Transcript for:
ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษีเงินได้นิติบุคคล

สวัสดีทุกท่าน วันนี้เราจะมาพูดคุยกันในเรื่องของความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีเงินได้นิดิบุคคลย้ำกันอีกครั้งนึงว่าเนื้อหาในส่วนนี้เอามาจากการที่ผมได้ไปลงทะเบียนเรียนในหลักสูตรประกาศนียบัตรกฎหมายภาษีอากรของคณะนิติศาสตร์ หมายว่าเจรัยธรรมศาสตร์พอไปเรียนก็เลยเกิดความคิดที่จะอยาก จะมาแบ่งปันนะความรู้ที่ได้จากการเรียนในห้องเรียนเนี่ยนะครับ มามาเล่าสู่กันฟังให้กับเพื่อนเพื่อนทุกคนนะครับ โอเคทีนี้เนี่ย เรื่องของความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประสิทธิ์เงินด้านนิติบุคคลเนี่ยนะฮะเอ่อ เป็นนึกหานะที่จะ นําไปสู่นะฮะการทําความเข้าใจตัวประสิทธิ์เงินด้านนิติบุคคลนะฮะ ดูละอีกอีกครั้งหนึ่งซึ่งเนื้อหาในส่วนที่ผมจะพูดในวันนี้ เราจะเป็นการพูดถึงภาพรวมคร่าวคร่าวของตัวประสิทธิ์เงินด้านนิติบุคคลนะฮะ เพื่อให้เข้าใจคอนเซปต์ เพื่อให้มองเห็นประเด็นปัญหาทางกฎหมายต่างๆเพื่อเชื่อมโยงไปยังการทำธุรกิจต่างๆ ที่เกี่ยวข้องว่าการทำธุรกิจต่างๆ หรือการพื้นหาจัดการธุรกิจมีภาษีก็ได้ได้ที่ทุกคนเข้าไปเกี่ยวข้องในแง่มุมไหน อย่างไรบ้างซึ่งในช่วงแรก เราจะพูดถึงการพื้นหาในทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับทางภาษีก่อน ทำความเข้าใจ แนวคิด หรือ คอนเซ็ปต์ ในมุมมองของนิศศาสตร์ก่อนนิดนึงนะครับที่นี้สําหรับเนื้อหาที่เราจะพูดคุยกันเรื่องแรกเนี่ยนะฮะ ก็คือเรื่องของความทั่วไปและระบบภาษีของไทยนะฮะความทั่วไปแล้วก็ระบบภาษีของไทยนะฮะ เวลาเราพูดถึงภาษีก็คือเงินที่วัดเรียกเก็บจากประชาชนถูกไหมฮะ เพื่อนําไปบริหารประเทศถูกไหม ทีนี้เนี่ย ในตัวภาษีเนี่ยนะคะ การเรียกเก็บภาษีจากประชาชนเนี่ยมันเรียกเก็บจาก เอ่อ บางสิ่งบางอย่าง ซึ่งมีได้หลายวิธีนะคะในบางกรณีเนี่ย อาจจะเก็บจากเงินได้นะคะเมื่อเรามีเงินได้เนี่ย ก็เลยมีการเก็บภาษีจากเราไป เนี่ยฮะกรณีแบบนี้เนี่ย เราก็จะเรียกว่าเป็นภาษีเงินได้ เนี่ยฮะในเรื่องของภาษีเงินได้เนี่ย มันก็จะมีทั้งภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีเงินนี้ที่บุคคล เนี่ยฮะ ซึ่งที่เราจะเรียนกันในวันนี้ คือส่วนของภาษีเงินได้นิดเดียวบุคคลนะครับอันที่ 2 คือการจัดเก็บภาษีจากการใช้จ่ายเมื่อเรามีการซื้อสินค้าหรือใช้บริการก็จะมีการจัดเก็บภาษีจากการบริโภคซึ่งในประเทศไทยภาษีจากการบริโภคก็คือตัวแหวดหรือภาษีมุนลักษณะเพิ่มแล้วก็รวมไปถึงตัว SBT หรือภาษีธุรกิจเฉพาะนะครับโอเค นอกจากนี้ก็อาจจะมีการจัดเก็บภาษีจากการถือครองทรัพย์สินเช่นถ้าคุณถือครองทรัพย์สินอยู่ รัฐก็จะจัดเก็บภาษีจากเราซึ่งตัวภาษีที่สำคัญในระบบกฎหมายไทยก็คือตัวภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างและกรณีสุดท้ายอย่างเช่นถ้าสมมุติว่าเราได้รับมรดกมาเราก็อาจจะต้องเสียภาษีการรับมรดกด้วย ซึ่งตัวภาษีการรับมรดก บุคคลที่จะต้องเสียภาษีตรงนี้จะต้องได้รับมรดกมาค่อนข้างมากเลยคือเรื่องง่าย คือตัวภาษีตัวนี้ มุ่งเก็บภาษีจากคนที่มีฐานหนานิดนึงโอเค ดังนั้นคนธรรมดาทั่วไปอย่างเรา ก็อาจจะไม่ต้องอยู่ในข่ายที่จะต้องเก็บภาษีการรับมรดกใด อย่างใด คือเรื่องของหน่วยงานในการจัดเก็บภาษีอันนี้เราจะพูดถึงหน่วยงานในประเทศไทยหน่วยงานไหนในประเทศไทยที่มีภาระหน้าที่ในการจัดเก็บภาษีจากเราหน่วยงานตรงนี้ก็มีอยู่ 2 ส่วน คือราชการบริหารส่วนกลางอันที่ 2 คือราชการบริหารส่วนท้องถิ่นราชการบริหารส่วนกลางก็จะมีอยู่ หลักๆ เนี่ยก็คือเป็นภาระหน้าที่ของตัวกระทรวงการคลังนะครับ เป็นหน้าที่ของกระทรวงการคลังนะครับกระทรวงการคลัง ซึ่งตัวกระทรวงการคลังเนี่ยนะฮะ ก็จะอะไรเอ่ยจะมีกรมในสังกัดที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บภาษีอยู่นะฮะ 3 กรมนะฮะ อยู่ 3 กรมนะฮะเวลาเราเรียนตรงนี้เนี่ยนะฮะ เราจะได้ทราบว่าเฮ้ย เวลาเราต้องมีประเด็นคําถามเกี่ยวกับภาษี ฉดีนั้น ฉดีนี้เนี้ยจะได้ไปปรึกษากรมไหนได้อย่างถูกต้องนะครับ โอเค มีกรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บภาษีเนี้ยอยู่สามกรม คือ หนึ่ง หนึ่งก็คือตัวกรม ตัวกรมสารภากร ก็จะจัดเก็บภาษีตามประมวลลัตสดากร ไม่ว่าจะเป็นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดานิดี ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะรวมไปถึงอากรสแตม ครับ เหล่านี้เนี่ยก็จะเป็นภาระหน้าที่นะของตัวกรมสันพากรนะครับ กรมที่สองนะครับ กรมที่สองก็คือตัวกรมสุรกากรนะฮะ กรมสุรกากร นะฮะ กรมสุรละ กากร นี่ฮะ โอเค ในกรมสุรกากรเนี่ยก็จะดูแลในเรื่องของภาษีสุรกากรถูกมั้ยฮะภาษีสุรกากร นะครับ โอเค และกรมสุดท้ายนะฮะ ก็คือกรมสรรพสามิตร นะฮะกรมสรรพสามิตร ก็จะดูแลเกี่ยวกับภาษี นะฮะ ศัพท์ภาษามิตร นะฮะภาษีศัพท์ภาษามิตร นะครับ ก็จะมีอยู่สามกรม นะฮะซึ่ง เอ่อ ตัวกฎหมายที่เข้ามาเกี่ยวข้องหรือกฎหมายภาษีนี่นะฮะที่เข้ามาเกี่ยวข้องเนี่ยนะฮะ ก็จะมีอยู่หลักหลักนะฮะสามสี่ตัวก็คือถ้าเป็น กรมสันพากรเนี่ยนะฮะ พระราชบัญญัติศูนยากร 2560 นะครับ พระราชบัญญัติศูนยากร 2560 นะครับและอีกกรณีหนึ่งคือ พ.ร.พิกัดศูนยากร นะครับ อ่ะ พ.ร.พิกัดอัตราศูนยากรนะครับ พ.ร.ศูนยากร กับ พ.ร.พิกัดอัตราศูนยากร นะครับส่วนกรมสรรพสามิตร เนี่ย ก็คือตัว พ.ร.สรรพสามิตร ถูกมั้ยฮะ ซึ่งถ้าเป็นภาษีสุรกากรเนี่ยนะครับ ก็จะดูแลในเรื่องของการนําเข้าส่งออกสินค้าแล้วก็มีการเก็บภาษีจากตรงนั้นนะครับส่วนภาษีสับประสามิดเนี่ย ส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องของสินค้าฟุ่มเฟื่อยนะฮะเหล้า เอ่อ บุรีนะฮะ รถยนต์อะไรแบบเนี้ยก็จะมีการจัดเก็บภาษีสับประสามิดนะครับ โอเค นี่คือเรื่องของหน่วยงานในการจัดเก็บนะฮะเรื่องต่อมาคือเรื่องของแหล่งที่มาของกฎหมายภาษีนะฮะ เวลาเราพูดถึงแหล่งที่มาของกฎหมายภาษีคืออะไรคือเวลาเราจะต้องตอบคำถามว่าสิ่งนี้ต้องเสียภาษีไหม เราต้องเสียภาษีหรือเปล่าเราก็ต้องไปดูกฎหมายภาษีถูกไหมฮะกฎหมายที่มันเป็นบอกเกิดให้เราจะต้องเสียภาษีเนี่ยมีอะไรบ้างมีอะไรบ้าง โดยทั่วๆไปนะฮะก็เริ่มต้นต้นต่างกฎหมายสูงสุดเลยนะฮะก็คือตัวรัฐมนูนก็เข้ามาเกี่ยวข้องกับการจัดเก็บภาษีเหมือนกัน อ่ะ กฎหมายสูงสุดก็เข้าไปเก็บความ ครับ รัฐมนุม นะฮะสองก็คือกฎหมายในระดับพระราชบัญญัติ ซึ่งตรงเนี้ยมันก็จะเชื่อมโยงไปอย่างตัวพระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับภาษีต่างต่าง ถูกไหมฮะซึ่งเราได้พูดเงินไปเมื่อกี้นี้ไง อย่างเช่น อันนี้ก็จะเป็นภาษีภรรบอสุรกากร ถูกไหม อันนี้เป็นภรรบอภาษีสรรพสามิต ถูกไหมฮะแล้วก็ยังมีภรรบอพิกัดอัตตาภาษีสุรกากร ถูกไหมฮะ มีภรรบอรัศดากร อะไรเหล่านี้ ซึ่งนอกจากภาษีเหล่านี้แล้วมันยังมีตัวอื่นอีกนะเช่นภาษีปิโตเรียมอะไรแบบนี้โอเคแต่ว่าสารสำคัญเนี่ยก็จะมีอยู่ประมาณสามสี่ตัวตรงนี้นะครับทีนี้ลองจัดพรบอแล้วเนี่ยนะฮะ ลองจัดพรบอแล้วก็จะมีตัวอณุกฎหมายนะฮะอณุปัญญัตินะฮะ ก็คือกฎหมายลูกของพรบอ คือตัวประมวลรัศนากร เราใช้ชื่อเรียกว่าประมวลรัศนากรแต่การบังคับใช้ประมวลรัศนากร มันจะมีพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลรัศนากรคือพอมันเป็นแบบนี้ ตัวประมวลรัศนากรมันจะมีสถานที่เท่ากับพระราชบัญญัติแม้จะไม่ได้เรียกว่าพระราชบัญญัติก็ตามแต่ว่าอนุบัญญัติมันจะเป็นกฎหมายลูกอีกทีนึง คือเป็นกฎหมายลูกของพระราชบัญญัติเป็นกฎหมายลูกของประมวลรัศนากร เราก็จะเรียกว่าอนุบัญญัติ หรือบางทีก็จะเรียกว่ากฎหมายลําดับรองนะครับ กฎหมายลําดับรองนะครับ โอเคนะครับ ตัวอนุมัญญาตร์หรือกฎหมายลำดับรองที่สำคัญอย่างเช่นกฎกระทรวงกฎกระทรวงของกระทรวงการคลัง ว่าเรื่องการจัดเก็บภาษีอะไรแบบนี้หรือว่าประกาศอธิบดีกรมเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีอะไรแบบนี้ก็จะถือว่าเป็นอนุมัญญาตร์หรือเป็นกฎหมายลำดับรองต่อมาคือ เอ่อ ตัวคําสั่งนะคะ กรมสันพากรที่ทอป คำสั่งกรมสันพากรที่ทอป. ก็ถือว่าเป็นกฎหมายระดับรองอย่างหนึ่งคือเป็นกฎหมายที่เราต้องปฏิบัติตาม ต้องเคารพนะฮะซึ่งตัวคำสั่งกรมสันพากรเนี่ยนะครับ มันจะมีอยู่สองประเภทนะฮะมีอยู่สองประเภทคือคำสั่งกรมสันพากรที่ทอป. กับคำสั่งกรมสันพากรที่ป.นะครับคือมันมีสองอันนะฮะ คือมีทอป. แล้วก็มีป. ทอปอเนี่ยถือว่าเป็นกฎหมายต้องปฏิบัติตาม ทอปอเนี่ยย่อมาจากคําว่าทั่วไปคือมันเป็นกฎเกณฑ์ทั่วไปที่ใช้บังคับกับเราทุกคน ถ้าเราอยู่ในบังคับของทอปอนี้ก็ต้องมีนะที่ต้องเสียภาษีตามตามกฎเกณฑ์นะที่กําลังเอาไว้ในคําสั่งบนสํากรทอปอเนี่ยฮะ ซึ่งตัวทอปอตรงนี้เนี่ยเวลาจะออกอ่ะพอเราบอกว่ามันเป็นกฎหมายลูก แสดงว่ามันต้องอาศัยอําหน้าตามกฎหมายแม่บทก็คือตัวพระราชบัญญัติ ดังนั้นเนี่ยในในตัวคําสั่งกรมสัมภาคอนที่ทอปอล์เนี่ย นะฮะตรงหัวของตัวคําสั่งอ่ะ มันจะขึ้นต้นเลยว่าอาศัยอําหน้าตามกฎหมายตัวนั้นตัวนี้นะฮะ เอ่อ ออกคําสั่งกรมสัมภาคอนฉบับนี้ขึ้นมาอะไรแบบเนี้ยคือมันมันมีการอาศัยอําหน้าตามกฎหมายแล้วก็มีการออกคําสั่งออกมานะฮะ โอเคดังนั้นคําสั่งกรมสัมภาคอนทอปอล์ตรงเนี้ย จึงมีสนับเป็นกฎหมายคือมันเป็นกฎหมายลูกของกฎหมายแม่บทอีกทีหนึ่งนะครับ แต่ว่าถ้าเป็นคําสั่งกรมสรรพากรที่ เนี้ย นะฮะ เนี้ยนะฮะมันก็คือย่อมาจากปฏิบัติ แล้วก็คือเป็นแนวปฏิบัติ นะฮะกรมสรรพากรว่า เอ้ย ในเรื่องของการเสียภาษีเนี้ยนะฮะมันมีแนวปฏิบัติอย่างไร นะนี่กรมสรรพากรเนี้ยออกมาซึ่งแนวปฏิบัติตรงเนี้ยในทางกฎหมายเนี้ย เราไม่ถือว่าเป็นกฎหมาย นะฮะตรงนี้เราไม่ถือว่าเป็นกฎหมายนะครับ ไม่ใช่กฎ อ่า ผมใส่ผิด อ่าเอาใหม่ ตรง ตัวนี้ อ้าว ลบไปหมดเลย นะฮะ เอาใหม่ คอ ปอ ย่อมาจากทั่วไปส่วน ปอ เนี้ย นะฮะ ย่อมาจากปฏิบัติ ปอ เนี้ย ย่อมาจากปฏิบัติซึ่งเราบอกว่า ตัว เนี้ย นะฮะ ที่ย่อมาจากปฏิบัติ เนี้ยเป็นเพียงแนวปฏิบัติ นะฮะ เมื่อมันเป็นแนวปฏิบัติ เนี้ยนะฮะ มันก็ไม่ใช่กฎหมาย นะฮะ ไม่ใช่กฎหมาย นะฮะ แต่ว่าถ้าเราไม่ทำตามเนี่ยนะฮะ กรมสรรพากรก็จะ เอ๊ะ ทำไมคุณไม่ทำตามกรมสรรพากรอาจจะเข้ามาตรวจสอบ หรือมาตรวจดูได้ว่าคุณต้องการจะหลีกเลี่ยงภาษีหรือเปล่ายังไง ซึ่งถ้าตรวจพบว่าคุณหลีกเลี่ยงคุณก็ต้อง เอ่อ รับผิดในการเสียภาษีถูกไหม ดังนั้นเนี่ยถ้าเราปฏิบัติตามเนี่ยฮะ คําสั่งของตัว กรมสรรพากรที่พอที่ปอปาจุดตรงนี้เนี่ย มันก็จะเป็นผลดีกับเราอ่ะคือมันไม่มีปัญหาเกิดขึ้นกับเรา แต่ว่า เอ่อ ถ้าสุดท้ายมันมีปัญหาเถียงกันเนี่ยนะฮะ มันก็จะเป็นประเด็นขึ้นไปสู่ศาล ซึ่งศาลอาจจะวินิจฉัยก็ได้ว่าอีกคําสั่งตรงเนี้ย มันมันไม่ถูกต้องมันไม่ชอบได้กฎหมาย ก็ได้ นะฮะ เพราะว่าตัวคําสั่งตรงนี้เนี้ยมันเป็นแนวปฏิบัติของฝ่ายบริหาร มันไม่ใช่กฎหมายถูกไหมฮะ ว่ามันเป็นแนวปฏิบัติของฝ่ายบริหารในศาลถ้าเป็นในความตัวลาการ เขาก็จะสามารถมาตรวจสอบยกเลิกเพื่อถอดคําสั่งตรงนี้ออกไปได้ นะครับอันนี้คือแหล่งที่มาของกฎหมายภาษีนะฮะ เริ่มต้นตั้งแต่รมนูน พระราชมัญญัติ แล้วก็กฎหมายลำดับรองก็คือกฎหมายลูกนะครับ ไม่ว่าจะเป็นกฎกระทรวงนะหรือคําสั่งกลมสมมติความที่ทอดพอด์นะฮะทีนี้ทีนี้ เอ่อ มันยังมีอีกประเด็นหนึ่งคือเรื่องของอะไรล่ะเรื่องของตัวอย่างการตีความและแนวปฏิบัติ คือตัวอย่างการตีความและแนวปฏิบัติในยกตัวอย่างเช่นคําพิพากษาของสารนะฮะ หรือคําตอบข้อหารือนะฮะ ภาษีอากร คำว่าสาวงศาล อันนี้ทุกคนเข้าใจถูกไหมฮะซึ่งคำว่าสาวงศาลเนี่ยไม่ใช่กฎหมาย แต่เป็นแนวปฏิบัติแนวการปรับใช้และตีความองศาล เรียกอย่างงี้ดีกว่าคือแนวทางที่ แนวทางในการที่สาวงศาลอ่ะ ตีความกฎหมายว่าตีความกฎหมายอย่างไร ซึ่งสุดท้ายสาวงศาลตัดสินแล้วมันก็เป็นนี่สุดอ่ะมันก็เหมือนมีสภาพบังคับไกลๆ แหละ แม้เราจะบอกว่ามันเป็นแนวทางในการปรับใช้และตีความก็ตามเนี่ยฮะ ซึ่งพอเราบอกว่ามันเป็นแนวปฏิบัติเนี่ยคำว่าสาวงศาลอาจจะตัดสินถูกหรือผิดก็ได้นะ ถูกมั้ยฮะ มันก็ไม่ได้ ก็รันตีอ่ะ ดูดิมั้ย โอเค อันที่สอง ข้อหารือภาษีอากร ข้อหารือภาษีอากรเนี่ยคือกรณีที่แบบเรามีปัญหาในการภาษี เราก็เลยไปปรึกษากรมสันพากรแล้วเขาก็ตอบออกมาเป็นข้อหารือ ดังนั้นการตอบข้อหารือตรงเนี้ยมันคือแนวปฏิบัติของตัวกรมสันพากรซึ่งเป็นฝ่ายบริหาร ว่าฝ่ายบริหารเนี้ยเขามีมุมมองในการปรับใช้กฎหมายของฝ่ายนิติบัญญัติเนี้ยอย่างไรซึ่งการปรับใช้ของฝ่ายบริหารคือกรมสันพากรเนี้ยอาจจะถูกหรือไม่ถูกก็ได้ถูกไหมฮะ ดังนั้นเนี่ย ไอ้ข้อหารือตรงเนี้ยมันเป็นเพียงแนวปฏิบัติแนวทางในการปรับใช้ตีความกฎหมายเท่านั้นนะครับอันต่อมานะที่เป็นตัวอย่างแนวปฏิบัติการนึงคือเรื่องของคําสั่งกรมสัมมากรที่ ซึ่งคําสั่งกรมสัมมากรที่ เนี่ยเราก็พูดไปแล้วถูกมั้ยฮะว่าไม่ใช่กฎหมายอย่างไร แต่อย่างใดนะครับ โอเค ซึ่งเราจะเห็นความแตกต่างเลยว่าถ้ามันเป็นคําสั่งกรมสัมมากรที่ทอปอจุดเนี่ยหัวมันจะขึ้นต้นด้วยอาศัยมนาฏตามกฎหมายถูกมั้ยฮะ มาตรา มาตรา นิติง ออกคําสั่งขึ้นมา แต่ถ้าเป็นคําสั่งกลมสรรพากรที่ปอจุดเนี่ยหัวมันจะขึ้นว่า เพื่อกําหนด นะฮะ แนวทางปฏิบัติของเจ้าหน้าที่อะไรแบบเนี้ย แสดงว่ามันเป็นแค่แนวปฏิบัตินะฮะ มันไม่ได้ใส่หน้าทางกฎหมายมันไม่ได้เป็นกฎหมาย นะครับ ทีนี้เรื่องต่อมานะฮะเรื่องต่อมาคือเรื่องของหลักการทางกฎหมายที่สําคัญนะ ที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับตัวภาษี นะฮะเรื่องแรกคือเรื่องของลําดับศักดิ์ทางกฎหมาย คือกฎหมายเนี้ยมันมีลําดับชั้นของมันอยู่ พอมันมีระดับชั้น กฎหมายที่อยู่ต่ำกว่าจะขัดกับกฎหมายที่สูงกว่าไม่ได้กฎหมายที่สูงสุดในระบบกฎหมายไทยของเราก็คือตัวรัฐมนูร เป็นกฎหมายสูงสุดลองลงมาก็จะเป็นพระราชบัญญัติ หรือประมวลรัศดากร หรือประมวลกฎหมายต่างๆลองลงมาก็จะเป็นพระราชกิจสนิกา ลองลงมาก็จะเป็นกฎกระทรวง ประกาศกระทรวงระเบียบข้อบังคับ คำนิสัยคณะกรรมการ คำนิสัยภาษีอากร คำสั่งกรมสันพากรที่ท.ป.

ระเบียบกรมสันพากร ประกาศอธิบดีกรมสันพากร อันนี้มันก็จะเรียงตามภาพลงบาลนามนูญ พระราชบัญญาติ พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ระเบียบกระทรวง คำนิสัยคณะกรรมการ ภาษีอากร คำสั่งกรมสันพากร ที่ท.ป. ระเบียบกรมสรรพากร แล้วก็ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรนะครับซึ่งกฎหมายที่ต่ำกว่าจะขัดกับกฎหมายที่สูงกว่าไม่ได้ดังนั้นสมมุติว่าถ้ามันมีการตรากฎหมายภาษีขึ้นมาหลายตัวเลยแล้วเราเห็นแล้วว่ามันมีกฎหมายสองตัวซึ่งมันดูเหมือนจะขัดแย้งกันนะครับคำถามคือเราจะเลือกใช้กฎหมายตัวไหนคำตอบคือเราต้องเลือกใช้กฎหมายที่มันสูงกว่าเพราะกฎหมายที่ต่ำกว่ามันจะขัดอุดยั้งกับกฎหมายที่สูงกว่าไม่ได้นะครับ โอเค นี่คือเรื่องของตัวลำดับศักดิ์ของกฎหมายเราต้องใช้กฎหมายให้ถูกต้องกฎหมายที่ต่ำกว่ามันจะขัดกับกฎหมายที่สูงกว่าไม่ได้และถ้ากฎหมายที่ต่ำกว่ามันขัดเราก็ต้องไปใช้กฎหมายที่มันอยู่ในสถานที่สูงกว่าหลักการต่อมาคือกฎหมายเฉพาะมาก่อนกฎหมายทั่วไปอันนี้มันเป็นหลักการขึ้นขาดในทางนิติศาสตร์เลยก็คือว่าเวลาเราจะตีความกฎหมาย กฎหมายมันจะมีทั้งบททั่วไปและบทเฉพาะการปรับใช้เราต้องดูก่อนว่ามันเข้าบทเฉพาะไหมถ้ามันไม่เข้าบทเฉพาะมันก็จะกลับมาใช้บททั่วไปผมยกตัวอย่างอย่างเช่นในทางกฎหมายสัญญามันก็จะมีหลักทั่วไปว่าด้วยสัญญาว่าการทำสัญญาเป็นอย่างไรการเลือกสัญญาเป็นอย่างไร การผิดนะ สัญญาต้องรับผิดอย่างไรบ้างอันนี้มันจะเป็นบททั่วไปของสัญญา ใช้กับสัญญาทุกประเภท แล้วมันก็จะมีสัญญาเฉพาะที่เรียกว่าเอกอาเทศสัญญาเช่น สัญญาซื้อขาย สัญญาขายฝาก สัญญาจำนำ จำนอง อะไรแบบนี้แต่ละสัญญา กฎหมายก็จะคำหนดหลักเกณฑ์เอาไว้ว่าคือถ้ามีการผิดสัญญา ต้องรับผิดต่อกันอย่างไรแสดงว่ามันมีกฎหมายสองส่วน คือบททั่วไปที่วางหลักทั่วไปของสัญญาทุกประเภทไว้คร่าวๆเป็นการทั่วไปกับหลักกฎหมายสัญญาเฉพาะ การตับใช้ อ่ะ เช่น สมมุติว่า มีการผิดสัญญาจํานําต้องรับผิดต่อกันอย่างไร เราต้องไปดูกฎหมายจํานําก่อนต้องไปดูกฎหมายสัญญาจํานํา ซึ่งเป็นกฎหมายเฉพาะกว่าก่อนว่าเขากําหนดไว้อย่างไร แล้วถ้ากฎหมายนั้นไม่ได้กําหนดเอาไว้จึงไปดูบททั่วไปของสัญญา ว่าบททั่วไปของสัญญา ย้อนกลับไปนิดนึงในเรื่องของลำดับศักดิ์ทางกฎหมายมันก็จะมีตัวอย่างคำวินิจฉัยของสารมูลที่สามารถให้เห็นว่ากฎหมายที่อยู่ต่ำกว่าจะขัดกฎหมายที่สูงกว่าไม่ได้ยกตัวอย่างเช่นคำวินิจฉัยสารมูลที่ 17 ทับ 2,555 คำวินิจฉัยในสารมุลที่ 17 ทาง 2555คำวินิจฉัยตัวนี้ มันเป็นคำวินิจฉัยเกี่ยวกับตัวประมวลสถาคอนมาตรา 1คือประมวลสถาคอนมาตรา 1 เขียนอ้อยว่าเงินได้ของภรรยาให้นำไปรวมกับสามีและนำไปเสียภาษียกเว้นเงินได้ตามมาตรา 