตุ้น แล้วกระตุ้นไปยี่สิบปี สุดท้ายมันก็อยู่ที่เดิมจนกระทั่งเขาต้องบอกว่า เฮ้ย นั่นเราต้องมา reform เศรษฐกิจกันแล้ว เมืองไทยเนี่ยผมว่าคล้ายคล้ายกันก็คือ หนี้ครัวเรือนที่เยอะเนี่ย ถ้าเศรษฐกิจไม่โตนะครับ สุดท้ายหนี้รัฐบาลก็จะโตแบบนั้นอ่ะ เพราะว่าสุดท้ายรัฐบาลก็ต้องไป transfer หนี้เอกชนมาเป็นนี่รัฐบาลเพื่อที่จะกระตุ้นเศรษฐกิจ ถ้าเราไม่แก้อะไรเชิงโครงสร้าง สุดท้ายเราก็จะเป็นอย่างนั้น แล้วปัญหาของเรา คือเราไม่ได้มี Credibility แบบญี่ปุ่น ญี่ปุ่นสามารถลังมี่เป็น 100% ของ GDP ได้ โดยที่คนยัง Finance รัฐบาลอยู่ แต่ของเมืองไทยเนี่ย เราไม่ได้มีความสามารถมี Buffer ได้เยอะขนาดนั้น เพราะผมคิดว่าเราต้องยิ่ง ต้องมาหา Solution เงินคุยกันเยอะๆ ว่า เอ๊ะ ถ้าด้วยปัญหาพวกนี้ เราจะแก้ไขปัญหายังไง เพราะปัญหาเชิงโครงสร้างของเราก็เยอะจริงๆ นั่นสิครับ เพราะว่าภาคการคลังตอนนี้ก็ระบัดระวังเรื่องของหนี้สาธารณากันเยอะนะครับ บอกว่า โอ้โห 60 กว่า ประเซ็นต์นี่ก็ถือบอกสูงกันแล้ว แต่ว่ายิปุ่น 200 กว่า แต่หนี้เขาส่วนใหญ่ก็เป็นหนี้ในประเทศใช่ไหม นกจากนั้นก็เลยอาจจะไม่ต้องกังวลใจอะไรบ้าง แต่ว่าถ้าดอกเบี้ยขึ้นเยอะเยอะสองร้อยกว่าเปอร์เซ็นต์ก็เหนื่อยนะฮะ แต่ว่า แต่ดอกเบี้ยเข้าต่ำเลยฮะ ศูนย์เวลา แต่เดี๋ยวมันกําลังจะขึ้นแล้วใช่ไหมครับ แล้วมันก็ ใช่ มันก็จะกลายเป็นระเบิดเวลาที่ที่ค่อนข้างสําคัญ หรือว่าว่าจะออกยังไง แต่ว่าเมืองไทยเราไปถึงตรงนั้นไม่ได้แน่แน่ใช่ไหมครับ แล้ว ใช่ค่ะ ว่าวันนี้ อย่างที่เราเห็น projection ของ ของรัฐบาลน่ะนะครับ อันนี้ก็จะเริ่มบอกถึงนะ แต่ตอนนี้หกสิบต้นต้นนะครับ แต่ภายในอีกสามปีเนี่ยนะครับ ถ้าเราใช้อย่างที่เราบอกว่าเราจะใช้เนี่ย มันจะขึ้นไปพีคเกือบจะเจ็ดสิบแล้วนะครับ แล้วก็แต่ละปีเราก็จะ max out กับ parameter เกือบจะทุกตัวนะครับ เพราะฉะนั้น ประเด็นพวกเนี้ยเราก็ต้อง ต้อง ครับ ว่า เอ่อ เงิน ที่เรา ไป ใช้ เนี่ย มัน มัน จริงจริง มัน มัน มัน มัน มัน มี ผล ประโยชน์ ที่ ดี ต่อ ต่อ เศรษฐกิจ จริงจริง มัน คุ้มค่า ที่สุด จริงจริง นะครับ เพราะว่า ทรัพยากร เราก็จะมี จํากัด มากขึ้น เรื่อยเรื่อย เราก็จะไป อะไรต่างต่าง เพิ่ม มากขึ้น ตัวหนึ่ง ที่ ที่ ค่อนข้าง น่า อวก เลย นะครับ ก็คือ สัดส่วน รายได้ ภาษี ต่อ GDP ของ ไทย คือ รายได้ที่เก็บได้ของรัฐบาลก็น้อยลง