การตรวจร่างกาย H2O และการประเมินภาวะสุขภาพ วัตถุประสงค์ การตรวจร่างกายเป็นการตรวจพวกคนหารกหรือความผิดปกติตั้งแต่ระยะเริ่มแรก ซึ่งสามารถป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน และลดความรุนแรงของโรคที่อาจเกิดขึ้นในบางโรคได้ ดังนั้นการตรวจร่างกายควรทำต่อเนื่องและเป็นประจำ หลักการตรวจร่างกายต้องใช้ทักษะการดู การเคาะ การคลำ และการฟัง อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจร่างกาย 1. เครื่องวัดความดันโลหิต 2. หูฟังสเต็กโตสโคป 3. ไฟฉายแสงสีนวล 4. ปลอดวัดอุณหภูมิ 5. ไม้กดลิ้น 6. ไม้เคราะห์รีเฟค 7. ซ่อมเสียง 8. เข็มปลายแหลมที่ไม่คม หรือไม้จิ้มฟันที่ปลายแหลม 9. กระดาษเช็ดมือ หรือซ้ำลี การตรวจลักษณะทั่วไป ผู้ป่วยหญิง อายุอยู่ในช่วงวัยรุ่น มีรูปร่างส่งส่วน สีผิวขาว สีหน้ายิ้มแย้ม มีความรู้สึกตัวดี แขนขาเคลื่อนไหวได้ตามปกติ ท่าทางการเดิน การยืน และการนั่งเป็นปกติดี การวัดสัญญาณชีพ 1. การวัดอุณหภูมิกาย ด้วยสะบัดปรอดให้ต่ำกว่า 35 องศาเซลเซียส สอดไว้กลางรักเลส และนาน 3-5 นาที ค่าปกติอยู่ที่ 36.5-37.4 องศาเซลเซียส 2. ทำชี้ประจอน โดยใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางสัมผัสเบาๆที่ราเคลอาเทรี บริเวณข้อมือนาน 1 นาที ค่าปกติชี้ประจอน 60-100 ครั้งต่อนาที 3. ประเมินการหายใจ โดยการเคลื่อนไหวของซี่โครงของผู้ป่วยในภาวะปกติ หายใจปกติอยู่ที่ 14-20 ครั้งต่อนาที 4. การวัดความดันโลหิต จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่ง วางแขนราบกับโต๊ะ พันคับรอบต้นแขนให้อยู่เหนือข้อพับแขนห่าง 1 นิ้ว พันให้เรียบและแน่นพอดี ใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางคลำหาชิบประจอนที่ Brachial Artery และใช้หูฟังฟังชิบประจอน ขณะบีบลูกสูบ เสียงตึกแรกคือเสียง Systolic เสียงตึกสุดท้ายคือ คือเสียงไดแอสโทรลิก ค่าปกติอยู่ที่เก้าสิบหกสิบถึงร้อยยี่สิบแปดสิบมิลลิเมตรประหลอด การตรวจผิวหนังและเล็บ ผู้ป่วยมีสีผิวสม่ำเสมอทั่วร่างกาย ผิวหนังเรียบ เกลี้ยง ไม่แห้ง ไม่หยาบทั่วร่างกาย ไม่พบจุดเลือดออก ไม่พบรอยโรค ไม่มีการบวมของ ผิวหนัง ความชื้นของผิวหนังปกติดี มีความตึงตัวของผิวหนัง