40 อนุ 1 คือ ประมวลลักษณะกรเนี่ย กำหนดหลักแก่ในการเสียภาษีของคู่สำรดเอาไว้ว่าอุ๊ย ถ้าคุณเป็นสามีภรรยากันน้า และภรรยามีเงินได้คุณต้องเอาเงินได้ตรงนั้นเนี่ย ถือเป็นส่วนหนึ่งของสามีและทำไปเสียภาษีในนามของสามียกเว้นว่าเงินได้นั้นเป็นเงินได้ประเภทเงินเดือนตามมาตราสี่สิบอันดุหนึ่งอันเนี้ยตัวภรรยาเนี้ยก็เสียภาษีในนามของตัวเองได้ซึ่งการปัญหาไว้แบบเนี้ยนะฮะ ก็เลยมีคนตั้งคําหาว่าทําไมภรรยาต้องเอาไปรวมกับสามี แล้วทำไมไม่เอาให้สามีไปรวมกับภรรยาบ้างล่ะ การบรรยากแบบเนี้ยขัดกับหลักความเสมอภาคและที่สําคัญเลยมันส่งผลให้เสียภาษีมากขึ้น เสียภาษีมากขึ้นยังไงอ่ะ ภาษีเงินได้เนี้ยนะฮะ บุคคลธรรมดาเนี้ยมันเป็นการเสียภาษีแบบขั้นบันไดยิ่งมีเงินได้เยอะเนี้ย อัตราภาษีอ่ะมันจะยิ่งสูง เนี้ยฮะแล้วพอคุณเอาเอาตัวเงินได้ของภรรยาไปรวมเป็นเงินได้ของของสามี ยอดที่จะ เสียภาษีของสามีเนี่ยมันก็จะเยอะขึ้นแล้วมันก็จะสูงมากกว่าปกตินะ คือถ้าแยกกันเนี่ยมันจะเสียภาษีน้อยกว่าแล้วพอคุณเอามารวมเนี่ยมันก็เสียภาษีมากขึ้นแล้วพอไปเทียบกับภรรยาอาหญิงซึ่งเป็นหญิงโสดไม่มีคู่สมรสเนี่ยมันก็จะเกิดผลประหลาดคือถ้าคุณมีคู่สมรสเนี่ยต้องเอาไปรวมกับสามีแล้วเสียภาษีสูงกว่าเดิมในขณะที่เป็นคนสดเสียภาษีตามปกติ ทั้ง ที่ ภาระ หน้า ที่ เนี่ย ดู เหมือน ว่า คน ที่ สม รส จะ ดูมี ภาระ มาก กว่า อีก นะ ถูก มั้ย ครับ ต้อง มี การ เลี้ยง ลูกอะไร อีก อะไร แบบ เนี้ย นี่ ฮะ เอ่อ ด้วย ความ ไม่ พอ ใจ แบบนี้ แหละ นะ มันก็ มีการ นํา ค ดี ขึ้น สู่ สาร นะฮะ เพื่อ ให้ สารก็ ไม่มี ผล ใช้ บ ัง ค ับ เราก็ต้องมีการตรากฎหมายขึ้นมาใหม่เพื่อแก้ไขนักหลักเกณฑ์ตรงนี้ให้มันสอดคล้องกับตัวรัฐธรรมนูนดังนั้นเราจะเห็นว่ากฎหมายต่างๆ มันต้องสอดคล้องกับกฎหมายที่อยู่สูงกว่าเสมอซึ่งในที่นี้ก็คือตัวรัฐธรรมนูนั่นเองนะครับทีนี้กฎหมายเฉพาะมาก่อนกฎหมายทั่วไปเรายกตัวอย่างไปเมื่อกี้นี้ในเรื่องของสัญญาถูกมั้ยฮะหรืออีกตัวอย่างหนึ่งสมมุติว่า ในประมวลกฎหมายแพ่งราภาณีมันหยัดนิยามของคําว่าขายเอาไว้ เนี่ยฮะในขณะเดียวกัน เนี่ยฮะ เอ่อ ตัวประมวลลักษณากรเนี่ยก็มันหยัดนิยามนะ ของคําว่าขายเอาไว้เช่นเดียวกันคําถามก็คือว่า กฎหมายแพ่งกับกฎหมายภาษีอะไรเป็นกฎหมายเฉพาะอะไรเป็นกฎหมายทั่วไปค่ะ กฎหมายแพ่งเนี่ยมันเป็นกฎหมายทั่วไปถูกไหมฮะคือเวลาเราพูดถึงการซื้อขายอ่ะ มันหมายถึงการซื้อขายตามกฎหมายแพ่งทั่วๆไป กรณี แต่ถ้าคนจะเอามาใช้กับการเสียภาษีเนี้ยการจะพิจารณาว่ามันเป็นการซื้อขายหรือไม่ ต้องพิจารณานิยามตามกฎหมายภาษีตามประโมนรัศนากรดังนั้นเนี้ยกฎหมายภาษีเนี้ยมันจึงมีลักษณะเป็นกฎหมายเฉพาะและประโมนแพทย์เนี้ยมีลักษณะเป็นกฎหมายทั่วไปนะฮะการปรับใช้เนี้ยต้องปรับใช้กฎหมายเฉพาะก่อนคือต้องดูว่าสถานการณ์ตรงนั้นเนี้ยมันเป็นสถานการณ์เฉพาะกรณีนั้นหรือไม่ ถ้ามันเป็นกรณีที่ต้องเสียภาษี ไปใช้กฎหมายเฉพาะแต่ถ้ารู้แล้วมันไม่ใช่ มันเป็นกรณีอื่นกลับไปใช้ประมวลกฎหมายแพงนักภาษณีย์นอกจากนี้ หลักการอีกอันหนึ่งก็คือเรื่องของความเป็นเอกเกษตรของกฎหมายภาษีกฎหมายภาษีมันจะมีเอกเกษตรเป็นของตัวเองถูกไหมค่ะ คืออย่างนิยามส่วนใหญ่ก็มีการบัญญาณนิยามไว้โดยเฉพาะ ก็ต้องมาดูนิยามตามกฎหมายภาษี มีสารภาษีเป็นของตัวเองมีคณะกรรมการวิธีขายที่ขาดข้อมีภาษาในทางภาษี โดยตัวเองแล้วค่อยไปสื่อสารอะไรแบบนี้ คือมันมีลักษณะความเป็นเอกเทศพอสมควรแยกต่างหากจากกฎหมายอื่นในระบบกฎหมายและอันสุดท้ายนะ คือหลักการตีความโดยเคร่งครัด ก็คือภาษีเนี้ย มันคือการที่รัฐเข้าไปจัดเก็บภาษี เรียกเก็บภาษีจากบุคคลถ้าเกิดว่ารัฐกำกัดสิทธิเสรีภาพในทรัพย์สินของคนเราถูกไหมครับการที่รัฐตามภาษีมาเรียกเก็บภาษีกับเรา มันคือการจำกัดสิทธิ์ พอมันเป็นการจำกัดสิทธิ์เนี่ยมันต้องกระทำเท่าที่จําเป็น นะ เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการนะเพื่อ ประโยชน์นะ ในการ เอ่อ จัดทําบริการสาธารณะต่างต่าง นะทีนี้พอมันเป็นการจำกัดสิทธิ์เนี่ย มันต้องตีความเคร่งครัดคือถ้ามันมีปัญหาว่า กฎหมายภาษีเนี่ยต้องตีความไปในทางไหน ระหว่างทางเอ่กับทางบี นะฮะซึ่งถ้าทางบีเนี่ย มันจํากัดสิทธิ์ของประชาชนมากกว่าแล้วทางเอ่มัน จำกัดสิทธิ์ของประชาชนน้อยกว่าแล้วกรณีแบบนี้จะทำอย่างไรซึ่งเราต้องตีความเคร่งครัดคือตีความจำกัดสิทธิ์ของประชาชนให้น้อยที่สุดจะตีความขยายความ จะตีความโดยเทียบเคียงกฎหมายไม่ได้ต้องตีความโดยเคร่งครัดตัวอักษรว่ายังไงต้องค่อนข้างเคร่งครัดตามตัวอักษรบรณพื้นฐานของเจนตนาโรคของกฎหมาย จะตีความขยายออกไป เว้อวางอะไรออกไปไม่ได้เพราะมันจำกัดสิทธิ์คน เป็นการจำกัดสิทธิ์ในที่ในทรัพย์สินของคนเรื่องต่อมา เรื่องต่อมาคือโครงสร้างภาษีเงินได้นิดดีบุคคล โครงสร้างของภาษีเงินได้นิติบุคคล อันนี้ก็จะเป็นเนื้อหลักที่เราจะมาพูดคุยกันในวันนี้ถูกไหมครับตัวโครงสร้างกฎหมายภาษีเงินได้นิติบุคคล มีอะไรที่เราต้องพูดคุยกันบ้างเรื่องแรกความสำคัญและความทั่วไปของภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีทางตรง เริ่มแรกก็คือตัวภาษีเงินได้นิติบุคคลเนี่ยเป็นภาษีทางตรงคือมันเก็บจากคนที่มีเงินได้ก็คือนิติบุคคลที่มีเงินได้บริษัทมีเงินได้ก็ถูกเรียกเก็บภาษีและมีหน้าที่ต้องชำระภาษีนะฮะเป็นภาษีทางตรงนะฮะสองนะฮะภาษีเงินได้นิติบุคคลเก็บจากการมีเงินได้นี่เราก็พูดไปแล้วนะฮะเก็บจากการมีเงินได้นะฮะ ซึ่งนิยามของคำว่าเงินได้ จะอยู่ในมาตรา 39 และมาตรา 40 ของประมวลรัศนากรซึ่งคำว่าเงินได้ในทางภาษี นิยามตามมาตรา 39 ค่อนข้างกว้างคือประโยชน์อะไรก็ตามที่เราได้รับมา ย่อมถือเป็นเงินได้ทั้งสิ้นอย่างเช่น สมมุติว่าเขาให้เราอยู่บ้าน โดยไม่ต้องเสียค่าเช่า ก็ถือว่าเราได้รับประโยชน์เป็นเงินได้แล้ว เช่นเดียวกันคือเงินได้มันไม่ได้จำกัดแค่เงินเท่านั้นมันยังอยู่ในรูปแบบอื่นๆได้ด้วย เช่นทรัพย์สินหรือประโยชน์ที่คิดคำนวณเป็นเงินได้โอเค อันนี้คือเรื่องแรกซึ่งความสำคัญของภาษีกระด้านนิตย์บุคคล ถ้าเราดูรายได้การจัดเก็บภาษีของรัฐถ้าเราดูภาษีทั้งหมดที่รัฐจัดเก็บได้ ภาษีกระด้านนิตย์บุคคลรัฐจัดเก็บได้ คิดเป็น 20% ของเงินภาษีทั้งหมดที่รัฐจัดเก็บได้เลยทีเดียวนะครับ 20%และอันที่มากที่สุดเนี่ยก็คือแวดหรือภาษีมูลค่าเพิ่มนะครับรัฐจัดเก็บไป 41% จากภาษีทั้งหมดนะครับส่วนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเนี่ยจริงๆ รัฐจัดเก็บน้อยมากเลยนะครับจะเก็บไปได้แค่ 17.94% เท่านั้นคือรายได้หลักส่วนใหญ่ของรัฐเนี่ยมันจะภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นส่วนใหญ่เลยนะครับโอเคเนาะทีนี้ ความสำคัญและความทั่วไปของภาษีเงินได้นิดิบุคคล เราพูดไปแล้วเรื่องต่อมาเราจะมาพูดถึงโครงสร้างกฎหมายภาษีเงินได้นิดิบุคคลอันแรกก็คือผู้มีหน้าที่เสียภาษีผู้มีหน้าที่เสียภาษีก็คือบริษัทหรือห้างคุณส่วนนิดิบุคคลซึ่งบริษัทหรือห้างคุณส่วนนิดิบุคคลคืออะไร จะมีนิยามอยู่ที่มาตรา 39 ซึ่งบริษัทหรือห้างส่วนนิติบุคคลที่ต้องเสียวาสินกระแดนนิติบุคคลเนี่ยหลักๆมีอะไรบ้างก็คือบริษัท 1 หรือห้างคุณสวทนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายทายบริษัทหรือห้างส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายทาย 2. บริษัทหรือห้างสถิติบุคคลที่ตั้งขึ้น ตามกฎหมายต่างประเทศ ตามกฎหมายต่างประเทศกิจการ อันต่อมากิจการของรัฐซึ่งดำเนินทางการค้าหรือหากำไรโดยรัฐบาล ต่างประเทศนะฮะ ก็จะเป็นบริษัทหรือห้างสวทิศิบุคคลตามนิยามในมาตราสามสิบเก้าเช่นเดียวกันแล้วถ้ามีเงินได้ก็ต้องเสียภาษีไว้เช่นเดียวกัน นี่ฮะซึ่งนอกจากวัฒนาบาลต่างประเทศแล้วยังรวมไปถึงองค์การระหว่างประเทศ นะฮะด้วยนะครับ อ่ะ อ่ะ ผมใส่ตัวเลขนิดหนึ่งจะได้เข้าใจได้นะฮะสอง บริษัท สาม กิจการทั้งตรงนี้ โอเค 4. กิจการร่วมขา5. มูลนิธิหรือสมาคมมูลนิธิหรือสมาคมเขาก็ต้องเสียประสิทธิ์ได้นิดหนึ่งบุคคลนะถ้าเขามีเงินได้แต่ว่าถ้าสมมุติว่าเขาไปจดทะเบียนเป็นสาธารณะกุศลเป็นแต่มูลนิธิหรือสมาคมที่ ทำไปเพื่อสาธารณะกุศลมีการจดทะเบียนอย่างเป็นทางการอะไรแบบนี้นะฮะก็จะไม่ต้องเสียภาษิงกันได้นิติบุคคลนะฮะ ก็จะได้รับยกเวลนะฮะอันต่อมาคือนิติบุคคลที่อธิบดีกำหนดนะฮะนิติบุคคลที่อธิบดีลงสรรพากรกำหนด เช่น กรต.