ทุกปีที่รัฐบาลใหญ่ขึ้น แล้วโครงสร้างประชากรกำลังจะบอกว่า คนเสียภาษีจะน้อยลง ที่คนรอรับผลประโยชน์ เรื่องของเกษียณอายุ เรื่องของดูแลรักษาพยาบาล แล้วการใช้จ่ายภาครัฐจะเพิ่มขึ้น เพราะฉะนั้น เราต้อง Reform หลายด้าน โดยเฉพาะยิ่ง Reform เรื่องของนโยบายภาษี นโยบายรายได้ของรัฐบาลต้องทำแน่นอน ซึ่งเราก็ต้องขาดดุลก็ประมาทไปเรื่อย ใช่ไหมคะ ใช่ครับ ยกเว้นเราจะลดขนาดของรัฐหรือว่าหาวิธีเพิ่มรายได้ ที่ไม่ต้องขึ้นตัดตราภาษี ซึ่งที่วันนี้ผมว่ายังไงก็ต้องคิด ยังไงก็ต้องทํา เพราะว่า ค่าใช้จ่ายประจําของภาครัฐก็จะเป็นค่าราชการ ใช่ครับ ก็ต้องก็ต้องหาวิธีว่า เอ่อ ทํายังไงให้รายได้เพิ่ม แล้วก็รายจ่ายรถนะครับ เพราะไม่งั้นเราก็จะเห็นที่ว่า คือเราต้องขาดรุนการพังไปเรื่อยเรื่อย เอา AI เข้ามาช่วยดีไหมคะ น้องเจ้าน้า จริงๆ อันนั้นก็เป็นอันหนึ่งนะครับ ผมคิดว่าเศรษฐกิจไทยถ้าจะทางออก อย่างที่ว่าคือต้องเอาเทคโนโลยีมาช่วย มีการลงทุนเพิ่มมากขึ้น แล้วก็ทำให้ Productivity มันสูงขึ้น ก็คือแรงงาน 1 คนผลิตอะไรได้เยอะขึ้น งั้น AI ก็อาจจะเป็นคำตอบอันหนึ่งในง่าของการช่วยเลย เพราะยิ่งภาครัฐเนี่ย ผมว่าอาจจะมี Low Hanging Fruit ค่อนข้างเยอะ ถ้าเอาระบบเอาเทคโนโลยีมาช่วยเนี่ย ก็อาจจะเป็นทางออกทางหนึ่งนะครับ สิ่งที่มันเป็นความเสี่ยงมากที่สุดสำหรับปีนี้ ถ้าเป็นต่างประเทศกับในประเทศเนี่ย เราห่วงอะไรมากที่สุดฮะ อาทิตย์เป็นความเสี่ยงเนี่ย ถ้าเกิดนอกประเทศเนี้ย ถ้าถ้าต่างประเทศเนี้ย ผมจะ เอ่อ ห่วงสองเรื่องนะครับ เรื่องแรกคือเรื่องของการบวงระหว่างประเทศ โดยรวมไปถึง เอ่อ เรื่องของการเลือกตั้งต่างต่างนะครับ เราเห็นเลยว่า เอ่อ ตอนเนี้ย อย่างในยุโรปที่การเลือกตั้ง รัฐสภา ยุโรปที่ผ่านไปเนี้ย ก็เริ่มจะเห็นว่า เอ่อ พักการเมืองฝั่งขวานะครับ ฝั่ง เอ่อ เอ่อ ต่าง ด้าน เอ่อ สุดโต เนี้ยนะครับ มันเริ่มได้เกณฑ์มากขึ้นนะครับ ซึ่งความน่ากังวลก็คือ อ่า อาจจะมีการเรื่องของการขัดรุ้นการคังเพิ่มมากขึ้นเลย นโยบายอะไรต่างๆ มันจะสวิตช์ออกมา แล้วก็สิ่งที่รอดูก็คือการเลือกตั้ง อ่า สหรัฐใช่ไหมครับ ซึ่งหลายคนพูดว่า อาจจะกลับมา ถ้า อาจจะกลับมา สิ่งที่ต้องตามดูก็คือ แล้วนโยบายเขาเนี่ยจะมีผลยังไงกับ อ่า ประเทศเกิดใหม่ โดยเฉพาะยิ่งจีนแล้วก็เอเชีย ใช่ไหม เพราะเขาพูดถึง อ่า นโยบายสงครามการค้าอะไรต่างๆ ก็กระทบไทยแน่นอน งั้นเนี่ย เป็น uncertainty ที่เราไม่รู้จริงจริงว่า ว่า ว่ามันจะเกิดอะไรขึ้นนะครับ ส่วนอีกประเด็นหนึ่งก็คือเรื่องของเศรษฐกิจสหรัฐนี่แหละครับ เรื่องของอัตราดอกเบี้ย เรื่องของภาวะเศรษฐกิจต่างต่าง ที่เราก็นึกว่าดอกเบี้ยจะลงแล้ว ก็ยังลงไม่ได้ ดอกเบี้ยสูงกว่าที่เราคาดว่ามันจะเป็น คําถามก็คือ เอ๊ะ แล้วดอกเบี้ยที่สูงเนี่ย มันจะมีผลกระทบอย่างไร ต่อทั้งเศรษฐกิจสหรัฐแล้วก็เศรษฐกิจอื่นอื่น นะครับ ซึ่ง ซึ่งอันนี้ก็ยังเป็น อ่า บิ๊กอันนโนนกว่าสมควร ว่าถ้า อ่า เงินเฟ้อไม่ลง นะครับ โอกาสที่เฟสจะลดดอกเบี้ยได้เนี่ย ก็จะ เอ่อ เอ่อ ถูก ออกไปเรื่อยเรื่อย ตอนนี้ตอนต้นปีนะฮะ จํา จําได้ไหมฮะ คนพูดถึงว่าดอกเบี้ยปีนี้สาหรัฐจะลดหกครั้งนะฮะ อืม ตอนนี้ สเกลดาวน์ สเกลดาวน์ อันนี้เหลือหนึ่งครั้งแล้วนะฮะ ถ้าเกิดเงินเฟิร์ฟลงยากอีกเรื่อยเรื่อย นะครับ หนึ่งครั้งนั้นก็ไม่มา จะเกิดอะไรขึ้น แล้วถ้าไปปีหน้า คอร์สฟันที่มันสเตสูงอย่างเงี้ย มันจะกระทบต่อเศรษฐกิจโลกอย่างไร ซึ่งตอนเนี้ยเศรษฐกิจสหรัฐแข็งแกร่งกว่าที่ที่หลายหลายคนคาดมาก แต่ถ้ามันเกิดแผ่วลงมาเนี้ย แล้วด้วยราคาสินค้าที่มันแพงขึ้นไปเนี้ย มันก็จะมีกลละรกต่อเศรษฐกิจโลกได้เหมือนกัน ในเมืองไทยนะครับผมจริงจริง ระยะสั้นเนี่ย ผมห่วงสอง สอง สองเรื่องจริงจริงไม่ใช่ระยะสั้น แต่ว่าประเด็นของเมืองไทยเนี่ย ก็คือห่วงสองเรื่องเมื่อกี้ที่บอก ก็คือเรื่องของ อ่า ภาคธนาคาร การการการปล่อยสินเชื่อของภาคธนาคาร ที่อาจจะทําให้การ การลงทุนภายในประเทศเนี่ย อ่า ได้รับผลกระทบเพราะว่าธนาคารเอง ก็ไม่เคยมั่นใจกับภาวะเศรษฐกิจ มันก็จะเป็นวนหลุมว่า นี่ หมายถึงทําให้ อ่า เศรษฐกิจเนี่ย นะครับ อ่า อ่า หดตัวหรือว่าได้รับ Under Pressure เนี่ย มากกว่าที่ควรจะเป็นนะครับ โดยเพราะยิ่งถ้าไอ้แรงส่งจาก Physical เนี่ยมันหายไปนะครับ กับเรื่องที่สองที่ห่วงมากมากเลยก็คือเรื่องของความสามารถในการการของประเทศไทย ซึ่ง อ่า อย่างที่ อย่างที่เมื่อกี้คุยนะครับ เราเริ่มเห็นสัญญาณอย่างเช่น การปิดโรงงาน การที่การส่งออกของไทยโตช้าลงนะครับ วันนี้เราเกินดุลการค้าเนี่ยน้อยลงนะครับ ถามก่อนเกิดโควิด เนี่ย เราเคยเกินดุลบัญชีเดินสะพัดนะครับ รวมกันท่องเที่ยวด้วยเนี่ยนะครับ ประมาณสักหกเปอร์เซ็นต์ถึงแปดเปอร์เซ็นต์ของทุกปีนะครับ วันนี้เราอาจจะคาดว่า รุ่นบัญชีเดินสะพัดเรานี่รวมท่องเที่ยวแล้วนะครับ อาจจะเกินดุลอยู่แค่หนึ่งถึงสองเปอร์เซ็นต์ของจีดีพี ซึ่งมันปรับลดลงมาเยอะมากนะครับ ซึ่งมันก็สะท้อนให้เห็นว่า จากเดิมที่เราเคยมีเงินตราต่างประเทศเข้ามา เพราะมีคนซื้อของและบริการของเรา มากกว่าเราไปซื้อของเขาเนี่ย วันนี้มันกําลังเริ่มกลับกันหรือเปล่า นะเพราะว่าทั้งเรา นําเข้าพลังงานเยอะขึ้นใช่ไหมฮะ เรานําเข้าบริการต่างต่างมากขึ้นนะครับ เราเริ่มส่งออกสินค้า เน็ตเบสิส เนี่ย น้อยลง เพราะ value added ที่มันเกิดในประเทศ เนี่ย มันมีน้อยลง ถ้ามันเป็นอย่างงี้ไปเรื่อยเรื่อยในระยะยาว เนี่ย ผมว่าคิดว่าค่อนข้างน่าเป็นห่วง เพราะว่าคําถามที่วันนี้ต้องตั้งกันเยอะเยอะเลย อะไรจะเป็น engine of growth ของเศรษฐกิจไทย นะฮะ แล้ววันนี้จะ วันนี้อาจจะไม่ต้องมองฝั่ง demand แล้วนะฮะ ฝั่ง demand ดูไม่ค่อยออกแล้ว ต้องมาดูฝั่ง supply แล้ว ว่าระหว่าง เกษตรนะครับ อุตสาหกรรม แล้วภาคบริการเนี่ย อะไรจะมาเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไปข้างหน้าในในระยะเวลาข้างหน้าในวันที่ เอ่อ ความสามารถแข่งขันกระทบกับภาคเกษตรแล้วถ้าอุตสาหกรรมหนักหนักเลยวันนี้ เราจะกลับมาได้ยังไงเพื่อที่จะทําให้เศรษฐกิจไทยจะมีเครื่องจักรที่จะดัง เศรษฐกิจเราเราไปข้างหน้าครับ อันเนี้ยก็จะเป็นเรื่องเรื่องที่ห่วงที่สุดนะครับ ก็เศรษฐกบริการเป็นภาคที่อาจจะไม่ใหญ่เท่ากับภาคอุตสาหกรรมนะคะ แต่เพราะงั้นว่ามันเป็นภาคที่แบบเข้าไปใต้ฐานของเราอ่ะ ฐานรากเราอ่ะ แต่ว่าภาคอุตสาหกรรมเนี่ยอาจจะเป็นภาคที่นำเงินเข้ามา แสดงว่าภาคอุตสาหกรรมเนี่ยความสามารถในการแข่งขันเนี่ยมันน่าห่วงในระยะยาวใช่มั้ยฮะ เพราะว่าถ้าเราแบบ จีนยังสามารถผลิตสินค้าได้ในราคาต่ำแล้วก็ เข้ามาดำในขณะที่เราผลิตสินค้าไป แล้วก็ไม่ตรงกับที่ตลาดต้องการ หรือว่าไม่มีตัว Value นี่ ก็อาจจะทำให้เศรษฐกิจเราระยะยาวก็ไม่โตเหมือนกัน ในยาวของด้านต่างๆ นะ ผมกำลังบอกแบบนั้น ด้วยครับ แล้วก็จริงจริงกลับกันนะครับ ภาคบริการนี้เป็นภาคที่ใหญ่ที่สุดของเศรษฐกิจไทยนะครับ วันนี้ห้าสิบเปอร์เซ็นต์ของ GDP เป็นภาคบริการ แต่ว่าส่วนใหญ่ของภาคบริการเนี่ย มันเป็น อ่า อาจจะบอกว่า Value Added ไม่ได้สูงนะครับ เช่น อ่า การ อ่า ซื้อมาขายไป โฮเซลล์ นะครับ การท่องเที่ยวอะไรต่างต่าง ซึ่ง ซึ่งจริงจริงสิ่งที่เราอยากได้คือ อยากให้ภาคบริการเนี่ย เป็น Service นะครับ หรือแม้กระทั่งภาคเกษตรเองเนี่ย