มีการคลายตัวของผิวหนังเร็วดี ผู้ป่วยมีเล็บสั้น แข็งใส เป็นสีชมพู เล็บไม่มีอาการบวมแดง ตรวจ Capillary Filling Test แล้วสีกลับขึ้นมาอย่างรวดเร็ว น้อยกว่า 2 วินาที การตรวจศีรษะ ผู้ป่วยมีศีรษะสมมาตรกัน จากนั้นให้คลำศีรษะเป็นวงกลม คลำจากหน้าผากไปทายถอย ในภาวะปกติจะไม่พบการวมตงต่อมน้ำเหลือง และไม่มีอาการเจ็บบริเวณที่โกด จากนั้นดูการกระจายของเส้นผม ไม่พบภาวะผมขาดุดร่วง การตรวจใบหน้า ผู้ป่วยมีใบหน้าสมมาตรกันทั้ง 2 ข้าง ไม่มีอาการเบี้ยว รอยโรค หรือแผล ตรวจลิ้มโนด Oxcipital Limp Node Submandibular Limp Node Pre Post Oricular Oxcipital Cervical Anterior and Posterior Triangles Supracavicular Auxiliary Pipitogrea Limp Node ภาวะปกติจะไม่พบต่อมน้ำเหลืองบวมตก บริเวณดังกล่าว การตรวจกล้ามเนื้อ และการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อใบหน้า หนึ่ง ให้ผู้ป่วยยักษ์คิ้ว มีรอยย่นบนหน้าผักเข้ากันทั้งสองข้าง สอง ให้ผู้ป่วยหลับตาปี ผู้ป่วยหลับตาปิดสนิท 3. ให้ผู้ป่วยทำปากจู ผู้ป่วยสามารถทำได้ปกติ 4. ให้ผู้ป่วยยิงฟัน ผู้ป่วยสามารถทำได้ปกติ มุมปากทั้งสองข้างไม่ตก มีร่องแก้มหลึกเท่ากัน 5. ให้ผู้ป่วยทำปากจู ผู้ป่วยสามารถทำได้ปกติ 4. ให้ผู้ป่วยยิงฟัน ผู้ป่วยสามารถทำได้ปกติ 5. ให้ผู้ป่วยยิงฟัน ผู้ป่วยสามารถทำได้ปกติ ให้ผู้ป่วยกัดฟัน คลำให้พบรอยบุ่มที่เมนติเบิ้ล ผู้ป่วยสามารถกัดฟันได้ แสดงว่าเส้นประสาทคู่ที่ 5 และ 7 ปกติ จากนั้นให้ผู้ป่วยหันหน้าต้านแรงของผู้ตรวจ แสดงว่ากล้ามเนื้อ สเตอร์โนคลาเดโอมัสตอย ของผู้ป่วยปกติ และให้ผู้ป่วยเหงียนหน้าไปข้างหลังให้มากที่สุด เพื่อตรวจกล้ามเนื้อ Trapezius การตรวจตา ตาของผู้ป่วยจะอยู่ในระดับเดียวกันทั้งสองข้าง ไม่มีอาการตาโปร่น หนังตาไม่ตก ตาใส จากนั้นให้กรอกตาดูด้านล่างเพื่อดูตาขาว จะไม่มีอาการตาแดงหรือเหลือง แล้วดึงหนังตาล่างลง โดยให้ผู้ป่วยกรอกตาขึ้นข้างบน เพื่อดูเยอะบุตรตา จะไม่พบอาการบวมแดง หรือตุ่มที่ผิดปกติใดๆ และตรวจรีเฟคของตาโดยให้ผู้ป่วยมองตรง และส่องไฟเข้าทางด้านข้าง และรูม่านตาจะหดเท่ากันทั้งสองข้าง ค่า Direct Light Reflex มีค่าปกติของรูม่านตาประมาณ 3-5 