นะฮะ กรต. นะฮะ ไม่ใช่กรตตอสิ ผมใช้คำยอบผิด ตลาดหลักทรัพย์ทีนี้ ถ้าเราดู เราจะสังเกตว่ามันจะมีนิตยบุคคลบางกลุ่มที่ไม่เสียภาษีในด้านนิตยบุคคลหรือไม่เข้านิยามของบริษัทและทางส่วนนิตยบุคคล ก็คือบรรดานนิตยบุคคลที่เป็นนิตยบุคคลในสังกัดรัฐในกระทรวมทะบวงกรมองค์การรัฐบาล รวมถึงวัด สหกร รวมถึงภาคการเมืองด้วยนะฮะ ไม่ต้องเสียภาษีก็ได้นิดนี่บุคคลนะฮะโอเค ทีนี้ อันต่อมาคือเรื่องของฐานภาษีฐานภาษีเนี่ย คือสิ่งที่เราจะเอามาคิดในการเสียภาษีอ่ะซึ่งถ้าเป็นภาษีก็ได้นิดนี่บุคคลเนี่ย เราบอกว่าเก็บจากเงินได้ถูกมั้ยฮะแล้ว แล้วเก็บยังไงอ่ะ เก็บจากฐานตรงไหน นี่ฮะเอ่อ ในร่องฐานภาษีเนี่ย โดยหลักเอาหลักก่อนหลักคือเก็บจากกําไรสุทธิ คือเมื่อบริษัทมีกำไรสุทธิก็ต้องเสียภาษีเงินได้ นิตยบุคคลตามมาตรา 65แต่ในบางกรณีนิตยบุคคลบางประเภทจะไม่ได้เสียภาษีจากฐานกำไรสุทธิแต่จะเสียภาษีจากฐานอื่นๆ ตามข้อ 2.2 2.3 และ 2.4ซึ่ง 2.2 2.3 และ 2.4 คืออะไรเราค่อยไปดูกันแต่ในโดยหลักแล้ว เราเสียภาษีจากฐานกำไรสุทธินะครับ ทีนี้การคำนวณภาษีจากฐานภาษีในข้อ 3.1 และ 2.4 รายละเอียดเดี๋ยวเราไปดูกันแต่ว่าเรามาดูข้อ 3 ก่อนนะ ข้อวางเล็บ 3ในข้อวางเล็บ 3 คือเรื่องของการยกเว้นภาษีเงินได้ในที่บุคคลก็คือโอเคโดยหลักคุณเป็นนิตยบุคคล เป็นบริษัทเรียงสวยลิขที่บุคคลคุณมีเงินได้คุณก็ต้องเสียภาษีถูกไหมครับแต่บางกรณีอย่างกฎหมายก็จะยกเว้นภาษีเงินได้ในที่บุคคลเอาไว้ด้วยนะเช่น ถ้าคุณทำธุรกิจบางประเภทที่กฎหมายต้องการจะสนับสนุนให้คุณประกอบธุรกิจนั้นกฎหมายก็จะยกเว้นภาษีให้เช่น ตอนนี้รัฐเห็นว่านโยบายที่สำคัญคือเรื่องของการเสริมสร้างนวัตกรรมเทคโนโลยีต่างๆรัฐก็เลยตากฎหมายขึ้นมาว่าถ้าคุณทำธุรกิจเกี่ยวกับเทคโนโลยีจะได้รับยกเว้นภาษีขนาดนิติบุคคล 1 ล้านบาทอะไรแบบนี้คุณก็จะได้รับยกเว้นภาษีขนาดนิติบุคคลไปตามกฎหมาย ซึ่งการที่คุณจะได้รับสิทธิประโยชน์ในการยกเว้นภาษีแรกที่บุคคลหรือไม่มันต้องไปดูกฎหมาย ซึ่งกฎหมายนี้มักจะกำหนดเอาไว้เยอะมากต้องไปดูตัวกฎหมายที่กำหนดหลักเกณฑ์ตรงนี้เอาไว้ ซึ่งมีอยู่เยอะมากแต่ว่าตรงนี้ผมบอกไว้เป็นแนวทางคร่าว ว่าถ้าเราอยากรู้ว่าต้องเสียภาษีไหม เราต้องมาดูเรื่องนี้ด้วยนะว่ามันมีกฎหมายยกเว้นภาษีหรือเปล่าหลีกกรณีหนึ่ง เช่น กรณีที่บริษัท เนี้ย นะฮะ ไปถือหุ้นในบริษัทอื่ กรณีที่บริษัทไปถือหุ้นในบริษัทอื่นแล้วได้รับปัญหาผลจากบริษัทนั้นบริษัทที่ได้รับเงินปัญหาผล คือบริษัทที่ไปถือหุ้นในบริษัทเขาอาจจะไม่ต้องเสียภาษีในบางกรณีมันจะมีหลักแยนที่กฎหมายกำหนดจุอาจจะไม่ต้องเสียภาษีในบางกรณีซึ่งกรณีแบบนี้ บริษัทบางประเภท บริษัทบางบริษัทเนี่ยนะ เขาก็จะใช้สิทธิประโยชน์ตรงเนี้ยในการตั้งบริษัทคอลดิ้งขึ้นมาเป็นบริษัทแม่ ซึ่งจะเป็นบริษัทที่ไปถือหุ้นในบริษัทลูกต่างต่างคือตัวเองไม่ได้ทําธุรกิจอะไรหรอก แค่ไปถือหุ้นในบริษัทต่างต่าง เนี่ยฮะแล้วสุดท้ายถ้าบริษัทลูกไปประกอบกิจการเกิดกําไรก็ปั่นผลกลับมาอย่างบริษัทแม่บริษัทแม่ก็ไม่ต้องเสียภาษีซ้ําอีก นะคะ เป็นแบบนั้น นะฮะ อีกกรณีหนึ่งนะ คือการยกเว้นภาษีก็ได้ได้ที่บุคคลให้แก่สนับงานใหญ่ข้ามประเทศนะฮะ นี่ก็คือเป็นเรื่องกฎหมายรอบประเทศด้วยในบางกรณีอ่ะนี่ก็จะมีกฎหมายกําหนดไว้อีกนะฮะ ซึ่งตรงนี้มันเป็นเรื่องเฉพาะมาก นี่ฮะเดี๋ยวเราเข้าไปดูกันในละเอียดในในเนื้อห้าของวิชาอื่นอื่นนะฮะ เอ่อเรื่องต่อมาคือเรื่องของอัตราภาษี นี่ฮะ ในเรื่องของอัตราภาษีเนี่ยนะฮะเอ่อ มันก็จะอิงกับ ตัวฐานภาษียักษ์ ฐานภาษีนะฮะ ถ้าเป็นการจัดเก็บภาษีจากกําไรสุทธิตรงนี้นะฮะกําไรกําไรสุทธิตรงเนี้ย อัตราภาษีโดยหลักแล้วจะเก็บยี่สิบเปอร์เซ็นต์จากกําไรสินวัตรบริษัทมีรายได้ เอ่อ เป็น มีกําไรสุทธิตรงนึงหลายน้ําบาทก็จะจัดเก็บยี่สิบเปอร์เซ็นต์จากกําไรสุทธิตรงหนึ่งหลายล้านบาทก็จะเก็บยี่สิบล้านบาทนั่นเอง นะฮะ แต่ว่า อันนี้คือกรณีของนิติบุคคลทั่วๆไป แต่ว่ามันจะมีกฎหมายให้สิทธิประโยชน์กับ SMEคือถ้าเป็นนิติบุคคลที่เป็นธุรกิจขนาดเล็ก ก็คือเป็นธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมกฎหมายจะให้สิทธิประโยชน์ในทางภาษีเอาไว้ คือว่าถ้าคุณมีกำไรสุทธิไม่เกิน 3 แสนบาทส่วนที่ไม่เกิน 3 แสนบาท ไม่ต้องเสียภาษี ไม่ต้องเสียภาษีเลย ถ้าคุณมีเงินได้ไม่ถึง 3 แสนบาทมีการรายสุทธิไม่ถึง 3 แสนบาท ไม่ต้องเสียภาษีแต่ถ้าคุณมีเงินได้ตั้งแต่ 3 แสน มากกว่า 3 แสนไปจนถึง 3 ล้าน อันนี้เสีย 15%แต่ถ้าคุณเป็น SME ที่มีรายได้มากกว่า 3 ล้านขึ้นไปอันนี้ถึงจะเสีย 20% เท่ากับริธีบุคคลทั่วๆ ไปตามปกติดังนั้นถ้าเป็น SME มันก็จะเสียภาษีน้อยกว่า เสียภาษีน้อยกว่า เนื่องจากกฎหมายในต้องการนิจจัยสนามสนุทรการประกอบธุรกิจของโต๊ะ SME นั่นเองโอเค นี่คือเรื่องอัตราภาษีทีนี้อัตราภาษีในฐานภาษีอื่นๆในข้อ 2.2 2.3 2.4 ที่เป็นวงเล็กตรงนี้เดี๋ยวเราเข้าไปดูกัน เราต้องพูดถึงหัวข้อ 2.2 2.3 2.4แต่ในเบื้องต้นในฐานกำไรสุทธินี่ นิติบุคคลเก็บ 20 ถูกไหม แต่ถ้าเป็น SME ก็จะได้รับเสนอที่ประโยชน์อะไรบางอย่างก็ลดหลัดลงมาตามรายได้อย่างที่กลับไปก่อนเมื่อกี้นี้โอเคทีนี้เรามาดูฐานกำไรสุทธินิดนึงฐานกำไรสุทธิฐานกำไรสุทธิคือจัดเก็บจากกำไรสุทธิของบริษัทถูกมั้ยฮะก็คือกำไรสุทธิถามว่ามาจากไหนก็คือเอาตัวรายได้ ของบริษัท ลบกับค่าใช้จ่าย เอารายได้ลบกับค่าใช้จ่ายก็จะเป็นกําไรของบริษัท แล้วเอากําไรตรงนั้นไปคํานวณเสียภาษี ดังนั้นการคํานวณกําไรสุทธิตรงนี้คือเอารายได้ ลบรายจ่าย เกิดเป็นกําไรสุทธิพอได้กําไรสุทธิมาแล้ว ก็จะเป็นฐานภาษี ในการคำนวณภาษีขนาดหน้าที่ดิบบุคคล ซึ่งการรับรู้รายได้รายจ่ายตรงนี้เนี่ยนะฮะเราใช้เกณฑ์ที่เรียกว่าเกณฑ์สิทธิ์ นะฮะ ซึ่งเกณฑ์สิทธิ์เนี่ยเราพูดกันไปบ้างแล้วแหละในวิชา เอ่อ บัญชีภาษีถูกไหมฮะ ก็คือว่าเราจะถือว่าบริษัทมีรายได้เกิดขึ้นหรือถือว่าบริษัทมีรายจ่ายก็ต่อเมื่อ นี่ฮะ บริษัทเนี่ยได้ทําธุรกรรมนั้นจริงจริงด้วยไม่ต้องคําหนึ่งว่าบริษัทเนี่ยได้รับ เงินมาแล้วหรือไม่ เช่นสมมุติบริษัทได้ขายสินค้าให้กับลูกค้าไปแล้วมีการส่งมอบสินค้าให้กับลูกค้าไปแล้ว แม้ตัวลูกค้าแต่ยังไม่ได้ชำระราคาก็ต้องถือว่าบริษัทมีรายได้เกิดขึ้นแล้ว มีรายได้เกิดขึ้นแล้ว ซึ่งถ้าการขายสินค้าตรงนั้นมันมีค่าใช้จ่ายต่างต่างก็ต้องถือว่ามีค่าใช้จ่ายเกิดขึ้นแล้ว รับรู้เป็นรายจ่ายแล้วนะครับ อันนี้คือเรื่องของเกณฑ์สิทธิ์ โดยไม่ต้องสนใจเลยว่าลูกค้าเนี่ยชำระเงินมาแล้วหรือยัง นะฮะ ก็ต้องนําไปบันทึกคํานวณเป็นภาษีแล้วนะฮะ โอเค นี่คือเรื่องของเกณฑ์สิทธิ์กับการรับรู้นะ รายได้อะไรจ่ะ นะฮะ ทีนี้พอเราบอกว่าใช้ฐานกําไรสุทธิ แล้วเราบอกว่าให้เอารายได้รบรายจ่ายมันก็จะมีหลักเกณฑ์ในการคำนวณกำไรสุทธิศอยู่ที่มาตรา 65 ทวี65 ทวี ซึ่ง 65 ทวีมันจะมีหลายวงเล็บมากเลยในที่นี้เราคงไม่สามารถพูดกันได้ทั้งหมดแต่ว่ายกเป็นตัวอย่างที่สำคัญๆแล้วกันอันแรกคือ 65 ทวี วงเล็บ 4 65 ทวิตร วงเล็บ 4 นะฮะ การ โอน สิน ทรัพย์ อ่า การ โอน ทรัพย์ สินเนี้ย ต่ํากว่า ราคา ตลาด โดย ไม่มี เหตุ อันสมควร นะฮะ บริ บับนี้ เนี้ย นะฮะ จ้า บริการ ประเมิน เนี้ย มี อันด้า ประเมิน นะฮะราย ด้า เนี้ย ตาม ราคา ตลาด ที่ แท้ จริง ได้ เนี้ย อันนี้ คือเนี้ย มี บ้าน หลัง หนึ่ง บ้าน ราคา สิบ ล้าน แต่ ผม ขาย คนอื่น ไป อ่ะ มันต้องเป็นบริษัทสิเนอะ ไม่ใช่บุคคลธรรมดา อ่ะสมมุติบริษัท บริษัทหนึ่งเนี่ย มีอาคารราคาสิบล้านแต่บริษัทกับขายอาคารนั้นไปในราคาหนึ่งล้านบาทอ่ะมันต่ํากว่าราคาตลาดโดยที่มันไม่มีเหตุอันสมควรอะไรเลยกรียมแบบนี้เจ้าบริษัทประเมินเนี่ย ก็มีรัฐประเมินรายได้ของบริษัทว่าขายไปสิบล้านบาทตามราคาตลาดได้ แม้ในความเป็นจริงบริษัทจะขายไปหนึ่งล้านบาทก็ตามนะฮะ ซึ่งเหตุผลตรงนี้ก็คือเป็นไปเพื่อป้องกันไม่ให้ตัวริดีบุคคลหลีกเลี่ยงภาษีนั่นเองนะครับทีนี้การโอนทรัพย์สินต่ำกว่าราคาตลาดมันก็จะมีดีการอยู่ 2 ตัวที่มันน่าสนใจอย่างเช่น ดีการที่ 4330-2545การที่โจทย์ขายสินค้าให้ห้างซ่อโซ่ถูกกว่าลูกค้าอะไร อื่น นะฮะ เพราะถ้าไม่ลดราคาให้เป็นพิเศษ เช่นเดียวกับผู้ขายเดิม นะฮะเคยลดให้ห้าง ซอโซ เนี้ย ก็จะไม่ซื้อสินค้า นะฮะ คือ ตอนนี้ นะฮะคือบริษัท อ่ะ ลดราคาให้กับลูกค้า นะฮะ โดยสาเหตุที่ลดให้ก็เพราะว่าถ้าไม่ลดราคาเป็นพิเศษ เนี้ยฮะ เขาจะไม่ซื้อ เพราะเขาบอกว่าเนี้ยคุณอ่ะ ลดให้กับคนอื่นอื่น แต่คุณไม่ลดให้ผมแล้วยังไง แล้วคุณก็ต้องลดให้ผมด้วย เราก็เลยลดให้ประกอบกับลูกค้าเนี่ย คนนั้นเขาจะเอาสินค้าของเราไปขายต่อแล้วคนที่จะมาซื้อต่อเนี่ย มันเป็นกลุ่มเป้าหมายหรือเป็นกลุ่มลูกค้าที่สำคัญของบริษัทของเราเราก็เลยจำเป็นที่จะต้องลดให้เพื่อให้ขายสินค้าได้ประกอบกับตัวสินค้าตรงนั้นเนี่ย ถ้าขายออกไปได้ มันก็น่าจะทำให้ตัวลูกค้าที่ซื้อต่อรู้จักและแค่หลายสินค้านั้นออกไปบ้างยิ่งขึ้นได้ดังนั้นการที่คุณลดราคาสินค้าเพื่อให้ Soso ซื้อเพื่อให้ Soso ไปจำหน่ายต่อ ซึ่งมีถัดลูกค้าอยู่เป็นจำนวนมากมันก็เลยดูเป็นเรื่องที่สมเหตุสมควรเป็นการลดราคาหรือขายต่ำกว่าราคาตลาดที่มีเหตุอันสมควร พอมันเป็นการขายต่ำกว่าราคาตลาดที่มีเหตุอันสมควรคุณก็รับรู้เป็นรายได้ตามที่คุณขายเลยคือเจ้าพนักงานประเมินจะไม่มีอำนาจในการประเมินตามราคาตลาดแล้วเพราะคุณขายไปโดยมีเหตุอันสมควรแต่ถ้ามันไม่มีเหตุอันสมควรอะไรแล้วคุณขายต่ำกว่าราคาตลาดแบบนี้เจ้าพนักงานประเมินก็จะมีอำนาจในการประเมินรายได้ตามราคาท้องตลาดได้อย่างเช่นในดิการถัดมา 10341-50 ดีการที่ 10341-50 ในดีการตัวนี้ บริษัทขายรถจนต่ำกว่าราคาตลาดโดยที่ไม่ปรากฏว่ามีเหตุอะไรให้ต้องลดราคาเลย เศรษฐกิจก็ยังดีอยู่ตัวบริษัทก็ไม่ได้มีเหตุการณ์อะไรที่จะต้องใช้เงินสดอะไร ต้องรีบขายไปในราคาถูกแบบนั้นบริแบบนี้ก็ต้องถือว่าคุณขายสินค้าต่ำกว่าราคาตลาดโดยที่ไม่มีเหตุอันสมควร เจ้าพนักงานประเมินเนี่ยก็จะมีร่างกายการประเมินนะฮะราคาเสียงทรัพย์ตรงนั้นเนี่ยตามราคาตลาดได้นะฮะแต่ถ้าเขาได้จริงเปลี่ยนไปว่า นี่ช่วงนั้นเป็นช่วงโควิดแบบเนี้ยอ่ะ แล้วสินค้ามันขายไม่ค่อยได้ แล้วคุณไม่มีเงินสดอยู่ในบริษัทเลยคุณต้องใช้เงินสดในการบริหารจัดการบริษัทคุณก็เลยจะต้องขายสินค่าออกไปในราคาที่ต่ำกว่าท้องตลาดเพื่อให้ได้เงินสดมาในการบริหารเพื่อป้องกันให้ตัวบริษัทแข่งเงินสดแล้วก็ผิดนัชนาณีหรืออาจจะล้มลายต่อมาก็เลยต้องขายออกไปในราคาที่ต่ำกว่าน้องตลาดแบบนี้ก็คือมีเหตุผลเมื่อมีเหตุผลคุณก็รับรู้รายได้จากการขายตามที่คุณขายได้เลย จ้าบรรงานประเมินไม่มีร่างในการประเมิน ตามราคาท้องตลาดได้อันต่อมา 65 ทวี วงเล็ก 3ตรงนี้ไม่ใช่ 65 ทวี มันต้องเป็น 65 ตรี แก้เป็น 65 ตรีคือเรื่องของรายจ่ายมีลักษณะเป็นการส่วนตัว ต้องห้ามไม่ให้หักเป็นรายจ่าย คือประสิทธิ์แรกที่บุคคลเนี่ยคือเอารายได้ลบรายจ่ายถูกไหม เป็นกำไรสุทธิ ทีนี้รายจ่ายของบริษัทเนี่ยมันก็จะมีหลายรูปแบบค่าจากพนักงาน ค่าอุปกรณ์สำนักงาน ค่าซื้อสินทรัพย์นะฮะมาบริหารจัดการ ค่าใช้จ่ายต่างต่างอะไรแบบเนี้ยคือมันมีรายจ่ายหลายอย่าง แต่รายจ่ายที่บริษัทจ่ายไปเนี้ย ไม่ใช่รายจ่ายทุกประเภทที่จะนำมาบันทึกเป็นรายจ่ายเพื่อมันนำไปกำลังภาษีได้มันจะมีรายจ่ายบางอย่างที่กฎหมายเนี่ยไม่อนุญาตให้บันทึกเป็นรายจ่ายพอมันมีรายจ่ายบางอย่างที่กฎหมายไม่อนุญาตให้มาบันทึกเป็นรายจ่ายก็แสดงว่ารายจ่ายอันนั้นจะถูกตัดออกไปไม่ถือว่าเป็นรายจ่ายพอถูกตัดออกไปเนี่ยตัวรายได้มันก็จะมีฐานที่เพิ่มขึ้นมันก็จะเสียภาษีมากขึ้นกว่าปกติทีนี้เนี่ย มาตรา 65 ทวี วง.เล็ก 3 คือ รายจ่ายอนามีลักษณะเป็นการส่วนตัวซึ่งรายจ่ายอนามีลักษณะเป็นการส่วนตัว ไม่ให้ถือว่าเป็นรายจ่ายของบริษัทคือสิ่งที่จะถือว่าเป็นรายจ่ายของบริษัท มันก็ควรจะเป็นรายจ่ายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการบริษัทจริงๆคือถ้ามันเป็นรายจ่ายที่มีลักษณะเป็นการส่วนตัวของตัวเจ้าของบริษัทเอง เราไม่ควรจะถือว่าเป็นรายจ่าย มิชชนันเนี่ย ก็มิชชนันเนี่ย มันจะเกิดเหตุการณ์ที่ว่าตัวเจ้าของอ่ะนะฮะ ก็ใช้เงินของบริษัทเนี่ย จ่ายนู่นจ่ายหนี้ไปเพื่อการส่วนตัวไปแล้วก็รับรู้ไปลายจ่ายสุดท้ายเนี่ย บริษัทก็ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้ในส่วนนั้นเนี่ยฮะ ซึ่งมันก็จะไม่เป็นผลดีถูกไหมฮะ กับตัวรัฐถูกไหมดังนั้นอันกดมาก็เลยมีมาตราแบบเนี้ยขึ้นมา ทีนี้เนี่ยในดิการที่สี่ศูนย์แปดสองทั้งสองพันห้าร้อยสามสิบห้าเนี่ยฮะ ในการที่ 4082 ทาง 2535 ตัวสารได้พิพากษาอ้อยว่ารายจ่ายที่บริษัทจ่ายไปเพื่อช่วยเหลืองานในทางสังคมเช่น งานบวช งานบุญ งานแต่ง อะไรแบบนี้กรณีแบบนี้มันถือว่ามีศาสตร์เป็นรายจ่ายเพื่อการเสริมตัวของเจ้าของกิจการมากกว่าจะเป็นรายจ่ายที่เกี่ยวกับ กับการบริหารจัดการของบริษัท ดังนั้นเนี่ย เมื่อถือว่าเป็นรายจ่ายอิมิตรศัตริการส่วนตัว คุณจะมาบันทิกเป็นรายจ่ายไม่ได้นะครับ โอเค นี่คือ 4086-35 นะฮะอีกตัวอย่างหนึ่ง นี่ฮะ มาตรา 65 ตรี วงเล็บ 6 นะฮะในมาตรา 65 ตรี วงเล็บ 6 เนี่ย นะฮะ อ่ะ ย้อนกลับมา นะฮะก็คือเบี้ยปรับหรือเงินเพิ่มภาษีอากร คือ 65 ตัวริมวลฤษฐกรณ์บอกว่า เบี้ยปรับหรือเงินเพิ่มภาษีอากรหรือค่าปรับทางอาญาหรือภาษีแกรกของบริษัทและความสวยดีที่บุคคล ไม่ให้ถือว่าเป็นรายจ่ายทีนี้มันก็เลยเกิดปัญหา คือว่าเบี้ยปรับหรือเงินเพิ่มภาษีอากรหรือค่าปรับ ในทางอาญาตามระดับสิบห้าตรี วงฤษ เนี่ย มันรวมถึงค่าปรับอะไรบ้างคือค่าปรับมันมันก็มีได้หลายแบบถูกไหมฮะ ค่าปรับในทางภาษี เนี่ยค่าปรับในกฎหมายอื่นอื่นแบบเนี้ย เนี่ยฮะ ค่าปรับตรงนี้เนี่ยที่ไม่ถูกบันทึกไปลายจ่ายเนี่ย มันมีอะไรบ้าง นะ ตรงนี้เนี่ยคําวินิจฉัยของกรรมการวินิจฉัยภาษีอังกฎที่สี่สิบเก้าสําหรับทางสิบเนี่ยก็วางแหละ เอาไว้ว่า เบี้ยปรับตรงเนี้ยหมายถึงเบี้ยปรับเงินเพิ่ม หรือค่าปรับ ในทางกฎหมายภาษีเท่านั้น แต่ถ้ามันเป็นเบี้ยปรับในทางกฎหมายอื่นอย่างเช่น กฎหมายอายาที่มันไม่เกี่ยวข้องกับภาษีเลย นะฮะตรงเนี้ย นะฮะ ก็สามารถบันทึกเป็นรายจ่ายได้ นะฮะก็สามารถบันทึกเป็นรายจ่ายได้ นะฮะ โอเค นะฮะ อันนี้คือหกสิบห้าตุ๋ยมลพ นี่ฮะ หกสิบห้าตุ๋ยมลพอันเนี้ยทั้งหมดทั้งหมดเนี้ยคือการจัดเก็บภาษีการณะดิดิบุคคลจัดขันกําไรสุทธิ ถูกมั้ยฮะจัดขันกําไรสุทธิ นะฮะ เรื่องต่อมานะ คือการจัดเก็บภาษีการณะดิดิบุคคลจัดยอดรายได้ก่อนหักรายจ่าย นี่ฮะ ยอดรายได้ก่อนหักรายจ่าย นี่ฮะ ก็จะมีอยู่สองกรณีนะฮะ แต่ว่าที่น่าสนใจเนี่ยผมพูดแค่กรณีแรกเนอะก็คือเรื่องของกิจการขนส่งระหว่างประเทศ ของบริษัทหรือห้างสนิทบุคคลเนี่ยต่างประเทศก็คือถ้าคุณเป็นบริษัทต่างประเทศแล้วคุณประกอบกิจการขนส่ง เนี่ยฮะแล้วคุณต้องมีการขนส่ง เนี่ยฮะ คนโดยสารหรือขนส่งสินค้าเนี่ยโดยมีประเทศไทยเนี่ยเข้ามาเกี่ยวข้องเช่น เอ่อ มีการขนมาที่ประเทศไทยแล้วขนออกไปยังประเทศไทยอะไรแบบเนี้ย มีประเทศไทยเป็นทางผ่านอะไรแบบเนี้ย กิจการของคุณอ่ะต้องเสียภาษีหรือไม่อย่างไรเนี้ยฮะ ในตรงนี้เนี้ยฮะ คําตอบคือคุณอาจจะต้องเสียภาษีขณะนี้ที่บุคคลตามกฎหมายไทยด้วยนะฮะ โดยเสียภาษีจากทุกยอดรายได้ก่อนหากไวจ่าย ซึ่ง การเสียภาษีตรงนี้เสียอย่างไรก็คือว่า ถ้ากิจการขนส่งระหว่างประเทศนั้นเนี้ย นะฮะเป็นการขนส่งคน เป็นการขนส่งคน คุณจะต้องเสียภาษีเงินได้นิดีบุคคลขนส่งคน เก็บภาษีเงินได้นิดีบุคคล จากยอดรายรับที่คุณได้เรียกเก็บในประเทศไทยเช่น คุณประกอบธุรกิจเครื่องบิน สายการบิน คุณก็คือขนคนจากประเทศหนึ่งไปอีกประเทศหนึ่งสมมุติว่ามีการขนคนจากอินเดียมาไทย กับขนคนจากไทยไปอินเดียคำถามคือ คุณต้องเสียภาษีเงินได้ตรงนั้นหรือไม่คำตอบคือการเสียภาษีตรงนี้ เราไม่สนใจว่าคุณจะขนคนจากต่างประเทศมาไทยหรือจากไทยไปต่างประเทศเราสนแค่ว่าค่าบริการที่คุณเรียกเจ็บมั้ง คุณเรียกเก็บที่ประเทศไทยหรือเปล่า ถ้าคุณเรียกเก็บที่ไทยไม่ว่าจะเป็นการขนคลจากอินเดียมาไทย หรือจากไทยไปต่างประเทศก็ตามเนี่ยคุณก็ต้องเสียภาษีในประเทศไทยทั้งสิ้น นะฮะแต่ถ้าคุณเรียกเก็บค่าโดยสารที่ต่างประเทศ เช่น คุณเรียกเก็บค่าโดยสารที่อินเดียคุณเรียกเก็บค่าโดยสารที่ญี่ปุ่น กรณีแบบเนี้ย นะฮะเอ่อ ก็จะไม่ถือว่าคุณอ่ะ เรียกเก็บค่าโดยสารในประเทศไทยแล้วก็ไม่ต้องเสียภาษีอะไรที่ที่บุคคล จากยอดรายได้ก่อนนะ ก็สังเกตตรงนี้คือว่าการเสียภาษีตรงนี้คือมันเป็นการเสียภาษีจากยอดรายได้เลยนะฮะก่อนหักรายจากก็คือเช่นค่าโดยสารตรงนั้นสมมุติว่าในการบริการส่งคนเนี่ยคุณเรียกเก็บค่าโดยสารที่ประเทศไทยนะฮะที่สนามบินในประเทศไทยคุณเรียกเก็บค่าโดยสารหนึ่งหกร้อยบาทนะฮะถ้าเป็นการเสียภาษีจากฐานกําไรสุดที่คือเอาหนึ่งหกร้อยรบต้นทุนแล้วเอาไปคํารวณภาษีจากกําไรสุดที่ถูกไหม แต่ตรงนี้เนี่ยมันเป็นการจัดเก็บภาษีจากยอดรายได้ก่อนหักรายจ่ายก็คือคุณเก็บมาร้อยบาทเนี่ย ก็คือเอาร้อยบาทตรงนั้นเนี่ยไปเสียภาษีเลยซึ่งอันตราภาษีจากยอดรายได้ก่อนหักรายจ่ายเนี่ยมันก็จะน้อยกว่า นะฮะเมื่อเทียบกับยอดกําไรสุทธินะฮะ ซึ่งตรงเนี้ยนะฮะกฎหมายก็จะเก็บสามเปอร์เซ็นต์ เช่น มีการขนคนโดยสารจากไทยไปต่างประเทศแล้วเรียกเก็บที่สายการบินที่สนามบินไทย นะฮะ เอ่อมีการเรียกเก็บค่าโดยสารหนึ่งร้อยบาท แล้วเราบอกว่า เอ่อ ภาษีเนี่ย สามเปอร์เซ็นต์ ก็แสดงว่ามีการจัดเก็บภาษีออกไปสามเปอร์เซ็นต์ นะฮะ จากหนึ่งร้อยบาท เหลือเก้าสิบเจ็ดบาท นะฮะที่ เอ่อ ตัวบริษัทเนี่ย จะได้รับ นะครับ โอเค นี่คือสองจุดสอง นี่ฮะยอดรายได้กว่าหักรายจาน นะฮะ สองจุดสาม นะฮะคือการจัดเก็บภาษีจากเงินได้ ที่จ่ายจา��หรือจ่ายในประเทศไทย นะฮะยกไว้เงินปันผลหักสิบเปอร์เซ็นต์ นะฮะ คือกรณี 2.3 เนี่ย คือกรณีที่คุณเป็นบริษัทหรือห้างส่วนที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศคือโดยละ ถ้าคุณเป็นบริษัทไทย มันจะไปใช้ฐานกำไรสุทธิ ถูกไหมอันนั้นใช้ 2.1 ไม่มีปัญหา แต่ว่าถ้าคุณเป็นบริษัทต่างประเทศเนี่ยคุณต้องเสียภาษีไหม อ่ะ กฎหมายก็จะรู้ถ้าคุณเป็นกิจการขนส่ง นะ อ่ะ ก็ไปดู 2.2 เสียจากย่อรายได้ก่อนหาประจายแต่ถ้าคุณไม่ได้ประกอบจาก เอ่อ ถ้าคุณไม่ได้ประกอบกิจการขนส่ง แล้วคุณเป็นอิดีตบุคคลต่างประเทศนะฮะบริแบบนี้เนี่ยนะฮะ อาจต้องดูนิดนึงว่าคุณมีจุดกว่าเกี่ยวอะไรบางอย่างกับประเทศไทยไหมซึ่งในข้อ 2.3 เนี่ย ก็จะกระหมดเอาไว้ว่าถ้าคุณเป็นบริษัทต่างประเทศ ไม่ได้ประกอบกิจการในไทย แต่ว่าคุณมีเงินได้เนี่ยตามมาตราสี่สิบวันหนึ่งสองสามสี่ห้าหก ที่จ่ายจากหรือจ่ายในประเทศไทยนะฮะ คุณก็ต้องเสียภาษี นะฮะ ในประเทศไทยด้วย เนี่ยฮะโอเคเนอะ ทีนี้คุณต้องเป็นบริษัทต่างประเทศที่อันเนี้ยทุกคนเข้าใจคือคุณต้องเป็นบริษัทที่จดทะเบียนในต่างประเทศ นะฮะและสองไม่ได้ประกอบกิจการในไทยก็คือไม่ได้มีสถานประกอบการ ในไทย เช่น ไม่มีสํานักงานสาขา อ่า ไม่มีสํานักงานสาขาไม่มีโกรธรรมอยู่ในประเทศไทย กรีย์แบบเนี้ย ถือว่าคุณไม่ได้ประกอบกิจการในไทยแต่ถ้าสมมุติว่าคุณมีเงินได้ เนี้ย พึงประเมินที่จ่ายจ่ายหรือจ่ายในประเทศไทยและเงินได้เหล่านั้นเป็นเงินได้ประเภทสี่สิบอันดุสองสามสี่ห้าหก คุณก็ต้องเสียภาษีในร่านที่บุคคลจากเงินได้ที่จ่ายจากหรือจ่ายในภาคไทยด้วยอย่างเช่น บริษัท A เป็นบริษัทต่างประเทศทำหน้าที่ในการให้คำปรึกษาในทางธุรกิจหรือในทางเทคนิคบริษัทไทยก็เลยว่าจ้างบริษัท A ให้คำปรึกษาแล้วบริษัทไทยก็จ่ายค่าปรึกษาให้กับบริษัท A บริษัท A เป็นบริษัทต่างประเทศ ถูกไหม เข้าหลักเกณฑ์แรกไม่ได้ประกอบเกิดจักรการในไทย เพราะเขาไม่ได้มีสำนักงานใหญ่ หรือสำนักงานสาขาอยู่ในไทยเลยเข้าหลักเกณฑ์ที่ 2เขามีเงินได้พึงประเมินไหม มีและเงินได้พึงประเมินตรงนั้น เป็นเงินได้พึงประเมินตามสิบสิบอันทุกสองคือเป็นเงินหน้าจากการจ้างทำของ คือจ้างให้การปรึกษาเข้าหลักเกณฑ์ที่ 3 และเงินได้ตรงนั้นเป็นเงินได้ที่จ่ายจากรูลจ่ายในประเทศไทยเพราะบริษัทไทยเป็นคนว่าจ้างบริษัท A มาให้คำปรึกษาแล้วมีการชำระค่าใช้จ่ายคือส่งเงินไปอย่างบริษัท Aก็คือเป็นการจ่ายเงินออกไปที่ต่างประเทศมันก็จะเข้าหลักเกณฑ์ทั้ง 4 ข้อเลยเพราะเข้าหลักเกณฑ์ทั้ง 4 ข้อปุ๊บมันก็จะต้องมีการเสียภาษีจัดเงินได้ที่จ่ายจากรูลจ่ายในประเทศไทยตามวัตถา 70ซึ่งการเสียภาษีตาม 2.3 มันจะเป็นการเสียภาษีโดยวิธีการหักหนักที่จ่าย คือผู้จ่ายเนี่ยมีนักธินิการหักภาษีนักธิจ่ายออกไปเลยตั้งแต่ตอนจ่ายก็คือถ้าสมมติกรีย์แบบนี้เนี่ย บริษัทไทยจ้างบริษัท A ให้คำปรึกษาตอนที่บริษัทไทยจะจ่ายเงินให้กับบริษัท A เนี่ย 100 บาทเนี่ยนะครับก็ต้องมีการหักออกไป 15% นะครับเหลือแค่ 85 บาทส่งบริษัท A อีก 15 บาทเนี่ยก็ส่งกรมสัตว์ภาคออกแน่น Aนะครับ คือโดยหลักเนี่ยหัก 15% นะครับแต่ว่าถ้ามันเป็นเงินปัญหกษเนี่ย จะหักแค่ 10% เท่านั้น ถ้าเป็นเงินปันผลจะหักแค่ 10% เท่านั้นอย่างเช่นบริษัทต่างประเทศมาถือหุ้นในบริษัทไทย ถูกแม้แค่ 10%-5% อะไรแบบนี้แล้วต่อมาเขาได้รับเงินปันผล พอเขาได้รับเงินปันผลก็ต้องมีการจ่ายเงินปันผลไปยังบริษัทต่างประเทศ ซึ่งกรีย์แบบนี้ ตัวบริษัทผู้จ่ายเงินปันผลเนี่ย ก็มีหน้าที่ต้องหาภาษีหน้าที่จ่ายเนี่ยฮะ ออกไปสิบเปอร์เซ็นต์ด้วยนั่นเอง นะครับ อันนี้คือสองจุดสามนะฮะ ต่อมาคือการจําหน่ายเงินกําไรเนี่ยฮะออกไปจากประเทศไทย เนี่ยฮะ การจําหน่ายเงินกําไรออกไปจากประเทศไทยคือกรณีตามตาเจ็ดสุทธวิทย์เนี่ย นะฮะคืออาจจะใช้กับ นิดีบุคคลไทยหรือนิดีบุคคลต่างประเทศ ก็ได้นะฮะ คือ กรณีแบบนี้คือ สมมุติว่าคุณเป็นนิดหนึ่งบุคคลต่างประเทศนะแล้วก็มาเปิดบริษัทลูกอยู่ในไทย แล้วสุดท้ายบริษัทลูกมีกําไรคุณก็เลยมีการส่งกําไรเนี่ยออกไปยังบริษัทแม่ที่ต่างประเทศเลยแบบนี้ถือว่าคุณเนี่ยกําลังจําหน่ายเงินกําไรออกนอกประเทศไทยก็ต้องเสียภาษีตามมาต่างเจ็บสิบทวีด้วยเช่นเดียวกันนะครับ โอเค อันนี้คือสองจุดสี่นะฮะสองจุดสี่ ซึ่งกรณี 2.4 มันจะเกิดเหตุการณ์แบบนี้ สมมุติว่าคุณเป็นบริษัทลูกในไทยแล้วคุณประกอบบิจการในไทย เกิดกันได้ คุณเสียภาษีกันได้ที่บุคคลจากทางกำไรสุทธิตามปกติอยู่แล้วรอบหนึ่ง แล้วถ้าคุณเอากำไรอันนั้นส่งออกไปนอกประเทศไทยมันก็จะเสียภาษีซ้ำอีก อีกรอบหนึ่งตามมาตรา 70 ทวี ตรงนี้มันจะเป็นการเสียภาษี 2 ครั้ง โอเค อันนี้คือ เจ็บเสร็จภาวินะฮะเรื่องต่อมาคือ เรื่องการดำเนินกิจการ กับภาษีกันได้นิดดีบุคคล คือในการประกอบธุรกิจบางครั้งตัวภาษีมันก็ต้องเข้าไปเกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจซึ่งจริงๆแล้วมันเข้าไปเกี่ยวข้องในทุกกระบวนการในทางธุรกิจเลยไม่ว่าจะเป็นการจัดตั้งองค์กร คุณจะจัดตั้งองค์กรในรูปแบบไหนมันก็ส่งผลต่อภาษีกันได้นิดดีบุคคลทั้งสิ้น เพราะภาษีเนี่ยมันก็เสียไม่เท่ากัน ถ้าเป็นบุคคลธรรมดา ประกอบธุรกิจก็เสียอีกแบบนึงถ้าเป็นนิตยบุคคลก็เสียอีกแบบนึง อะไรแบบนี้ถ้าคุณเป็นนิตยบุคคลที่ได้รับสิทธิประโยชน์ทำภาษีอะไรบางอย่างก็จะเสียภาษีอีกแบบนึงดังนั้น การเจ้าองค์กรแบบไหน หรือทำธุรกิจอะไรมันก็ส่งผลต่อภาษีอีกแบบนี้ที่บุคคลต้องเสียได้หรือตัวทุนของกิจการตัวภาษีอีกแบบที่บุคคลก็อาจจะเข้าไปเกี่ยวข้องได้ เช่นเดียวกัน การเพิ่มทุน การกู้ยืม เพราะมีการกู้ยืมก็ต้องมีดอกเบี้ยพอมีดอกเบี้ยก็ต้องมีการจ่ายภาษีอะไรนู่นนี่นั่นอะไรแบบนี้ก็เข้าไปเกี่ยวข้องบริษัทการดำเนินการของบริษัท ทำธุรกิจ ทำสัญญาต่างๆก็เกิดเป็นเงินได้เงินได้ก็ต้องเสียภาษีเงินได้ในวิธีบุคคลนั่นเองหรือบางครั้งบริษัทนั้นเป็นบริษัทลูกแล้วมีการทำธุรกรรมระหว่างบริษัทลูกกับบริษัทแม่ มันก็จะมีเรื่องของการกระหนดราคาโอนหรือ Transfer pricing เข้ามาเกี่ยวข้องอันนี้ก็จะเป็นทางภาษี เราค่อยไปดูกันว่ามันคืออะไรในวิชาอันดุต่อไปหรือกรณีที่มีการจ่ายเงินปันผล ก็อาจจะต้องมีการหักภาษีนักที่จ่ายออกไปด้วยหรือกรณีมีการปรับองค์กร การโอนกิจการอะไรแบบนี้หรือการควบรวมกิจการก็จะต้องส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของตัวองค์กร ซึ่งก็ต้องส่งผลต่อการเสียภาษีตามมาด้วยนะครับโอเคดังนั้นเนี่ย ตัวธุรกิจกับตัวภาษีเงินได้นิดหนึ่งบางคนเนี่ยมันเข้าไปเกี่ยวข้องกันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เนี่ยฮะส่วนกรณีที่สามจุดสองถึงสามจุดห้าเนี่ย มันเป็นตัวอย่างที่ผมยกขึ้นมาพูดคุยกันนะฮะ ว่ากรณีเหล่านี้นะฮะ มันอาจจะส่งผลต่อภาษีได้เช่นสมมุติว่ากิจการบริษัทเนี่ย ขาดดันทุนหมุนเวียนในการประกอบกิจการต้องการเงิน ทีนี้การต้องการเงินจะทำอย่างไรดี จะกู้ยืมเงินดีหรือจะเพิ่มทุนดีซึ่งการกู้ยืมเงินหรือการเลือกที่จะเพิ่มทุนมันมีผลในทางกฎหมายหรือมีสถานะทางกฎหมายที่มันแตกต่างกันได้เหมือนกันซึ่งเราก็ต้องดูว่าตรงไหนมันมีข้อดีข้อเสียยังไง และมันเกิดประโยชน์กับเรามากกว่ากันก็ต้องดูอย่างเช่นถ้าสมมติว่ามีการเพิ่มทุน อ่ะ บริษัทเลือกเวย์ในการเพิ่มทุนก็ต้องมีการออกคุณเพิ่มขึ้นมา ถูกไหม พอมีการออกหุ้นเพิ่มทุนขึ้นมา ก็ต้องมีคนเนี่ยมาซื้อหุ้นนะ ก็หมายความว่ามันจะมีบุคคลอื่นเนี่ยเข้ามาซื้อหุ้น มีบุคคลอื่นเนี่ยเข้ามาเป็นเจ้าของกิจการ มันก็จะส่งผลต่อสัดส่วนของผู้ถือหุ้นในกิจการได้อะไรแบบนี้ นะฮะ ดังนั้นเนี่ย การเพิ่มทุนมันก็อาจจะส่งผลต่อบริษัทในแง่นี้ได้นะฮะ แต่ถ้าคุณเลือกทางของการกู้ยืมเงิน มันก็จะไม่มีผลกระทบต่อสัดส่วนของผู้ถือหุ้นแต่อย่างใด นะฮะ หรือถ้าคุณกู้เงินเงินแล้วคุณจ่ายเป็นดอกเบี้ย นี่ฮะดอกเบี้ยตรงเนี้ยก็จะหักเป็นค่าใช้จ่ายได้ ถูกไหมหักในรูปของค่าใช้จ่ายได้ นะครับ ก็จะทําให้เสียภาษีน้อยลงนะฮะ แต่ถ้าบริษัทขาดทุนอยู่แล้ว แล้วคุณไปกู้ นะฮะเสียดอกเบี้ยมันก็หักไปรายจ่ายมาได้ เพราะคุณขาดทุนอยู่แล้วว่าคือมันมีอะไรจะมาหักแล้วถูกไหมฮะ ก็ไม่มีประโยชน์อะไรดังนั้นคุณก็ต้องดูด้วยฮะ ว่าสถานะของคุณเป็นอย่างไร แล้วก็เลือกวิธีการที่เหมาะสมกับบริษัทของคุณหรือในบางประเทศอาจจะมีการกำหนดหลักเกณฑ์ที่เรียกว่า Trim CapitalizationTrim Capitalization ก็คือกฎหมายจะกำหนดอัตราในการก่อนี่ของบริษัทเอาไว้เลยว่าบริษัทจะก่อนี่เกินกว่าราคาทุนได้ไม่เกินเท่าไหร่อะไรแบบนี้ เช่นบริษัทจะก่อนี่ได้ไม่เกิน 3 เท่าของต้นทุนหรือของราคาทุน ของทุนจอดทะเบียนของบริษัท ซึ่งถ้าคุณจะเกาะหนี้เกินคุณก็เกาะหนี้ไม่ได้ถูกมั้ยฮะแล้วถ้าคุณอยากได้เงินเพิ่มคุณก็ต้องไปใช้วิธีการเพิ่มทุนเอาอะไรแบบนี้ นะฮะซึ่งทั้งหมดทั้งหมดนี้มันก็อาจจะส่งผลกระทบต่อในเรื่องของภาษีที่คุณต้องเสียตามมาเช่นเดี๋ยวกันนั้นเองนะฮะหรือกรณีต่อมานะฮะ ถ้าคุณอยากขยายกิจการไปยังต่างประเทศ นะฮะเราจะเปิดเป็นสาขาหรือตั้งบริษัทรูปดี ถ้าคุณเลือกใช้การเปิดสาขา หมายความว่าคุณไม่มีบริษัทลูก ถูกไหม เขาเป็นแค่สำนักงานสาขาที่ไม่ได้มีสาขาเป็นนิติบุคคลคือเราเป็นนิติบุคคล แล้วเราไปตั้งสำนักงานในต่างประเทศโดยที่ไม่ได้มีการจะตั้งบริษัทแยะออกมาต่างหาก เป็นบริษัทลูกในอย่างใดถ้าคุณเปิดแดดสำนักงานสาขาโดยไม่มีการตั้งบริษัทลูก แสดงว่าเขาอยู่ใต้อำนาจคุณโดยตรงเลยการบริหารจัดการมันก็จะเป็นอีกแบบหนึ่ง การเสียภาษีมันก็จะถูกรับรู้เป็นไรได้ ของตัวบริษัทแม่เองเลย เนี่ยฮะ แต่ถ้าคุณตั้งเป็นบริษัทลูกคือเป็นนี่ที่บุคคลแยกต่างหากออกมาเนี่ย มันก็จะมีเงินทรัพย์สิน หนี้สินเนี่ยฮะ รายได้ค่าใช้จ่ายแยกออกมาต่างหาก เนี่ยฮะ แยกออกจากกันเลย เนี่ยฮะซึ่งตรงนี้เนี่ย ถ้าคุณมีการตั้งบริษัทแยกออกมาแบบนั้นเนี่ยบางครั้งมันอาจจะมีผลกระทบในเรื่องของการควบคุมหรืออำนาจในการควบคุมบริษัทลูกได้ถูกไหม เนี่ย ก็ต้องมีการส่งคนเนี่ย ไปประจํา มีการควบคุมนะฮะ เรื่องของพูดหรือหุ้น หรือหุ้นขายหรือหุ้นออกไป หรืออะไรแบบนี้คือก็ต้องดูในเรื่องนี้ด้วยดังนั้นเนี่ย สิ่งเหล่านี้มันก็จะต้องดูนะ แล้วก็ต้องพิจารณานะเลือกทางที่มันเหมาะสมกับเราซึ่งสิ่งเหล่านี้มันอาจจะส่งผลต่อภาษีได้ถ้าคุณไปเปิดสาขาที่ต่างประเทศโดยไม่ตั้งบริษัทลูก มันจะถูกรับรู้เป็นรายได้ของเราเสียภาษีในประเทศเราซึ่งอัตราภาษีของประเทศราคกับประเทศเขาอาจจะไม่เหมือนกันแบบนี้มันก็จะส่งผลต่อภาษี แต่ถ้าคุณเลือกตั้งบริษัทลูก คุณก็ต้องไปเสียภาษีที่ประเทศเขาถูกไหมเงินได้จากบริษัทลูกก็ไปเสียภาษีในประเทศเขา แย่ต่างหากจากกันซึ่งกรณีแบบนี้มันก็ต้องดูแนวว่า ตามภาษีเวลาในประเทศเขาอันไหนมากกว่าน้อยกว่าอันไหนจะเป็นประโยชน์กับเรามากกว่า ตั้งบริษัทแบบไหนดีจะเปิดสาขาหรือตั้งเป็นบริษัทลูกดี อะไรแบบนี้นะครับโอเค3.4 ต้องการทำสัญญาโดยให้บริษัทต่างประเทศให้คำปรึกษา มีผลต่อภาษีเหมือนกัน เช่น บริษัท A นะฮะได้รับการว่าจ้างจากบริษัทในประเทศไทย นะฮะมาให้คำปรึกษากับบริษัทในประเทศไทยซึ่งตัวอย่างเนี้ยเราก็พูดกันไปแล้วถูกไหมฮะถ้าสมมติว่าบริษัทไทยอ่ะ ต้องชำระเงินให้กับบริษัทต่างประเทศนะฮะ ก็คือมีการจ่ายเงินเนี้ยออกไปนอกประเทศไทยก็เลยก็ต้องมีการเสียภาษีเงินได้นิดหนึ่งบุคคลด้วยโดยการหักหน้าที่จ่ายสิบห้าเปอร์เซ็นต์ ถูกไหมฮะตรงเนี้ยมันก็ต้องมีการเสียภาษีตามมาหรือว่ามีผลในการ เสพาศีลตามมาด้วยนั่นเองใช่ไหม แต่ถ้าคุณจ้างบริษัทไทยเองมันก็จะไม่มีค่าใช้จ่ายตรงนี้ถูกไหมมันก็จะถูกกว่าอะไรแบบเนี้ยนะฮะ หรือสามจุดห้านะฮะ ต้องการซื้อควบรวมกิจการนะฮะคืออยากได้กิจการของเขาต้อง ไปมาในรูปแบบไหนนะฮะซึ่งการไปควบรวมกิจการหรือไปซื้อกิจการมาเนี้ยนะฮะ มันอาจจะมีได้หลายแบบ เช่น ไปซื้อสินทรัพย์ของเขา ไปซื้อหุ้นของเขา นี่ฮะหรือไปซื้อบริษัทเขาเลย ถึงก้อนขึ้นแล้วแต่ครับซึ่งเราก็ต้องดูว่า เฮ้ย เรามีความพร้อมแค่ไหน นี่ฮะเอ่อ ภาษี ภาษีที่เราต้องจ่ายเนี่ย ในประเทศเรากับประเทศเขาที่เราจะซื้อบริษัทในประเทศเขาเนี่ย เป็นอย่างไร ก็ต้องดู นะครับ โอเคนะฮะ หรือว่าในบางกรณีใบอนุญาตในการประกอบธุรกิจอ่ะมันไม่สามารถโอนให้กันได้ ดังนั้นถ้าสมมุติว่าคนเลือกวิธีการควบรวมกิจการด้วยการไปซื้อหุ้นเขาบริษัทของเขาก็ยังอยู่ บริษัทเราก็ยังอยู่แล้วถ้าเขามีใบอนุญาตเขาก็ประกอบธุรกิจของเขาได้แต่ถ้าเราใช้วิธีการไปควบรวมกิจการเลยคือเอากิจการของเขามาเป็นกิจการของเราเลยใบอนุญาตเราจะใช้ได้ไหม มันก็ไม่ได้แล้วเพราะบริษัทเขาถูกหยบเลิกไป ใบอนุญาตมันก็สิ้นสุดลงเราก็ไม่ได้ใบอนุญาตมา เราก็ประกอบไป ประกอบธุรกิจโดยอาศัยบริญญาณนั้นไม่ได้ ก็ต้องมีการไปขอบริญญาณใหม่ซึ่งถ้าสมมุติว่าเราเป็นนิดหนีบกว่าคนต่างประเทศบางกรณีเนี่ย บริษัทที่จะขอบริญญาณ ประเทศที่จะขอบริญญาณเนี่ยนะฮะอาจจะไม่อนุญาตให้บริษัทต่างประเทศเนี่ย มาประกอบธุรกิจแบบนั้นได้เลยแบบเนี้ย อันนี้คือ ร่วมที่ 3 เรื่องภาษีเงินได้นิติบุคคลกับการดำเนินธุรกิจต่อมา ร่วมที่ 4 คือ เรื่องภาษีเงินได้นิติบุคคลต่างประเทศคือ ในร่วมนี้ มันเป็นเรื่องที่ แต่ละประเทศเขาก็จะมีนโยบายในการจัดเก็บภาษีเป็นของตัวเอง อย่างประเทศไทยก็จะมีนโฮ ในการจัดเก็บภาษีเป็นของตัวเองนะก็จะเป็นไปตามประโมนรัศนากรแบบนี้ถูกไหมทีนี้ ทีนี้ เอ่อ ประเทศไทยเนี่ย จะจัดเก็บภาษีกับใครเนี่ย คนนั้นต้องมีจุดก่อเกี่ยวอะไรบางอย่างกับเรา อันนี้ก็จะเป็นเรื่องของอำนาจรัฐและจุดก่อเกี่ยวรัฐจะจัดเกะภาษีกับใคร เขาต้องมีจุดก่อเกี่ยวกับประเทศไทย หรือรัฐนั้นๆจุดก่อเกี่ยวโดยหลักแล้วจะมีอยู่ 2 กรณี ก็คือหลักถิ่นที่อยู่ กับหลักแหล่งเงินได้หลักถิ่นที่อยู่คืออะไร ก็คือดูว่าเขา มีที่อยู่ในประเทศไทยไหม ถ้ามีที่อยู่ในประเทศไทยเมื่อเขามีเงินได้มาก็ต้องเสียภาษีในประเทศไทยโดยไม่ต้องดูเลยว่าเงินได้นั้นเนี่ยเขาจะได้มาจากการทำธุรกิจในไทยหรือในหลักประเทศก็ตามแต่ถ้าตัวเขาอยู่ในไทย เขาต้องเสียภาษีขนาดนี้ที่บุคคลแล้วอันนี้คือหลักถิ่นที่อยู่ส่วนหลักแหล่งเงินได้เนี่ยนะครับ เราไม่ดูถิ่นที่อยู่ของเขาแต่เราดูแหล่งเงินได้ว่าแหล่งเงินได้ของเขาเนี่ยมาจากประเทศไทยไหมแล้วสิ่งครูอีกแบบนี้ ถ้าเขาเป็นคนต่างชาติ ไม่ได้มีถิ่นที่อยู่ในไทยแต่เขามีเงินได้ที่จ่ายจากประเทศไทยเขาก็ต้องเสียภาษีตามหลักแหล่งเงินได้ด้วย อะไรแบบนี้อันนี้คือหลักแหล่งเงินได้คือตัวคนต่างชาติคนนั้นเขาอยู่ที่ต่างประเทศก็จริงอาศัยอยู่ที่ต่างประเทศก็จริง แต่เขามีจุดกว่าเกี่ยวกับประเทศไทยโดยที่เขาได้รับเงินได้ที่จ่ายจากประเทศไทยออกไปอย่างเช่น กรณีของการจ้างที่ปรึกษาต่างประเทศมาให้คำปรึกษาอะไรแบบนี้ มาแล้วจากเงินให้กับเขาเนี่ย