Transcript for:
เทคนิคการเรียนรู้และการสอนตัวเองให้ได้ผล

สวัสดีครับ ผมเชื่อว่าหลายหลายคนนะครับคงจะมีความอยากเรียนรู้ในสิ่งต่างต่างมากมายนะครับ ไม่ว่าจะอยากเรียนสายวิชาอาชีพนะครับ เรียนรู้ทางร่างศิลปะ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรียนรู้คณิตศาสตร์ หรืออะไรก็แล้วแต่นะครับ แต่จะมีสักกี่คนนะครับที่อยากจะเรียนรู้วิธีเรียนที่มันได้ผลนะครับ วันนี้ผมก็เลยอยากจะเอาเรื่องนี้มาพูดนะครับ จริงๆ มันก็เป็นประสบการณ์ส่วนตัวที่ผมใช้นะครับ ตั้งแต่สมัยเด็กจนถึงปัจจุบันนี้ มันก็จะมีการพัฒนาวิธีการในการเรียนรู้ วิธีที่จะเรียนให้มันได้ผลมากๆ นะครับ ของผมได้ทำยังไง วันนี้ผมก็จะเล่าให้ฟังเลยนะครับ พบกับผมนะครับ นายแพทย์ธนีย์ ธนียวัล เป็นอาจารย์แพทย์อยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา เชี่ยวชาวนวกปอด การปลูกถ่ายปอด และวิกฤติมัมบัตินะครับ เรื่องของการเรียนรู้นะครับ ประการแรกซึ่งจะต้องมีอยู่ในหัวเราก่อนเลยก็คือ เราต้องเป็นผู้ที่สอนตัวเองให้ได้สก่อนนะครับ อย่าไปหวังพึ่งความรู้จากคนอื่น อันนี้เป็นสิ่งซึ่งผมคิดว่ามันสําคัญมากในการเรียนรู้สิ่งต่างต่าง เพราะว่าเมื่อไหร่ก็ตามที่เราจําเป็นจะต้องพึ่งผู้อื่นในการที่จะเรียนรู้เรื่องหนึ่งเนี่ยนะครับ มันก็จะเกิดปัญหา คือเราจะรอแต่เขาป้อนความรู้มาให้เรา อ่า นะครับ แล้วบางครั้งความรู้ที่เขาป้อนมาให้เนี่ยนะครับ มันถูกหรือมันไม่ถูกเราก็ไม่รู้นะครับ แล้วถ้าเรารู้ เราก็รู้แบบที่คนที่เขาป้อนให้เรารู้ เราไม่สามารถปลิ๊กแพลงอะไรได้ ดูมั้ยครับ การที่เราจะรู้อะไรที่มันเหนือขั้นไปอีกเนี่ยนะครับ ก็จะเป็นสิ่งที่เราจะต้องสร้างความแตกต่างขึ้นมานะครับ ถ้าเราทำเหมือนกับคนอื่นๆเขา รู้ในสิ่งที่มันเหมือนกัน รู้ในสิ่งเดียวกัน เราก็จะเป็นได้อย่างมากก็คือ เทพเท่ากับเขา แต่ถ้าเราอยากเป็นเทพ True ที่แท้จริงแล้วล่ะก็ มีแต่ต้องสร้างความแตกต่างขึ้นมาเองเท่านั้นนะครับ ดังนั้นในสายตาผมแล้วเนี่ยนะครับ การที่เรารู้ว่าเราจะต้องเป็นคนสอนตัวเอง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องไหนๆนั้นสำคัญที่สุด แล้วจะไม่ต้องมีความคิดนี้ซะก่อนนะครับ ถึงจะไปขั้นต่อไปว่าเออเราจะทำยังไงดีนะฮะ โอเค สมมุติว่าเราตั้งใจแล้วว่า ไม่ว่าจะเป็นวิชาอะไร ไม่ว่ามันจะยากขนาดไหน เราจะเป็นผู้ที่สอนตัวเราเอง และจะขอความช่วยเหลือก็ต่อเมื่อมันมีความจําเป็นเท่านั้น มันทําให้เราสามารถที่จะคิดวิเคราะห์ต่างต่างทั้งหมดด้วยตัวเราเอง และส่วนที่เราคิดไม่ออกเนี่ย เราก็เอาไปถามผู้ที่มีประสบการณ์ อ่า นะครับ และทีนี้สมมุติว่าเราจะอยากเรียนรู้เรื่องเรื่องหนึ่งนะ เราก็อาจจะต้องมีการหานังสือ หาแบบเรียนต่างต่างนะครับ หรือหาความรู้ทางอินเตอร์เน็ตต่างต่าง