บาท จากนั้นให้ผู้ป่วยอ่านหนังสือห่างจากสายตา 14 นิ้ว ถ้าผู้ป่วยสามารถอ่านได้ชัดเจน แสดงว่าเส้นประสาทผู้ที่ 2 ทำงานได้ปกติ การตรวจการเคลื่อนไหวของลูกตาทั้ง 8 ทิศ ให้ผู้ป่วยอยู่ในระดับสายตามองตรงที่ผู้ตรวจ ไม่เคลื่อนไหวศีรษะ แต่ใช้ตามองตามลายนิ้วของผู้ตรวจ ผู้ตรวจเคลื่อนนิ้วไปตามแปดทิศทาง ให้สังเกตว่าลูกตามีการเคลื่อนไหวราบเรียบดีหรือไม่ ในภาวะปกติ การเคลื่อนไหวของลูกตาทั้งแปดทิศสัมพันธ์กันทั้งสองข้าง การเคลื่อนไหวของลูกตาจะราบเรียบ ไม่มีการกระตุก ไม่มีการเห็นภาพซอม การตรวจลานสายตา เป็นการตรวจจออนาเคตที่ตาสามารถมองเห็นได้ในภาวะปกติ ผู้ป่วยสามารถเห็นปลายนิ้วของผู้ตรวจในระยะไร่เคียงของผู้ตรวจ คือว่ามีลานสายตาที่ปกติ การตรวจหู ดูลักษณะใบหูและระดับใบหู ภาวะปกติ ใบหูทั้งสองข้างอยู่ในระดับเดียวกับสายตา และเอียง 10 องศา ใช้ปลายนิ้ว คลัมเบอร์เวียนใบหู ในภาวะปกติไม่พบอาการกดเจ็บ และไม่พบก้อนที่ผิดปกติ จากนั้นใช้ไฟฉายสองดูในรูหูจนถึงเยื่อแก้วหู โดยในผู้ใหญ่และเด็กโต ให้ดึงใบหูไปข้างหลังขึ้นข้างบน สังเกตว่ามีอาการอักเสบและการบวม การแดง เม็ดตุ่มหรือน้ำหนองและสิ่งแปลบกลอมหรือไม่ ทดสอบการได้ยินด้วยการใช้ซ่อมเสียง ใช้มือหนึ่งจับด้านถือ แล้วเคาะปลายซ่อมกระแทกกับฝามืออีกข้างหนึ่ง ซ่อมเสียงจะสั่นและเกิดเป็นเสียงขึ้น สามารถตรวจได้ 2 วิธีคือ วิธีที่ 1 นำซ่อมเสียงที่สั่นและเกิดเสียงวางบนปุ่มกระดูกหลังหูด้านหลัง โดยให้ปลายด้ามแตะปุ่มกระดูก เมื่อผู้รับบริการได้ยินเสียงเสทือนที่ผ่านทางปุ่มกระดูกจนไม่ได้ยิน แล้วให้นำซ่อมเสียงมาใกล้รูหู Ring Sound ถ้ายังได้ยินเสียงต่อไปอีกครู่ แสดงว่าการนำเสียงปกติดี คือ แอร์คอนดัคชั่นดีกว่า บนคอนดัคชั่น ถ้าไม่ได้ยิน ให้ขอซ่อมเสียงใหม่อีกครั้ง แล้วนำไปจอที่รูหูของผู้รับบริการ จนไม่ได้ยินเสียง แล้วนำไปวางบนปุ่มกระดูกหลังหู เรียกว่า หูหนวก เพราะการนำเสียงผิดปกติ Conduction Diffidence วิธีที่ 2 วางซ่อมเสียงที่สั่น และมีเสียงตรงกลางส่วนบุญของศีรษะ หรือตรงกลางหน้าผาก หรือกลางท้ายทอย แล้วให้ผู้รับบริการบอกว่าได้ยินเสียงหูข้างใดชัดกว่ากัน ซึ่งปกติจะได้ยินเสียงดังชัดเท่าๆกันทั้งสองข้าง