เขาก็ได้รับเงินได้ นะฮะจากเงินเงินที่จ่ายจากประเทศไทย นะฮะ ก็ต้องเสียภาษีในประเทศไทยตามหลักแบ่งเงินได้คือมีจุดเกาะเกี่ยว นะฮะ แต่ถ้าตัวคนต่างชาติไม่มีจุดเกาะเกี่ยวอะไรเลยในประเทศไทย นะฮะ คนต่างชาติ Mr. Aเป็นคนอเมริกา ทํางานอยู่ในอเมริกา ซึ่งเป็นบริษัทอเมริกาไม่มีอะไรเกี่ยวข้องกับไทยเลยเนี่ย คุณจะไปจัดเก็บภาษีเขาเนี่ย ได้ไหมฮะ ไม่ได้ เพราะเขาไม่ได้มีจุดก่อเกี่ยวในประเทศไทยอันนี้คือเรื่องของอำนาจรันและจุดก่อเกี่ยวซึ่งมันจะมี 2 หลัก คือหลักถิ่นที่อยู่ กับหลักแหล่งเงินได้ซึ่งประเทศไทย ถ้าเป็นหลักถิ่นที่อยู่อย่างที่บอกก็คือ ถ้าคุณมีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทยคุณเป็นบริษัทไทย ไม่ว่าคนจะมีเงินได้จากประเทศไหนมา คุณต้องมาเสียภาษีในประเทศไทยทั้งสิ้นอย่างบริษัทปรทธ. แบบนี้ ตัวบริษัทก็ทำธุรกิจทั้งในไทยและในต่างประเทศถ้าเขามีเงินได้ในต่างประเทศ เขาต้องเอาเงินนั้นกลับมาเสียภาษีในไทยด้วยแต่ถ้าเป็นบริษัทต่างประเทศ เขาจะมาเสียภาษีในไทยก็ต่อเมื่อเขามีจุดกรอกเกี่ยวในประเทศไทยจุดกรอกเกี่ยวอย่างแรกเลยคือ ถ้าบริษัทต่างประเทศมาเปิดสำนักงานสาขาในไทยอ่ะ มีจุดกรอกเกี่ยวแล้ว ต้องเสียภาษีในประเทศไทย หรือถ้าเป็นบริษัทต่างประเทศแล้วเขาได้รับเงินได้ที่จ่ายจากประเทศไทยแม้เขาจะไม่มีสนักงานสาขาในประเทศไทยเลยก็ตาม อ่ะ ก็ต้องเสียภาษีในประเทศไทยได้เนี่ยฮะ ตามมาตรา 7 เศรษฐวิอะไรแบบนี้ เนี่ยฮะ คือมันต้องมีจุดก่อเกี่ยวทีนี้เมื่อแต่ละประเทศเขามีหลักการในการเสียภาษีเป็นของตัวเอง หลักการในภาพใหญ่เนี่ยอาจจะเหมือนเหมือนกัน แต่รายละเอียดอาจจะแตกต่างกันได้ในแต่ละประเทศซึ่งมันอาจจะเกิดเหตุการณ์ที่คนนึงมีเงินได้แล้วมันมีการเข้าไปเกี่ยวข้องกับประเทศหลายประเทศเช่น คนนั้นเป็นคนอเมริกา แต่ได้เงินได้ในประเทศไทยมันก็จะมีอเมริกากับไทยเข้ามาเกี่ยวข้องไทยก็อาจจะมาอ้างว่า เฮ้ย ฉันขอเก็บภาษีจากคุณนะอเมริกาก็อ้างว่า ฉันขอเก็บภาษีจากคุณนะ แสดงว่ากรีย์แบบนี้เขาอาจจะต้องเสียภาษีทั้งในไทยและในอเมริกาเลยเราเรียกว่าปัญหาตรงนี้ว่าปัญหาการเสียภาษีซ้อน ถูกมั้ยครับเรื่องภาษีซ้อน ซึ่งในเรื่องของภาษีซ้อนก็จะต้องมีการขจัดภาษีซ้อนเพราะว่าถ้าเราเก็บภาษีซ้อนมันก็ไม่แฟร์กับ กับตัวคนที่ถูกเสียภาษี ถูกไหม ต้องเสียภาษีซ้ำท้อนให้อเมริการอบหนึ่งให้ไทยรอบหนึ่ง อะไรแบบนี้ นี่ฮะ โอเค มันก็ต้องมีการแก้ไขซึ่งวิธีการแก้ไขเนี้ย นะฮะ มันจะมีอยู่สองวิธีคือการขจัดภาษีซ้อนฝ่ายเดียวกับสองฝ่ายแต่ก่อนที่เราจะไปดูการขจัดภาษีซ้อนฝ่ายเดียวกับสองฝ่าย เนี้ย เรามาดูอันแรกก่อนนี่คือ โดยหลักแล้วเนี้ยนะฮะ ภาษีซ้อนมันมีอยู่สองแบบ คือภาษีซ้อนเชิงอำนาจรัฐกับภาษีซ้อนเชิงเศรษฐกิจกรีภาษีซ้อนเชิงอำนาจรัฐ ก็คือผู้เสียภาษีหนึ่งรายถูกจัดเก็บภาษีจากรัฐสองรัฐ ในเงินก้อนเดียวกันอย่างตัวอย่างเมื่อกี้นี้ ผมเป็นคนไทยทำงานอยู่ที่บริษัทอเมอริกาแบบเนี้ย เอ่อผมได้รับเงินนะฮะ จากบริษัทในอเมอริกาแบบเนี้ย นี่ฮะแล้วผมมีภูมิดำราวอยู่ในประเทศไทย แต่ว่าแค่ไปทำงานในบริกาสองเดือนแบบเนี้ย ก็ต้องมีแบบนี้เนี้ย นะฮะ ผมมีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทยแน่แน่ อ่ะ ประเทศไทยก็อ้างสิทธิ์เลย ฉันขอเก็บภาษี นะฮะจะเกินได้สองเดือนตรงนั้น สําหรับอเมริกาว่า อ้าวะเนี้ย คุณน่ะ เราได้รับเงินจากในจ้างก็คือบริษัทในอเมริกาถือว่าคุณมีเงินได้จากประเทศอเมริกาอเมริกาขอจะเก็บภาษีอันนี้ก็คือเป็นการเก็บภาษีจากทั้งสหรัฐอเมริกาและไทยเลยอันนี้เราเรียกว่าเป็นภาษีซ้อนเฉินอำนาจรัฐคือมีอำนาจรัฐเข้ามาเกี่ยวข้องแล้วเรียกเก็บภาษีเหมือนๆกันทั้งสองรัฐเลยกรีย์แบบนี้เราเรียกว่าภาษีซ้อนเฉินอำนาจรัฐ ส่วนอีกกรณีหนึ่ง เราเรียกว่าภาษีซ้อนเชิงเศรษฐกิจภาษีซ้อนเชิงเศรษฐกิจคือ ผู้เสียภาษีมากกว่าหนึ่งลายถูกจัดเก็บภาษีจากเงินได้ก้อนเดียวกันผู้เสียภาษีมากกว่าหนึ่งลาย ถูกจัดเก็บภาษีจากเงินได้ก้อนเดียวกันอาจจะมีเงินได้ก้อนหนึ่ง แล้วมันมีคนหลายคนเข้ามาเกี่ยวข้องพอมีคนหลายคนเข้ามาเกี่ยวข้อง ก็อาจจะต้องมีการเสียภาษี ซ้ำซ้อนการจักเงินก้อนนั้น จากผลประโยชน์ก้อนนั้นเช่นใน A เข้ามาเกี่ยวข้องกับเงินก้อนนั้น ก็อาจจะต้องเสียภาษีใน B เข้ามาเกี่ยวข้องกับเงินก้อนนั้น ก็ต้องเสียภาษีซึ่งกฎหมายแต่ละประเทศ ก็อาจจะกระหมดไว้ไม่เหมือนกันถูกไหมกรณีของใน A ถ้าเข้าไปเกี่ยวข้องกับเงินก้อนนั้น อาจจะต้องเสียภาษีในอเมริกากรณีของใน B เข้าไปเกี่ยวข้องกับเงินก้อนนั้น ก็ต้องเสียภาษีในไทยเพราะใน B อยู่ในประเทศไทย ไม่เอาในบีเอาในก็ไก่ดีกว่า อ่ะ ในก็ไก่อยู่ในไทยแบบเนี้ยก็แสดงว่า อ่ะ สองประเทศ จากเก็บภาษีจากประเทศจากคนของตัวเองด้วยนะ เดี๋ยวฮะ จากคนในประเทศตัวเองเลยเพียงแต่ว่าไอ้เงินก้อนนั้นเนี้ย มัน มันเข้าไปเกี่ยวข้องกับคนนั้นสองฝ่ายก็ดีแบบเนี้ย แสดงว่าไอ้เงินก้อนนั้นอ่ะ มัน มันยังไงอ่ะมันถูกเก็บสองรอบอ่ะ ถูกไหม โดยที่มันไม่ได้ ไม่ได้มีลักษณะเอ่อ เป็นภาษีซ้อนเฉยเฉยมากรักอ่ะ ถูกปะ เพราะว่ารัฐก็จะเก็บจากคนตรงนั้นเหมือนกันทั้งสิ้นอะไรแบบเนี้ยทีนี้ กรณีแบบเนี้ยมันก็ดูไม่แฟร์ แต่ว่าภาษีซ้อนเชิงเศรษฐกิจตรงนี้เนี้ยนะฮะ เราไม่ถือว่า นะฮะไม่ใช่เราไม่ถือว่า เราจะไม่ใช้การขจัดภาษีนะฮะซ้อนด้วยการทําอนุสัญญา นะฮะเราจะไม่ขจัดภาษีซ้อนด้วยการทําอนุสัญญานะฮะ ที่นี่การขจัดภาษีซ้อนเนี่ยมันมีสองแบบ คือการขจัดภาษีซ้อนสายเดียวกับสองฝ่ายสายเดียวเนี่ยคือรัฐตากฎหมายมาแก้ไผลปัญหา ในรูปของภาษีซ้อนด้วยตัวของรัฐนั้นเองโดยไม่ได้มีรัฐอีกฝ่ายหนึ่ง ซึ่งเป็นผู้กรณีเนี่ยเข้ามาเกี่ยวข้องอันเนี้ยรัฐก็ออกกฎหมายได้อยู่แล้วไม่มีปัญหาถูกไหม เช่นถ้ารัฐเห็นว่าเฮ้ยกรณีแบบเนี้ยคนเนี้ยต้องเสียภาษีสองรอบ งั้นรัฐก็เลยออกกฎหมายมาว่าเฮ้ยถ้าคุณไปเสียภาษีของรัฐนั้นแล้ว คุณก็ไม่ต้องมาเสียภาษีของฉันอีก เป็นการขจัดภาษีฝ่ายเดียว และรัฐออกกฎหมายขึ้นมาเองโดยไม่ต้องตกลงกับรัฐต่างประเทศส่วนการขจัดภาษีซ้อนสองฝ่าย อันนี้คือเป็นการทำสัญญาตกลงกันระหว่างรัฐสองรัฐว่าถ้าเกิดเหตุการณ์ว่าต้องมีการเสียภาษีซ้อนกัน จะต้องดำเนินการอย่างไรซึ่งโดยทั่วไปก็จะมีการจัดภาษีซ้อนขึ้นมาซึ่งอันนู้สัญญาตกลงกัน จริงๆแล้วถ้ามองแล้วบริษัท นั้นอ่ะ ที่ทําธุรกิจอ่ะ ได้ประโยชน์ก็คือไม่ต้องเสียภาษีซ้ําซ้อนแต่ตัวประเทศที่ทําสัญญา อ่า จะไม่ได้ประโยชน์นะ ถูกไหมพอคุณทําอันทุกสัญญาเสียภาษีซ้อนปุ๊บ มันอาจจะมีการตกลงกันว่า ฮึยถ้ามีการเสียภาษีในประเทศใต้ประเทศหนึ่งแล้วอีกประเทศหนึ่งไม่ต้อง ไม่ต้องเรียกเก็บภาษีอีกกริเวิร์นไว้แทนที่แต่ละประเทศจะเรียกเก็บภาษีเป็นของตัวเองได้ ได้เงินเข้ามาก็ไม่ใช่และ ก็ต้องดูว่า เอ่อ มีการเสียภาษีกับประเทศไหนไปแล้วบ้าง อีกประเทศหนึ่งก็จะไม่ได้เงิน ซึ่งมันก็จะไม่เป็นผลดีกับตัวประเทศที่ทําสัญญานุภาษีซ้อนอ่า ทําอนุสัญญาภาษีซ้อน คําถามคือ แล้วเขาทําอนุสัญญาภาษีซ้อนไปเพื่ออะไรคําตอบคือ เพื่อประโยชน์ในการนําธุรกิจฮะคือถ้าธุรกิจนั้นนั้น เขาเห็นว่ามันต้องเสียภาษีซ้ําซ้อนเขาจะอยากรังธุรกิจนั้นไหมฮะ ไม่อยาก พอไม่อยาก ทุกธุรกิจนั้นมันจะโตได้ไหมฮะมันจะมีกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวกับธุรกิจนั้นไหมฮะ ไม่มี ซึ่งรัฐเนี่ย ไม่พึงต้องการให้เป็นแบบนั้นรัฐต้องการให้มีกิจกรรมในทางเศรษฐกิจ มีการเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจจะได้เก็บภาษีได้ รัฐก็เลยมีการทำมารุ่นสัญญาภาษีซ้อนขึ้นมาเพื่อ นะฮะ บรรเทาภาระในการเสียภาษีซ้ำซ้อนและส่งเสริมนะฮะ ในการทําธุรกิจอันนั้น อะไรแบบนี้ นะฮะคืออันนี้คือเรื่องของภาษีอันด้านนิติบุคคลต่างประเทศนั่นเองนะครับ โอเคนะฮะเนื้อหาในวันนี้นะฮะ ก็จะเป็นในเรื่องของภาษีอันด้านนิติบุคคลนะฮะแบบพื้นฐานจริงจริงนะฮะ โอเค ถ้ามีเนื้อหานะที่ไม่ถูกต้องครบคร่วนตรงไหนนะฮะ ก็ต้องขออภัยด้วย สำหรับในวันนี้ เนื้อหาในส่วนของความรู้พื้นฐานจุดกรรมภาษีแข่งแรกที่บุคคลก็ขอจบไว้เพียงเท่านี้นะครับสวัสดีครับผม