แล้วแหล่งไหนล่ะที่เราจะหานะครับ เพราะว่าบางทีนังสือที่เขียนเรื่องเดียวกันเนี่ยมันก็เยอะแยะไปหมด บางครั้งมันเขียนไม่เหมือนกันอีกต่างหากนะครับ อ่าอย่างหนังสือทำราทางการแพทย์เนี่ยครับ บางเล่มก็เขียนไม่เหมือนอีกเล่มอื่นแล้วจะเชื่อเล่มไหนดีนะครับ ผมก็อยากจะมีวิธีแนะนําอย่างหนึ่งนะครับ แล้ววิธีนี้ผมคิดว่ามันดีซะด้วยนะครับ อันแรกถ้าสนใจหนังสือเนี่ยนะครับ แน่นอนว่าเราสามารถที่จะสอบถามคนที่เขาเรียนในด้านนั้นได้นะครับ เราก็จะรู้นะครับ แต่เราถามมาสักหลายหลายคนให้มันได้ชื่อหนังสือมาสักสองสามชื่ออย่างน้อยน้อยนะครับ หรือยังมากก็อาจจะห้าชื่อสิบชื่อก็แล้วแต่นะครับ สิ่งถัดไปที่ผมอยากจะให้พิจารณาดีดีเลยก็คือลองเปิดดูซิว่าใครแต่ง แล้วลองไปอ่านดูซิว่าคนแต่งนั้นเขามีภูมิหลังเป็นอย่างไรนะครับ เหมือนตอนที่ผมเคยเล่าเมื่อนานมาแล้วว่า ผมเรียนรู้วิธีในการอ่านหนังสือจากอะไร ผมเรียนรู้จากหนังสือฟิสิกส์ ส.ส.วท. สมัยตอนผมเรียนอยู่บ.5 นะครับ ตอนนั้นผมอยู่โรงเรียนเตรียมบนโดมแล้วผมก็ไม่รู้วิธีเรียนยังไงให้มาถูกต้อง คือตอนนั้น คะแนนมันก็ขึ้นขึ้นลงๆ เราก็ไม่รู้นะครับ แต่วันหนึ่งผมไปเปิดนักศึกษ์ฟิสิกส์ แล้วก็ดูชื่อคนแต่งคนหนึ่ง ชื่อดร.สุธัศน์ยกซาน ก็ เฮ้ย พอเราไป��ูประวัติ คนนี้เก่ง คนนี้ได้รางวัล คนนี้ไปต่างประเทศ แล้วลองดู คนที่สมพิเศษอยู่นอกโรงเรียนเนี่ยนะครับ หรือครูที่เก่งๆ เก่งสู้คนนี้ได้รึเปล่า ไม่ได้นะครับ คนที่ไประดับโอลิมปิก ไปคนที่ระดับนานาชาติ มันต้องเก่งกว่าคนอื่นๆ อยู่แล้วสิครับ ถูกไหมครับ ดังนั้นเนี่ย จำเป็นจะต้องมีการเขียนบางอย่างที่ มันต้องเป็นคนที่อ่านเข้าใจจริงๆ ถึงจะรู้เรื่องเหมือนกับว่า ท่านลองดูหนังจีนอย่างนี้นะครับ ตำราที่แบบสุดยอดเทพนี่นะครับ คนธรรมดาอ่านก็อ่านไม่รู้เรื่อง หรืออ่านก็ทาสไฟเข้าแทรก แต่มันจะมีคนจํานวนหนึ่งเท่านั้นแหละ ที่เห็นค่าของตํารานั้น แล้วก็ตั้งใจอ่านจริงจัง แบบฟ้าลิขิต มันก็ทําให้สามารถได้วิชาที่ เป็นเทพมาได้นะครับ ตอนนั้นผมก็เลยรู้สึกแบบนี้ขึ้นมา ถ้าคนแต่งเทพแล้ว หนังสือมันต้องเป็นนังสือเทพ ถ้าเราอ่านให้เข้าใจจริงจริง โดยรู้ถึงเนื้อแท้ข้างในมาจริงจริงเนี่ย ก็จะเป็นการที่เราเก่งขึ้นมาในสายนั้น ได้ชัดเจนเลยนะครับ ดังนั้นไปดูก่อนเลยนะคะว่าใครแต่ง แล้วการค้นประวัติในนี้ก็ไม่ได้ยากอะไรเลยนะครับ หาใน Google อะไรมันก็ออกมาหมดแล้วนะครับ ว่าคนนี้เคยตีพิมพ์งานอะไรไหม จบจากที่ไหนนะครับ ไปเรียนที่ไหน แล้วเผลอๆอาจจะรู้ด้วยซ้ำไปว่า ได้รางวัลอะไรมาบ้าง แล้วเขาเก่งแค่ไหนในการได้รางวัลพวกนั้น ถ้าเกิดว่าเป็นโอลิปิกวิชาการ หรือไปตามมหาวิทยาลัยที่ดังๆ มิติ ฮาร์เวิร์ด อะไรพวกนี้นะครับ หรือ California Institute of Technology พวกนี้ เราก็รู้อยู่แล้วว่าคนพวกนี้มันเทพนะครับ ถ้าเขาเป็นคนแต่งหนังสือเรื่องที่เราคัดมา 4-5 หนังสือ แล้วคนแต่งหนังสืออยู่เล่มหนึ่ง เล่มนั้นต้องมีอะไรที่มันแตกต่างกับเล่มอื่นๆแน่ๆ ดังนั้นผมก็จะใช้ตรงนี้เป็นเกณฑ์ในการเลือกว่า ผมจะอ่านหนังสือเล่มไหนต่อให้มันเป็นเรื่องเดียวกัน แต่ถ้าคนเก่งมากๆคนหนึ่งเขาเป็นคนแต่งนะครับ ผมก็จะอ่านเล่มนั้นนะครับ ทีนี้ในขั้นตอนที่เรารู้แล้วว่าเราจะอ่านเรื่องอะไร อย่างที่ผมเคยเล่านะครับ ผมต้องการสร้างโครงขึ้นมาในสมองก่อ โครงที่ว่าก็คือว่า หนังสือเรื่องนั้นมันเกี่ยวกับอะไรแน่ สมมุติว่าผมจะอ่านเรื่องเกี่ยวข้องกับศิลปะ ว่าจะว่ารูปสีน้ำอย่างไรให้สวยนะครับ ผมก็อาจจะเอาหนังสือมาเปิด ถ้าเป็นเรื่องเกี่ยวข้องกับจินตนาการทางร่างศิลปะเนี่ย ผมอาจจะใช้จินตนาการปล่อยไปก่อนนะครับ เดี๋ยวผมจะเล่าอีกทีหนึ่งเรื่องของการใช้จินตนาการในการอ่านหนังสือ หรือการกับการใช้สมาธิในการอ่านหนังสือว่า เฮ้ย มันมีประโยชน์อย่างไรแล้วอะไรมันใช้ตอนไหนนะครับ แต่อันนี้ฟังไปก่อนว่า ถ้าเรา relax หรือเราผ่อนคลาย ปล่อยอารมณ์ให้มันเป็นไปตามจินตนาการ อันเนี้ยจะเหมาะกับพวกศิลปะมากกว่านะครับ ใช้แบบเนี้ยในการเริ่ม คือถ้าเป็นรูปเรื่องส่งสีน้ํา ผมก็จะพลิกดูว่า เออ รูปสีน้ําเขาวาดกันยังไงนะ วาดแบบ relax เปิดดูเข้าเข้าก็ได้ รูปไหนสวย รูปไหนไม่สวย รูปไหนมันให้อารมณ์แบบไหน แล้วก็ปล่อยอารมณ์ตามใจ แต่พอเราปล่อยอารมณ์เสร็จแล้ว หลังจากนั้นเราจะมาคิดแล้ว เราจะใช้โฟกัส เราจะใช้สมาธิ คิดดูซิว่ารูปนี้ถ้าเป็นเราจะวาดยังไง จะวาดยังไงนะครับ แล้วพอจะวาดยังไงปุ๊บ ก็ไปดูสิแต่ละบทที่เขาเขียนเนี่ย มันมีเทคนิคอะไรบ้าง ในการวาดรูปรูปนั้น เราต้องรู้อะไรบ้าง พอเราอ่านสารบรรย์ อ่านเทคนิคย่อยย่อยที่เขาเขียน แล้วลองมาเรียบเรียงในหัวสิว่า เรารียบเรียงได้หรือเปล่า ใช้จินตนาการนำกล่องสําหรับกรณีพวกที่ต้องใช้จินตนาการเยอะเยอะ เช่น อ่า แต่งเพลงนะครับ วาดรูป หรือว่าต้องเขียนโปรแกรมอะไรที่มัน ใหม่ๆที่ไม่มีคนเขาทำการพวกนี้ต้องใช้จินาลาการนำแต่ถ้าเกิดว่าเป็นเรื่องของวิชาการหรือเช่นชีววิทยานะครับวิทยาศาสตร์สายต่างๆเคมีฟิสิกส์พวกนี้นะครับหรือคณิตศาลพวกนี้สำหรับผมนะครับไม่ได้ใช้จินาลาการนำก่อนนะครับแต่บางคนก็อาจจะสลับกันนี้แล้วแต่นะครับผมจะใช้สมาธิในการนำเพื่อสร้างโครงในหัวก ถ้าเราอ่านหนังสือสารบันแวบนึงแล้วเราปิดหนังสือ เราสามารถสร้างโครงข่ายเข้ามาในหัวไว้ว่า หนังสือเรื่องเนี้ยต้องการสอนอะไรเรากันแน่ มันจบแล้วมันเอาไปทําอะไรได้นะครับ ผมจะตั้งขึ้นมาอย่างงี้ก่อน แล้วพอเห็นไอเดียเห็นคร่าวๆว่า เออให้ มันมีโครงร่างหนังสือแบบนี้นะ ความรู้เกี่ยวข้องกับเรื่องนี้ แล้วจบแล้วเนี่ย เราน่าจะเอาความรู้พวกเนี้ยไปทําอะไรได้ เช่นว่าเราอ่านเสร็จปุ๊บ เฮ้ย