เราทําไงให้เราผลิตสินค้า เท่าเดิมนะครับ หรือว่าลงแรงไปเท่าเดิม ผลิตสินค้าได้เพิ่มขึ้น หรือผลิตสินค้าเท่าเดิม แล้วเราได้มันสูงขึ้นใช่ไหม แทนที่เราจะส่งข้าวออกไปเป็นข้าวเนี่ย นะครับ เราส่งออกข้าวแล้วไปแปรรูป แล้วไปขายให้มันได้รายได้เยอะกว่า ทํายังไงใช่ไหมค่ะ หรือว่าหลายหลายคนบอกว่าวันนี้เรา ต่างประเทศพูดถึง โปรตีนที่มาจากพืชแทนที่จะมาจากสัตว์ นะครับ เรามีรออินกรีดียันต์เยอะแยะเลย เราจะทําให้มันเกิด โปรดักติวิตตี้ได้ยังไงใช่ไหมครับ หรือว่า เราทํายังไงให้เกษตรกร ผลิตภาคเกษตร แล้วมี value added สูงขึ้น มีค่าจ้างแรงงานที่สูงขึ้น แล้วไม่ต้องย้ายออกแค่ภาคเกษตรก็ได้ เพราะว่านี้แรงงานอยู่ในภาคเกษตรเยอะมาก ใช่ไหมคะ แต่ว่าเป็นกลุ่มที่มี Productivity ต่ำที่สุด เราจะเพิ่ม Productivity ของคนกลุ่มนี้ อย่างไร ภาคอุตสาหกรรม ผมคิดว่า มันมีความท้าทาย แต่มันมีความจำเป็นที่เราจะต้องไปหาอุตสาหกรรมใหม่ มาทดแทนอุตสาหกรรมเดิม ซึ่ง ลงไปเรื่อยเรื่อย เนี่ย เพราะจริงจริง ถ้าเรามองย้อนกลับไปเนี่ย จริงจริงเรามีหลายอุตสาหกรรมที่ ที่มันเคลื่อนที่ไปเรื่อยเรื่อยใช่ไหม สมัยก่อนเราอาจจะพูดถึง เอาทอผ้า ย้อมผ้าอะไรต่างต่าง วันนี้ไม่มีแล้ว ถูกไหมฮะ เราขยับอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นเรื่อยเรื่อย เนี่ย วันนี้มันก็เหมือนกันว่าเรากําลังมีหลายอุตสาหกรรมที่มันดูเหมือนจะ แต่ปัญหาคือเรา เติมอุตสาหกรรมใหม่ขึ้นมาเนี่ย ไม่ทัน นะครับ ซึ่งวันนี้ก็จะเป็นโจทย์ที่ต่ําทันว่าอะไรจะเป็นอุตสาหกรรมใหม่ที่ ที่จะเข้ามาทดแทนอุตสาหกรรมที่ ที่กําลัง เอ่อ เอ่อ เป็น ของอุตสาหกรรมไทยอะครับ ซึ่งไม่มีก็ไม่ได้ เพราะว่าอย่างที่บอกคือ productivity growth เนี่ยมันมาจากภาคอุตสาหกรรมเยอะมาก ตรงนั้น แต่ว่าทุกทุกภาคครับ ก็ต้องเป็นโจทย์เดียวกันว่า เพิ่ม value added ยังไง เพิ่ม productivity ยังไง อืม ผมก็จะฟังดูแล้ว นี่ภาคธุรกิจ ถ้าเขาไม่สามารถขยายรายได้ แล้วก็ทํากําลังได้เพิ่มขึ้น สิ่งที่ต้องทําก็คือ ลดค่าใช้จ่ายเนี้ย พอลดค่าใช้จ่ายก็เศรษฐกิจก็หดไปอีก ใช่เลยครับ หรือไม่ก็ภาคธุรกิจอาจจะไปลงทุนนอกประเทศ ใช่ไหม เราก็เริ่มเห็นแล้วว่า อุตสาหกรรม อ่า ภาคธุรกิจหลายแห่งนี้ ก็รู้สึกว่าตัวเองใหญ่กว่าตลาดไทยแล้ว นะครับ แล้วก็เริ่มไปเลือกที่จะไปลงทุนต่างประเทศ พอยิ่งการลงทุนเกิดขึ้นในต่างประเทศ เนี่ย มันกลายเป็นว่าเศรษฐกิจไทยก็จะโตช้าลง เพราะไม่มีใครมาลงทุน เหมือนบ้านนะครับ ไม่มีใครมาซ่อมมาสร้างนะครับ ปล่อยให้บ้าน เอ่อ เอ่อ แย่ลงแล้วไปอยู่บ้านหลังใหม่ ซึ่งอันนี้ก็ ก็อาจจะไม่ใช่สิ่งที่ สิ่งที่ อ่า เราอยากจะเห็น โอ้โห ฟังแล้วดูเศร้าใจจังเลยนะครับ ในขณะที่ต่างชาติเข้ามาอยู่ในประเทศไทยกันเยอะมากเลยครับ น้องเจ้านัก ใช่ แต่อันนั้นอาจจะเป็นอีกหนึ่งทางออกนะครับ หนึ่งทางออกว่า นโยบายสำคัญที่เราต้องพูดคุยกันเยอะๆ คือเรื่องของ immigration policy นะครับ เพราะเราเจอเรื่องของโครตสร้างประชากรอยู่แล้ว เราจะดึงดูดแรงงานที่มีทักษะเข้ามาในเมืองไทยแล้วให้เขาเพิ่ม productivity ในเมืองไทยอย่างไร หรือจริงๆ เราคิดเล่นๆ นะครับ จริงๆ มันก็มีหลายโอกาสนะครับ อย่างนี้ พม่าใช่ไหมครับ เจอปัญหาเต็มไปหมดเลย แล้ววันนี้คนที่ย้าย คนที่หนีมาในเมืองไทยเนี่ย ไม่ใช่แค่คนที่ข้ามแดนพรมแดนตามธรรมชาติ หรือว่า Unskilled Labour นะครับ ผมเชื่อว่ามี Skilled Labour จำนวนมากเลย ที่ออกมาจากพม่า เพราะหนีภัยสงครามมาอยู่ในเมืองไทยเนี่ย จริงๆ เรามีโอกาสที่จะ absorb คนกลุ่มเนี่ยนะครับ จริงๆ ถ้าเรามีนโยบาย immigration ที่อาจจะ selective มากขึ้น เราคัดเลือกคนที่ Qualify ถ้าเกิดเขามาหางานในเมืองไทยได้ แล้วเขาสามารถจ่ายภาษีได้เท่านี้ เราก็ให้เขา extend กันอยู่ต่อ เพื่อที่จะให้เขามา Contribute ให้กับเศรษฐกิจไทย ซึ่งเรากำลังเจอปัญหาอยู่ อันนี้ก็อาจจะเป็นโอกาสได้เหมือนกัน ว่าเราขาดแคลนแรงงาน เราขาดแคลน Skill Level เราทำยังไง ให้เราสามารถดึงดูดคนกลุ่มนี้เข้ามาได้ ทำโรงเรียนอนาชาติหรือแม้กระต่อ ตอนนี้สาขาของโรงเรียนอนาชาติเกิดเยอะมาก เกิดเยอะนี่เขาบอกว่ามีทั้งคนจีนที่เข้ามาเรียน คนพม่าเข้ามาเรียน คนลาวเข้ามาเรียน หรือแม้กระทั่งไต้หวันก็ย้ายอบพยุคครอบครัวมา ซื้อบุ้งซื้อบ้านกันแบบที่จ่ายเงินสดเลยนะฮะ หรือแท่งคนไทยเองนะ หรือแท่งคนไทยเอง ใช่ ก็คนที่มีฐานะก็ขยับขึ้นไปก็ทำให้ คือมันก็มีบางธุรกิจนะคะที่ดีในขณะที่ภาวะเศรษฐกิจอื่นๆ ซ่อบๆ อย่างโรงเรียนก็ต้องจ่ายเงินก่อนนะคะ น้องเจ้าน้า กว่าจะได้เรียนต้องจ่ายเงินก่อนก็ถือเงินสดสภาพคล่องเอาไว้ แต่สำหรับใครที่ลงทุนในตลาดหู้นี้ น้องเจ้าน้ามีคำแนะนำไหมคะ คือผมว่าต้องต้อง นะครับว่า อ่า ตลาดหุ้นเนี่ยมันตัวที่ ตลาดหุ้นได้ดีที่สุดก็คือกําไรถูกไหมครับ ถ้าเกิดเรายังมองว่า เอ่อ ถ้าเราถ้าเรามองว่ากําไรของตลาดหุ้นเนี่ยมัน bottom แล้วมันต่ํากว่านี้ไม่ได้นะครับ อันนี้อาจจะเป็นโอกาส นะครับ แต่ว่าวันนี้ผมคิดว่าเรายังโดนแรงกดดันอยู่พอสมควร นะครับ อย่างไม่บอสเท่าไหร่ ก็ผมคิดว่าน่าจะใกล้แล้วนะครับ แต่ว่าถ้าเกิดไม่อยากเบสเนี่ย ผมว่าวันนี้โอกาสในการลงทุนเนี่ย มันมีกว้างมากกว่าตลาดกุ้นไทยด้วยใช่ไหมฮะ มันก็จริงจริงเราจะศึกษาแล้วกระจายการลงทุนไปต่างประเทศเนี่ย ผมว่ามันก็จําเป็น อ่า ค่อนข้างดีนะครับว่า อ่า โอเคแล้วก็ ถ้าเราจะลงทุนมันก็ไม่จําเป็นต้องอยู่ในเมืองไทยทั้งหมดถูกไหมฮะ ถ้าเกิดเรายังไม่เคยแน่ใจว่า เฮ้ย ตกลง มันจะกลับมาโตเมื่อไหร่ เราก็ อ่า ไปไปไปดูการลงทุนต่างประเทศก็ได้ ซึ่งที่ผ่านมาก็ แล้วก็ innovation productivity อะไรต่างต่างเนี้ย มันเกิดในตลาดต่างประเทศเยอะกว่าตลาดไทยเยอะมาก แล้วผมเอง เราคุยกับวินาวหลายหลายปีแล้วผมว่าก็ยังบอกแน่ว่าการกระจายการลงทุนเนี้ยผมว่าก็เป็น เป็นเป็นเป็นคําแนะนําในการลงทุนที่ดีที่สุดแล้วครับว่า เอ่อ ถ้าเราไม่ได้มั่นใจเต็มที่เนี้ยนะครับ เราก็กระจายการลงทุนไป ที่อื่นบ้างนะครับ แล้วที่ผ่านมามันก็เห็นเหมือนกันว่า การกระจาย แล้วการลงทุนไปเอา Growth ไปเอาโอกาสที่อื่นเนี่ยมันก็มันก็ Pay Off เหมือนกันแล้วเราก็ต้องศึกษาเหมือนกันว่า เอ๊ะโอกาสในการลงทุนมันคืออะไร วันนี้ฟังดร.นาท แล้วก็สิ่งที่ห่วงก็คือ ห่วงทั้งระยะสั้น ระยะกลาง แล้วก็ไปถึงระยะยาวเลยนะ โดยเฉพาะโครงสร้างของประชากร รวมถึงโครงสร้างของภาคการผลิตสินค้าเราที่ส่งออกไปด้วยนะคะ แม้กระทั่งเรื่องของบริการการท่องเที่ยว ก็เราก็ไม่แน่ใจ เพราะว่าประเทศอื่นเขาก็หวังที่จะดึงเงินเข้าไปท่องเที่ยวเขาเหมือนกันนะ ไม่เพียงแต่ว่าเราจะดึง แต่คนอื่นเขาก็ดึงไปด้วยเหมือนกันนะคะ เตรียมเนื้อจึงตัวนะ สิ่งที่ทําได้ดีที่สุดก็คือ เรื่องของการกระจายการลงทุนแล้วก็เก็บเงินสดเอาไว้นะคะ ในส่วนหนึ่งรอสําหรับเวลาที่ตลาดหุ้นเนี่ยลงเยอะเยอะ อย่างที่ น้าบอกนะฮะ ถ้าหุ้นลงเยอะเยอะก็อาจจะเข้าไปพิจารณาในการเลือกลงทุนได้ หรือแม้กระทั่งการออกไปลงทุนถัดประเทศเราก็ต้องรอในจังหวะโดยเมื่อตลาดหุ้นสาระที่ขึ้นไปค่อนข้างเยอะ ก็ต้องรอในภาวะที่เขาตกลงมา เราถึงจะสามารถสร้างได้ค่อนข้างเยอะนะคะ วันนี้ขอบคุณมากนะคะ ท่านตัวนาคา ครับ ขอบคุณครับ ค่ะ สวัสดีค่ะ