แต่ถ้าข้างใดมีปัญหา Air Conduction จะได้ยินเสียงชัดเจนมากกว่า ในข้างใดมีปัญหา Bone Conduction จะได้ยินเสียงน้อยลง การตรวจจมูก ในภาวะปกติสันจมูกจะอยู่ตรงกลาง ไม่มีอาการบวมโต เยื่อมบุจมูกมีสีชมพู ระดูกที่มีลักษณะคล้ายลูกขาง ไม่มีภาวะบวม ไม่มีร่องรอยแดงจากการทิ้ม ไม่มีของเหลวที่ปล่อยออกมา ระดูกผนังกั้น ไม่คดโขง คลำ เคาะ ไซนัส ฟรอนเทิลไซนัส และเม็กซีลารี่ไซนัส กดเจ็บหรือไม่ ในภาวะปกติจะไม่พบอาการกดเจ็บของภาวะพรวมจมูกอักเสบ ให้ผู้ป่วยเงยหน้าใช้ไฟฉาย ส่องดูเยื่อบุช่องจมูก อินเทียเรีย ทิวบินีต ในภาวะปกติจะพบผนังกั้นจมูก ไม่มีอาการบวมแดง ไม่มีติ่ง หรือเนื้องอก และไม่มีสิ่งขัดหลังใดๆ ตรวจปาก ดูริมฝีปากเป็นสีชมพู โปรด ให้ผู้ป่วยเงยหน้าอ้าปาก ใช้ไฟฉายส่อง เอาไม้กดลิ้นดูเยื่อบุช่องปากเป็นสีชมพู ต่อมน้ำลายเปิดปกติ ไม่มีฟันผูก ปากไม่ซีด ไม่มีรอยเขียวม่วง ให้ผู้ป่วยร้อง อ่า ลิ้นไก่อยู่ในแนวกลาง เพดานอ่อน และเพดานแข็งไม่มีรอยโรค ต่อมทอนซินไม่มีอาการบวม และไม่มีรอยขีดขวน ตรวจแกรกรีเฟรค โดยใช้ไม้กดลิ้น กดบริเวณโคลนลิ้น ขณะเดียวกัน ผู้ป่วยจักรย่อน แสดงว่าการทํางานของระบบประสาทปกติดี การตรวจคอ ในภาวะปกติลําคอตั้งตรง ไม่มีก้อนหรือการบวมโต ลอดลมอยู่ตรงกลางลําคอพอดี จากนั้นให้ผู้ป่วยกลืนน้ำลายสังเกตการเคลื่อนไหวของลำคอ การคลำหาต่อมไทรอยด้วยให้ผู้ป่วยอยู่ด้านหน้า คลำทีละด้านถ้าจะตรวจด้านใดให้ผู้ป่วยเอียงคอไปด้านนั้น กลมหนาเล็กน้อยพร้อมกลืนน้ำลาย และใช้ปลายนิ้วตรวงบริเวณหลอดลม ตรวจว่าตั้งตรงหรือไม่ ในภาวะปกติหลอดลมจะตั้งตรงไม่บิดเบี้ยว ไม่พบการบวมโตของต่อมน้ำเหลือง ต่อมไทรอยการตรวจส่วงอกและปอดโดยการดูขนาดและการเคลื่อนไหวของส่วนอกจากนั้นให้คลัมปอดโดยวางมือที่บริเวณไซฟอร์โปรเศสพร้อมทั้งให้ผู้ป่วยหายใจเข้าและหายใจออกลึกๆสังเกตการแยกออกของนิ้วหัวแม่มือและการยกขึ้นของฝามือต่อจากนั้นให้ทำด้านหลังต่อสังเกตกระดูกสันหลังอยู่ตรงกลางแ ระหว่างกระดูกสันหลังและกระดูกซี่โครง โดยภาวะปกติฝามือจะแยกออกจากกัน การเคาะปอดโดยให้ผู้ป่วยนั่งตัวตรง ผู้ตรวจใช้ปลายนิ้วมือเคาะด้านหน้า โดยเริ่มเคาะตั้งแต่เหนือกระดูกไหปรา ไปจนถึง ลาย