เราเอาคําความรู้คณิตศาสตร์เนี่ย น่าจะสามารถไปสร้างตึกได้ ไปเขียนโปรแกรมได้ ไปดูสิว่า เอ่อ ถ้าเราจะส่งย้านอวกาศ ไปข้างนอกเนี่ย มันจะส่งได้ยังไง ให้มันหวนวนรอบโดงจันทร์รอบหนึ่งไหม จะได้มีแรงเหวี่ยงส่งไป มันไกลขึ้นเร็วขึ้น อะไรทําลองเนี้ยนะครับ ก็จะใช้ความคิดพวกเนี้ย เป็นสมาธิแล้วก็หนํา แต่ถ้าคิดต่อเนื่องมาจากนั้นจะต้องใช้จินตนาการแล้ว เพราะจินตนาการมันสำคัญกว่าความรู้ เรารู้เท่าไหร่มันก็อยู่แค่นั้น แต่ถ้าเราจินตนาการเพิ่มขึ้นได้ เราสามารถหาความรู้เราเพื่อไปสู่จินตนาการเราได้ ดังนั้นต่อให้ผมเริ่มต้นด้วยสมาธิ ตั้งไว้สติตรงๆเลยว่าหัวข้อเรื่องมันมีอะไรบ้าง เราเรียกเป็นโครงข่ายในสมอง แต่ถ้าเราจะต้องทำมากกว่าโครงข่าย เราจะเอาเลขนั้นไปประยุกต์ทำอะไรได้บ้าง ต้องใช้จินตนาการนะครับ แล้วทำแบบนี้มันจะมีความสุขเพิ่มขึ้นมาเลยนะครับ เพราะฉะนั้นนี่คือเป็นวิธีในการเรียนรู้ในศาสตร์ที่เป็นวิชาการเป๊ะๆ กับศาสตร์ที่ต้องใช้จินตนาการเช่นดนตรี เพลง กีฬา อะไรพวกนี้ผมก็จะใช้ ถ้าเป็นเชิงพวกนั้นผมก็จะใช้จินตนาการนำก่อนนะครับ ทีนี้มาถึงในแง่ของว่าสมาธิหรือโฟกัสของเรานะครับ กับจินตนาการหรือการที่เราต้องรีแล็กซ์เนี่ยมันดียังไงนะครับ เวลาคนที่เราเรียนรู้เนี่ยนะครับ ถ้าเกิดว่าเราเรียนรู้ในสายทางวิทยาศาสตร์ หรือสายประวัติศาสตร์ หรืออะไรที่มันเป็นข้อมูลที่เรารู้อยู่แล้ว เราใช้สมาธิกับมันจะดีมาก เราโฟกัส เรามีสมาธิกับมันตรงๆ นะครับ มันจะใช้ได้ผลดี แต่ว่ามันจะมีอยู่ช่วงหนึ่งเท่านั้นแหละครับ เช่น ช่วงที่ท่านกำลังติดปัญหาอะไรสักอย่าง เช่น ถ้าท่านอ่านไปแล้ว นี่ไม่เข้าใจเลย ไม่รู้มันแปลว่าอะไร หรือลองทำโจทย์แล้วมันคิดไม่ออก คิดไม่ได้ จะทำยังไงดี ตอนนั้น ที่ relax mind หรือในช่วงที่ท่านกำลังผ่อนคลายมันจะช่วยท่านได้ อันนี้ก็จะเป็นช่วงปล่อยจินตนาการ ถ้าลองคิดดูท่านตั้งสมาธินะครับ คืออะไร ตั้งสมาธิมันเหมือนเลเซอร์ยิงเข้าไปที่จุดๆเดียวแล้วก็ โอ้โห ไม่มองอย่างอื่น ปิดทุกอย่าง ไม่มีเสียงกระตุ้น ไม่มีอะไรรบกวน ท่านมองไปที่จุด เดียวนะครับ สมองถ้ามันทํางานแบบเป๊ะ แบบ เนี้ย แต่มันมีความแข็งกระด้าง ความไม่ยืดหยุ่นจนเกินไปนะครับ มันทําให้บางครั้งเวลาเจอปัญหาที่ยาก แล้วเนี้ย มันไม่สามารถพลิกแพลง ความคิดได้ ถ้าเมื่อท่านเจอเหตุการณ์แบบนั้นแล้วก็ เวลาเรียนอะไรก็แต่ ผมอยากจะให้ท่านลอง relax ลองพักผ่อนดูบ้าง พักผ่อนเช่น สมมุติผมคิดโจทย์เลขข้อหนึ่ง คิดอยู่ชั่วโมงดูแลคิดไม่ออก แล้วทำไงดี โอเคผมเลิกคิดเลย มานั่งเล่น นั่งเล่นแบบสบายๆ นั่ง พิงแล้วก็อาจจะถือ อะไรไว้ในมือเอาควงปากกาควงไปเรื่อยเรื่อยควงเล่นอย่าง นี้นะครับถือลูกหรือ ลูกบอลหรืออะไรดีบเล่นก็ได้นะครับ ทําไปเรื่อยเรื่อยนะครับ แล้วก็คิดถึงโจทย์ข้อนั้น แต่คิดในแบบขํา ไม่ต้องคิดจริงจังกับมัน คิดว่า อะไร คือการที่เรา relax การที่เราปล่อยความคิดเราให้ มันไหลลื่นตามที่แบบมันควรจะเป็นนะครับ เนี่ยเราก็ตั้งไว้อย่างเงี้ยสักพักหนึ่งแล้วเราก็อาจจะตั้งรายการปกไว้ว่า เอ๊ยถ้ามันครบสักสิบยี่สิบนาทีแล้วนะ ก็แปลว่า เออ ช่วงนั้นเจนอาหารการเราครบแล้ว เราก็ลองคิด คิดไปเรื่อยไม่จําเป็นเราต้องคิดเพื่อหวังเอาคําตอบนะครับ คิดเล่นเล่น คิดเล่นเล่นเลย ตอนเนี้ยจะต่างจากสมาธิและสมาธิเราต้องคิดเอาเป็นเอาตายให้แน่นอน ให้มันมันเป๊ะ ให้มันคิดให้ได้ คิดให้ออกนะครับ โดยมีจุดมองหมายคือคิดออก แต่คิดแบบ relax คือปล่อยให้สมองมันทำงานของมันเอง ไม่ต้องหวังว่าจะได้ผลอะไรออกมาจากมัน ปล่อยไว้เฉยๆ ปล่อยธรรมชาติ แค่คิดถึงเรื่อง สิ่งที่เรากำลังคิดด้วยธรรมชาติ แล้วจะมีความคิดอะไรร่องรอยออกมาในหัว ช่างมันไม่ต้องสนใจนะครับ บางคนคิดว่า เฮ้ย เดี๋ยวอาหารเย็นนี้จะกินอะไร เราจะไปดูหนังเรื่องอะไรดี เราจะไปซื้อหนังสืออะไร เราจะไปกินขนมที่ไหน เราจะใส่แบรนด์เนมหรือเปล่า มันมีความคิดแทรก ช่างมันไม่ต้องสนใจครับ แต่พยายามให้ความคิดหลักเราเกี่ยวข้องกับสิ่งที่เรากำลังเผชิญหน้าอยู่ เช่นเราเผชิญหน้ากับโจทย์เลขยังยาก เราก็คิดตรงโจทย์เลขเล่นๆนะครับสบายๆเพราะมันครบเวลาเช่น 10-20 นาทีหรือบางคนหลับไปเลยแล้วตื่นขึ้นมานะครับ ตอนนั้นเลยอย่าเพิ่งไปทำอะไรอย่างสิ่ง ให้เปลี่ยนสมองเรากลับไปเป็นสมาธิและจดจ่อกับสิ่งที่เราทำอยู่ทันที ทันทีเลยนะครับตอนนั้น ท่านอาจจะประหลาดใจว่า ความคิดที่ relax เมื่อกี้ที่มัน flow อยู่ในหัวเรา อยู่ๆถ้าเปลี่ยนมาเป็นสมาธิทันทีบางครั้งมันคิดออกเลยว่า ไอ้เลขเมื่อกี้จะทำยังไง คิดเข้าใจเลยว่าที่เมื่อกี้เราอ่านไป ถ้าเราไม่เข้าใจ มันเข้าใจได้ยังไง เหมือนกับเวลาที่ท่านเขียนงาน บางคนจะรู้เลย เช่น เขียนงาน เขียนนักสือ แต่งดำรา เล่มนึง หรือว่าทำงานวิจัย เล่มนึงเราเขียน manuscript เขียนๆ เขียนเสร็จ เรามั่นใจว่า มันถูกต้องเป๊ะๆ แล้วล่ะ อย่าเพิ่ง ทำอะไรต่อไปครับ ทิ้งสมาธิสะ สมาธิท่านลงไปกับการเขียน เรียบร้อยแล้ว ทิ้งมันไว้อย่างงั้น ไปเดินเล่น ปล่อยสมองให้ ให้มัน นะครับ ให้มันลอกลอยไปตามความคิดที่จะเป็น แล้วก็คิดถึงเรื่องงานที่ท่าน เขียนไว้เล็กเล็กเล็กน้อยนะครับ ผ่านไปสักพักหนึ่งแล้วท่านกลับมา มามองที่งานเขียนของท่านใหม่สิครับ ท่านจะเห็นข้อผิดพลาดอะไรแบบ มหาศาลมากมายเลยทีเดียว วาดรูปก็เช่นกัน วาดวาดอยู่เรื่อยเรื่อยนะ นะครับ ไม่รู้ว่าจะจบตรงไหน ไม่เป็นไร แค่นั้นแหละ เดินไปเที่ยวก่อน คิดอะไรเรื่อยๆ คิดไปเรื่อยๆ กลับมาใหม่ แต่ต้องตั้งเวลานะครับ ไม่ใช่หายไปทั้งวัน 2 วันนะ หายไปสักพักนึงสัก 20 นาทีไปรีแลส แล้วกลับมาใหม่ แล้วใช้ความคิด มันจะคิดออกครับ นี่เป็นวิธีที่ผมรู้สึกว่า เอ๊ย