โดยฟังเสียงเปรียบเทียบกันระหว่างด้านซ้ายและ ด้านขวา ต่อจากนั้นให้เคาะด้านหลังโดยเริ่มเคาะจากบริเวณไหล่ซ้ายไปยังไหล่ขวา จนถึงตําแหน่งของ posterior axillary line โดยในภาวะปกติจะได้ยินเสียงกล้องโดยเปรียบเทียบทั้ง สองด้านซ้ายและขวา การฟังปอดโดยจะฟังตามบริเวณที่เคาะทั้งด้านหน้าและด้านหลัง ซึ่งเป็นการประเมินอากาศที่ไหลเข้าสู่ปอด และค้นหาส่วนของปอดที่อากาศเข้าไปไม่ได้ โดยในขณะฟังให้ผู้ป่วยหายใจเข้าและหายใจออกลึกๆ ฟังให้ตลอดทั้งช่วงหายใจเข้าออก และฟังเปรียบเทียบกันระหว่างด้านซ้ายและด้านขวาในระดับเดียวกัน ให้สังเกตความดังช่วงที่สุด ช่วงเวลาหายใจเข้าและหายใจออก และเสียงหายใจที่ผิดปกติ การตรวจหัวใจและหลอดเลือด การดู ในภาวะปกติ ลักษณะของพลายโคลเดียม จะไม่ต่างกับส่วงอกอีกด้านหนึ่ง เมื่อเปรียบเทียบกับการเต้นของหัวใจต้องปกติดี จากนั้น ให้ตรวจการพองโตของ หลอดเลือดดํา โดยให้ผู้ป่วยเอียงศีรษะที่ต้องการตรวจ เพื่อดูอัตราการเต้น และการฟองตัวของหลอดเลือดดํา จากนั้นให้คําหา PMI โดยใช้ปลายนิ้วมือ กดลงเบาเบาที่บริเวณหน้าอก จะตัด อยู่กับแนวมิสเซวิกุล่าลาย ในภาวะปกติจะสัมผัสได้ถึงแรงเต้นของหัวใจเบาๆ จากนั้นให้ความการเต้นของชิบประจอนตรงบริเวณ Brachial Pulse, Radial Pulse, บริเวณขาหนีบ บริเวณ Popliteal Pulse และบริเวณ Dorsal Lipidus Pulse ในภาวะปกติชิบประจอนจะมีอัตราการเต้นที่สม่ำเสมอ จากนั้นให้ฟังอัตราการเต้นของหัวใจโดยจะเริ่มที่บริเวณ Altic Vowel Palmonic Vowel Mitral Vowel Bicuspid Vowel ตามลำดับ ในภาวะปกติ จะได้ยินเสียงหัวใจเต้นปกติ 2 เสียง คือ S1 S2 ที่เต้นสม่ำเสมอ และอันที่ 2 คือ S1 S2 ที่เต้นสม่ำเสมอ และอันที่ 3 คือ อัตราการเต้นปกติเท่ากับ 60-100 ครั้งต่อนาที และเท่ากับอัตราการเต้นของชิพจร การตรวจเต้านุ่มและรักแรก ก่อนตรวจต้องบอกผู้ป่วยทุกครั้ง ไม่ควรเปิดเผยผู้ป่วยเกิน เกินไป ควรเปิดเฉพาะบริเวณที่จะตรวจ สังเกตสีผิวจะอ่อนกว่ากายเล็กน้อย ขนาดของเต้านมทั้งสองข้างไม่ต่างกันมาก บริเวณที่บีบหัวนุ่มจะไม่พบน้ําน้องไหลออกมา หรือสิ่งคัดหลังใดใดทั้งสิ้น การตรวจให้ผู้ป่วยยกแขนใต้ท้ายทอย ผู้ตรวจใช้นิ้วสามนิ้วคือชี้น้ํา กลาง กดเบาๆ บริเวณเต้านุ่มถึงรักแร้ โดยกดเป็นวงกลม วนเป็นวงกลมคล้ายกับก้นหอย และทำแบบนี้ทั้งสองข้างในภาวะปกติ เต้านุ่มจะไม่ต่างกันมาก สีผิวอ่อนกว่าผิวกาย ไม่มีอาการบวมแดง บริเวณเต้านุ่มมีลักษณะนุ่ม ยืดหยุ่น กดไม่เจ็บ ไม่มีการดึงรั้งของผิวหนัง ไม่มีรอยบุ๋ม ก้อนนูน หรือแผล คลัมไม่พบก้อน หัวนุ่ม ไม่กดเจ็บ แต่ท่าภาวะผิดปกติ หัวนุ่มทั้งสองข้างไม่เท่ากัน คลําพบก้อนแข็ง ขอบเขตของก้อนไม่ชัดเจน เทื่อนไหวไม่ได้ กดเจ็บ บริเวณผิวหนังที่เต้านุ่มหนาตัวขึ้น มองเห็นชัดเจน ผิวไม่เรียบคล้ายผิวส้ม มีรอยบุ๋ม หรือการดึงรั้งของผิวหนังด้านใดด้านหนึ่ง อันมีสิ่งขั้นหลัง เช่น เลือด นม หลายจากบริเวณหัวหนุ่มออกมา ซึ่งแสดงถึงการเป็นมะเร็งเต้านุ่ม พอเสร็จแล้วก็ควรจัดท่าให้อยู่ในท่าที่สุขสบาย การตรวจท้อง โดยเริ่มดูรูปร่างลักษณะท้องจะเท่ากันทั้งสองข้าง ในภาวะปกติ จะไม่พบหลอดเลือดดําขยาย หรือโป่งพอง ไม่มีรอยจําเลือดใดใด หน้าท้องเคลื่อนไหวตามการหายใจ จากนั้นให้ฟังเสียงโดยแบ่งท้องออกเป็น โดยเริ่มฟังจาก Right Lower Quadrant, Right Upper Quadrant, Left Upper Quadrant, Left Lower Quadrant จากนั้นให้ฟังเสียงของลำไส้บริเวณ Umbilical Area โดยให้ฟังลักษณะเสียงและนับจำนวนครั้งต่อนาที ในภาวะปกติจะได้ยินเสียงเหมือนการเทน้ำ 6-12 ครั้งต่อนาที จากนั้นให้เคาะตำรวจที่แบ่ง โดยเริ่มจาก Right Lower Quadrant Right Upper Quadrant Left Upper Quadrant Left Lower Quadrant ในภาวะปกติจะได้ยินเสียงโปร่ง และเสียงทึบบริเวณตับและมาม จากนั้นให้คลำทั่วท้อง โดยเริ่มคลำตื้น ในภาวะปกติจะไม่พบอาการกดเจ็บ จากนั้นให้คลำลึก ในภาวะปกติจะไม่พบก้อนจากการบวมโตของตับและมาม และให้ปูปู และให้ผู้ตรวจ ตรวจการกดเจ็บ โดยให้ผู้ตรวจกดมือลงแรงๆ แล้วรีบปล่อยอย่างรวดเร็ว ในภาวะปกติ ต้องไม่พบอาการกดเจ็บ การตรวจขาหนีบ ให้สังเกตดูว่าสีมีลักษณะสมมติเสมอหรือไม่ ในภาวะปกติ จะไม่มีรอยโรค ไม่มีอาการบวมแดง หรือก้อนผิดปกติบริเวณขาหนีบทั้งสองข้าง จากนั้นให้ใช้ปลายนิ้วมือ คลำบริเวณขาหนีบ เพื่อตรวจหาต่อมน้ำเหลืองและก้อนผิดปกติ จากนั้นให้จับชิบประจอนบริเวณขาหนีบ ว่ามีการเต้นของชิบประจอนเท่ากันสม่ำเสมอทั้งสองข้างหรือไม่ การตรวจรีเฟค 1. ไตรเซปรีเฟค ให้ผู้ตรวจพยุงแขนผู้ป่วย โดยให้แขนผู้ป่วยห้อยอยู่ข้างลำตัว จากนั้นใช้ไม้เคาะเคาะบริเวณไตรเซปเท็นดอน แขนจะเหยียดออก ดังนั้นแสดงว่าเส้นประสาท L7 C8 ทำงานปกติดี 2. การตรวจนิเจิร์ครีเฟค ให้ผู้ป่วยนั่งห้อยขาบริเวณขอบเตียง ใช้ไม้เคาะ เคาะบริเวณ Petula tendon ทีละข้าง ขาจะเหยียดออก แสดงว่าเส้นประสาทไขสันหลังเอว L2 L4 ปกติดี การตรวจการรับความรู้สึกกายชนิด Sufficial Sensation 1. สัมผัสแพววเบา Light Touch ให้ผู้ป่วยหลับตาก่อนทำการทดสอบทุกครั้ง จากนั้นผู้ตรวจใช้ปลายก้อนสำลี สัมผัสไปมายังแผ่วเบาบนผิวหนังต่างๆของผู้ถูกทดสอบ 2.ความเจ็บปวด Pain ให้ผู้ป่วยหลับตา จากนั้นผู้ตรวจใช้ปากก้าหรือเข็มหมุด จิ้มลงบนบริเวณผิวหนังของผู้ป่วย แล้วถามว่ารู้สึกเจ็บหรือไม่ และรู้สึกเจ็บที่ตำแหน่งใด 3.อุณหภูมิ ให้ผู้ป่วยดับตา จากนั้นผู้ตรวจใช้แท่งเหล็กจุ่มในแก้วน้ำอุ่น อุณหภูมิ 45-50 องศาเซลเซียส อีกแก้วใส่น้ำเย็น อุณหภูมิ 4-10 องศาเซลเซียส เช็ดให้แห้ง แล้วมาแตะที่ผิวหนังบริเวณที่ต้องการจะทดสอบ การตรวจกำลังของกล้ามเนื้อ 1. แขน ให้ผู้ป่วยอยู่ในท่างอศอก ปลายแขนหงาย ให้ผู้ป่วยพยายามงอศอก อธิบูตรวจพยายาม ออกแรงต้านไปที่ปลายแขน เพื่อเหยียดศอกให้ตรง 2. ข้อมือ ให้ผู้ป่วยหงายมือกับหมัด พยายามงอข้อมือขึ้นสู้ กับแรงต้านของผู้ตรวจ แล้วให้ผู้ป่วยคว่ำมือกับหมัด พยายามงอมือขึ้นสู้กับแรงต้านของผู้ตรวจ 3. ข้อมือ ให้ผู้ป่วยหงายมือกับหมัด พยายามงอมือขึ้นสู้ กับแรงต้านของผู้ตรวจ ข้อนิ้วมือให้ผู้ป่วยพยายามงอและเหยียดนิ้ว ขณะที่ผู้ตรวจออกแรนต้านไว้ ให้ผู้ป่วยกำมือบีบนิ้วชี้และนิ้วกลางของผู้ตรวจให้แน่น ผู้ตรวจพยายามดึงนิ้วออกแรนต้านไว้ ให้ผู้ป่วยกางนิ้วออก ขณะที่ผู้ตรวจพยายามหนีบนิ้วผู้ป่วยให้เข้าหากัน 4. สะโพก ให้ผู้ป่วยนอนหงายเหยียดเข่าตรง ยกขาขึ้นจากเตียง ต้านแรงกดของผู้ตรวจโดยทำทั้งสองข้าง 5. ขา โดยให้ผู้ป่วยพยายามงอเข่า ต้านกับแรงของผู้ตรวจในการเหยียดเข่าออก 6. สะโพก ให้ผู้ป่วยพยายามเหยียดเข่าให้ตรง ต้านแรงกับผู้ตรวจในการเหยียดเข่าออก กับผู้ตรวจที่พยายามดันเขาให้งอ การตรวจขอบเขตการเคลื่อนไหวของข้อ 1. กระดูกสันหลังส่วนคอ ให้ผู้ป่วยเงยหน้าเต็มที่ Hyper Extension ให้ผู้ป่วยแง่หน้าตรง Extension ให้ผู้ป่วยก้มศีรษะ ทางชิดหน้าอก Flexion 2. กระดูกสันหลังส่วนอกและเอว ให้ผู้ป่วยเอ็นตัว ไปตามด้านข้าง Natural Binding เหย่าตัวบิดไปมา Rotation ก้มหลังพยายามเอามือแตะพื้น Fraction 3. ข้อไหล่ ให้ผู้ป่วยยกแขนทีละข้าง เหวี่ยงไปทางด้านหน้า และเหวี่ยงแขนอีกข้างไปทางด้านหลัง กลางแขนและอ้อมมือไปที่ด้านหลัง สลับกันทั้งสองข้าง และยกแขนขึ้นเหนือศีรษะ เอามือทั้งสองข้างประสานกันที่ท้ายทอย External Rotation 4. ข้อสอบ ให้ผู้ป่วยยกแขนทีละข้างไปทางด้านหลัง ให้ผู้ป่วยยื่นแขนมาทางด้านหน้า งอศอกและเหยียดแขน ให้ข้อศอกอยู่ในทิศที่นิ้วมือสัมพันธ์กับไหล่ จากนั้นให้ผู้ป่วยค่ำคว่ำมือลง และหงายมือขึ้น โดยให้ข้อศอกอยู่นิ่งๆ 5. ข้อมือ ให้ผู้ป่วยกระดกข้อมือมาทางหลังมือให้สุด และเหวี่ยงนิ้วมาทางหัวแม่มือ และทางนิ้วก้อย 6. นิ้วมือ ให้ผู้ป่วยเหยียดข้อต่อ นิ้วมือไปทางนิ้วมือ ด้านหลังให้เต็มที่ จากนั้นให้กางนิ้วออกจากกัน ได้หุ้กนิ้วเข้าหากัน จากนั้นให้นิ้วหัวแม่มือไปแตะที่ควนนิ้วก้อย เจ็ด คอสะโพก ให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านอนหงาย ดึงเข่าให้ชิดหน้าท้องให้มากที่สุด นอนตะแคง ตรงข้ามกับด้านที่ตรวจ และให้ผู้ป่วยดันขาไปข้างหลังมากที่สุด Hyper Extension ให้ผู้ป่วยนอนหงาย ขาเหยียดตรง กางออกจากกัน Reduction หุบขาเล็กๆ ข้างขาเข้ามากลางลำตัวมากที่สุด Abduction ให้ผู้ป่วยนอนหงาอยู่ในท่างอสะโพกและเข่า บิดเข่าข้างลำตัวให้มากที่สุด โดยปลายเท้าชี้ออกจากตัว Internal Rotation และให้บิดเข่าออกนอกลำตัวให้มากที่สุด โดยปลายเท้าวางอยู่บนเข่าอีกข้างหนึ่ง External Rotation 8. ข้อเข่า ให้ผู้ป่วยนั่งบนขอบเตียงแล้วยกขาขึ้น แล้วให้งอเข่าลง Fraction แล้วเหยียดเข่าให้ตรงมากที่สุด Extension 9. ข้อเท้าและเท้า ให้ผู้ป่วยกระดกข้อเท้ามาทางด้านหลังเท้า Doll Side Fraction กระดกข้อเท้า บิดข้อเท้าให้ปลายเท้า ชี้ลงด้านฝาเท้า บิดข้อเท้าให้อุ้งเท้า หันเข้ากลางลำตัว บิดข้อเท้าให้อุ้งเท้า หันออกนอกลำตัว ในภาวะปกติ ข้อต่างๆ จะสามารถเคลื่อนไหวได้ตามปกติ ตามแบบของข้อนั้นๆ