มันใช้ได้ผลจริงๆนะครับ แล้วก็ขึ้นอยู่กับการที่ มันต้องเป็นแล้วแต่สิ่งที่เราเรียนรู้ด้วยนะครับ ถ้าเป็นสิ่งที่ต้องใช้ตอนนาการ เราใช้จินตอนนาการหนับ เช่นศิลปะ กีฬาอะไรพวกนี้นะครับ หรืออะไรก็แล้วแต่ แล้วใช้สมาธิตามที่หลัก แต่ถ้าเป็นงานที่ต้องใช้สมาธิก่อน เช่น ประวัติศาสตร์ ความจำ คณิตศาสตร์ หรืออะไรพวกนี้ วิทยาศาสตร์ผมจะใช้สติ สมาธินำกอดจินตรงนาการตามที่หลับนะครับ นี่ก็ต้องไปเปล่าเอาเองกันนะครับ ว่าคนไหนเหมาะกับแบบไหนนะครับ และบางคนก็อาจจะ ไปใช้วิธีนี้ในการอ่านหนังสือ ซึ่งผมก็ใช้นะครับจริงๆผมก็ไม่รู้ตัวว่ามันมีชื่อเรียกด้วยนะครับ ผมก็จริงๆเวลาที่ผมอ่านหนังสือเนี่ยผมก็จะแบ่ง session หรือแบ่งช่วงเป็นช่วงนี้ตั้งใจนะครับ ผมก็จะตั้งใจอ่านเต็มที่เลยแต่ผมจะตั้งไว้สักประมาณครึ่งชั่วโมงหรือบางทีชั่วโมงนึงได้ แต่ถ้าคนทำใหม่ๆบางทีสมาธิท่านอาจจะอยู่แค่ 10 นาที 20 นาทีอันนั้นไม่เป็นไรนะครับไม่เป็นไรก็เท่าไหร่เท่านั้น แต่ว่าให้ตั้งเวลาไว้ให้มันนานกว่าสมาธิที่ปกติท่านทำได้สักนิดนึงเช่นปกติ 10 นาที ก็เบ ตั้งสัก 12 นาทีนะครับ เอาแค่ 12 นาที ถ้าท่านทำ 20 นาทีตั้งสัก 25 นาทีนะครับ 25 นาทีสมมุติว่าผมตั้ง 25 นาที ผมจะมีสมาธิกับสิ่งที่อ่าน 25 นาทีแบบสุดๆเลย แล้วพอมันครบปุ๊บ ผมจะใช้เวลาประมาณสัก 5-10 นาทีในการ relax นะครับ เมื่อกี้สมาธิ ตอนนี้ relax มันเป็นการสอนตัวเองให้มีสมาธิ และสอนตัวเองให้ relax สอนตัวเองให้ผ่อนคลาย ในช่วงผ่อนคลายนี่แหละครับ เป็นช่วงที่จินตนาการมันจะปันเจิดนะครับ เป็นช่วงที่ถ้าเราอ่านหนังสือไปสัก 25 นาที ไอ้ 5 นาทีนั้นเราพักแล้วเราทำอะไรก็ได้เลย เช่น เราอาจจะเล่นเกม เราอาจจะไปเดินเล่น เราอาจจะไปดมดอกไม้ เราอาจจะไปดมน้ำหอม เราอาจจะไป เอ่อ เปิดฟังเพลงนะครับ แต่ตั้งเวลานะครับ ไม่ใช่ฟัง เราฟังไปตลอด ทําสักห้านาทีสิบนาที แล้วจบ เช่นถ้าห้านาทีก็เออห้านาทีจบ แล้วกลับมาโฟกัส กลับมามีสมาธิกับงานใหม่ ทําอย่างเงี้ย สลับสลับกัน มันจะทำให้ประสิทธิภาพในการอ่านหนังสือสูงมากขึ้น เพราะว่ามันเป็นการสอนท่านให้มีสมาธิซ้ำๆ แล้วมันก็สอนท่านให้ relax ซ้ำๆ การที่ relax การที่ปล่อยความคิดให้มันร่องลอยไป มันจะเป็นการที่สามารถทำให้สมองเรามีจินตนาการและเข้าไปสู่สิ่งใหม่ได้ ส่วนการที่โฟกัส มีสมาธิกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง มันจะทำให้ท่านสร้างโครงข่ายต่างๆ ในสมองได้อย่างมั่นขก แล้วบังเอิญผมก็ดันไปได้มีคนพูดถึง อันนี้มันมีชื่อจริงๆด้วย ชื่อว่า Pomodoro Technique คือผมก็ไม่ทราบว่าตัวเองอ่านวิธีนี้จนกระทั่งได้ยินจาก คนๆๆเขาบอกว่า เออเนี่ยเป็นวิธีอ่านแบบ Pomodoro ผมก็ Pomodoro ที่เรารู้สึกมันเป็นชื่อร้านอาหาร มันแปลว่ามะเขือเทศในภาษาอิตาลี แล้วก็เกี่ยวอะไรกับมะเขือเทศ ผมก็ไม่รู้ ผมก็ไม่ได้ไปตามอ่านว่า Pomodoro Technique คืออะไร แต่ว่าเห็นรูปมันมีรูปมะเขือเทศ แล้วก็มีตัวตั้งนาฬิกาอยู่กับมะเขือเทศ แล้วเขาก็อ่านกันแบบนั้นนะครับ ผมก็ทำอย่างนั้นนะครับ โดยเขาแนะนำว่าทำสัก 4 วัน ก็คือโฟกัส 25 นาที พัก 5 นาที กลับมาโฟกัสใหม่ แล้วก็พักใหม่ ช่วงพักก็จะเป็นช่วงที่ relax ของสมองนะครับ ทำอย่างเนี้ย 4 รอบติดกันนะครับ แต่สมัยผมอ่านไปต่างประเทศอาจจะหักโขมมากกว่าคนอื่น คือว่าผมทำถ้าทำก็วันหนึ่งหลายสิบรอบอ่ะ เพราะว่าตั้งแต่เช้ายันดึกผมอ่านตลอดเวลาเลยนะครับ แล้วก็มีช่วงออกกำลังกายด้วยนะครับ อันเนี้ยนะครับ เป็นวิธีในการอ่านที่มันดีมาก แต่ถ้าเป็นวิชาที่มันเป็นเชิงนามธรรม หรือต้องใช้จินธนาฬิการสูง ผมแนะนําให้ทําสลับโพโมโดโร่ นะครับ ยี่สิบห้านาทีแรกที่ท่านจะโฟกัส ท่านปล่อยอารมณ์ไปเลยครับ ปล่อยอารมณ์ตามสบาย คิดถึง อยากจะว่ารูปอะไรสักอย่าง ก็คิดถึงท้องฟ้า คิดถึงเออ เติมนก ก็จะเข้าไป ไม่ต้องคิดอะไรมากนะครับ แล้วพอคิดครบยี่สิบห้านาที ไอ้ห้านาทีนั้นล่ะ ลงมือวาด ลงมือใช้แบบ เราจะสีนี้ตรงไหน เราจะวิเคราะห์ เราจะเอาสีไหนลงก่อน เราจะเอากระดาษปิดไว้ไหมก่อนไหม เราจะทำนู้นทำนี้อะไรไหมนะครับ คิดเป็นขั้นเดินตอน 5 นาที 10 นาทีพอนะครับ ถ้าเป็นจินานาการให้ทำแบบนี้นะครับ ในพวกสายทางศิลปะลองทำแบบนี้ดู เพลงก็ลองทำแบบนี้ดูนะครับ คือจินานาการไปก่อนแล้วค่อยไปโฟกัสมีสติกกับมันแค่น้อยๆ นี่คือวิธีอย่างหนึ่งนะครับ ต้องเหนื่อยจากนี้เนี่ย คือการออกกําลังกาย ถ้าท่านอยากจะมีความจําที่ดีขึ้น ความเข้าใจอะไรที่ดีขึ้น มีจันราการที่สูงส่งขึ้น ท่านควรจะต้องออกกําลังกายด้วย ท่านลองคิดดู ถ้าท่านอ่านไปสักพักแล้วท่านไปวิ่งนะครับ วิ่งให้มันเหนื่อยเหนื่อย สักพักกลับมาแล้วพอพักหายเหนื่อยแล้วลองอ่านดู สมาธิท่านดีขึ้นครับ แล้วความจําท่านก็จะดีขึ้นด้วย คนที่อ่านหนังสือตลอดเวลาที่ไม่มีการออกกําลังกายแล้วเนี่ย ถ้าไม่ใช่ Genius จริงๆ สมาธิแม่นจริงๆ หรือเด็กออทิสสิกบางคนเนี่ยมันทำไม่ได้นะครับ มันความจำจะไม่มานะครับ และทีนี้ก็อยากเตือนอีกอย่างหนึ่งคือ บางคนรู้สึกน้อยใจว่า เฮ้ยทำไมตัวเราเนี่ยมันช้าจัง อ่านหนักสือช้า คนอื่นเขาอ่านปืดเดียวจบ เฮ้ยเราอ่าน เขาอ่านชั่วโมงเดียวโหไปแล้วกี่หน้าเนี่ย เราอ่านยังอยู่สามหน้าอยู่เลย ทำไมเราช้ากว่าเขาเพื่อน อย่างงี้ครับ คนอ่านหนังสือช้าเนี่ยไม่ต้อง ไม่ต้องเสียใจหรืออะไรไปนะครับ ผมคนหนึ่งนะครับ เป็นคนที่อ่านหนังสือช้ามาก เมื่อเทียบกับคนอื่น แต่การที่อ่านหนังสือช้า ท่านลองดู คนที่อ่านหนังสือเร็วเนี่ย เปลี่ยนเหมือนคนที่แบบ วิ่งสปรินท์คือผ่านไปเลยเร็วๆ คนที่อ่านหนังสือช้าคือคนที่แบบ เดินๆๆ อยู่ระหว่างทาง แต่เดินระหว่างทาง มันจะเห็นอะไรบ้างครับ มันจะสังเกตหลายๆ อย่าง เช่น สังเกตว่าลมตัวนี้เป็นยังไง มีกลิ่นในลมหรือเปล่า มีเกษรดอกไม้ กลิ่นแบบไหนบ้าง เห็นแมลง เห็นเนอะ ได้ยินเสียงเนอะนะครับ เก็บรายละเอียด ริมทางมีก้อนหินตรงไหนอยู่ตรงไหน เราเก็บรายละเอียดหมด เราเป็นพวกเก็บรายละเอียดครับ แล้วพอไปถึงจุดหมาย มันจะเข้าใจจริงๆเลยนะครับ คือรอบเดียวที่เป็นรอบที่เข้าใจสุดๆไปเลย แน่นอนว่ามันอาจจะต้องพยายามมากกว่าคนอื่นเขาเพื่อนนะครับ แต่ถ้ามันเข้าใจแล้วมันเข้าใจเลยครับ แต่คนที่เขาไปเร็วเนี่ยบางทีเขาไม่ได้ดูรอบๆข้างว่ามีอะไร ดังนั้น เขาอาจจะตรงเป้าหมาย เป้าหมายหนึ่งมากกว่า แต่ว่ารายละเอียดรอบรอบข้างเขาจะไม่ค่อยมีเท่าไหร่ ตรงเนี้ย ถ้าคนที่เป็นคนที่อ่านหนังสือเร็ว ลองอ่านหนังสือให้มันช้าลงแล้วลองขัดจินตนาการระหว่างทางเพิ่มขึ้น มันจะช่วยท่านได้นะครับ อ้าว ส่วนบางคนก็บอกว่า ทํายังไงดี ไม่มีสมาธิเลย เนี้ยพอจะคิดถึงเรื่องอะไรนะ อย่างอื่นมันก็เข้ามาแทรกไปหมดเลยนะครับ เอ่อ อ่านหนังสือเรื่องประวัติศาสตร์ สักเรื่องหนึ่งเนี้ย อ่านไปสักพักหนึ่ง โอ้โห เราอยากจะไปกินชา นมไข่มุก เอ่อ วันเสาร์นี้เราจะไปเที่ยวไหนดี เอ้ย มันโผล่ไว้ในหัว นี้ไม่ต้องเสียใจนะครับ มันมีคําแปลว่า ท่านเป็นคนที่มีจินตนาการสูงส่งมาก ท่านไม่สามารถที่จะ ยึดเหนียวกับความคิดหนึ่งงานที่เป็นสมาธิสูงสูงได้ เพราะว่าท่านมีจินตนาการแล้วเป็นความคิดเล็กๆน้อยๆมาแทรกเข้าไปแทรกเข้าไปแทรกเข้าไปเยอะๆ ซึ่งพวกเนี่ยแน่นอนว่ามันอาจจะเหมาะกับสายทางด้านศิลปะมากกว่านะครับ อ่า มันอาจจะเหมาะกับสายศิลปะมากกว่า แต่ถ้าท่านลองคิดดู มันขึ้นอยู่กับว่าสมองท่านตอนแรกเริ่มเนี่ย มันสร้างมาทางไหน ถ้าสร้างมาทางศิลปะ ให้ใช้วิธีทางศิลปะ แต่หักวิธีทางวิทยาศาสตร์ ก็คือวิธีในการโฟกัสสร้างสมาธิด้วย แต่ถ้าท่าน สมองของท่านมาทางวิทยาศาสตร์ ท่านเก่งสมาธิ ให้ท่านฝึกทางศิลปะไปด้วย เพราะว่าอะไร สมองคนเราอะครับ ถ้ามันทำสองอย่างพร้อมกันได้ จิตนาการ บวกกับความแน่วแน่ มันคือที่สุด ท่านลองดูอะไรก็ได้ คนที่เก่งมากๆในเชิงวิทยาศาสตร์ อัลเบิร์ดอัยนสไตน์ พวกนี้นะครับ หรือคนที่ฉลาดสุดๆมากๆ เขาไม่ได้มีแค่เขาคิดเลขเก่ง เขาคิดวิเคราะห์อะไรเก่ง แต่เขาต้องจินตนาการไปเรื่อยๆเก่งด้วยนะครับ ไม่ฉะนั้นก็จะเก่งได้แค่ทำโจทย์เลขเก่ง ไปเก่งขนาดสอบโอลิมปิกได้ แต่เลยจากนั้นล่ะ จบจากโอลิมปิกแล้วไง ถ้าต้องการสร้างสิ่งใหม่มันจะต้องมีจินตนากะ ถูกมั้ยครับ แล้วถ้าเป็นสายศิลปะล่ะ สายศิลปะนี่ก็เหมือนกันนะครับ เราอาจจะวาดเก่ง เราอาจจะคิดวิธีวาดได้ เราอาจจะนอนนี้ได้ แต่ถ้าท่านมีวิทยาศาสตร์ หรือมีสมาธิบางอย่างเข้ามาจับกับตัวความคิดของท่าน ที่ให้มันทำให้มันเป็นระบบระเบียบเรียบร้อยแล้วนี่ล่ะก็ มันก็จะพัฒนาศิลปะของท่านสูงขึ้นไปอีกขั้นหนึ่งนะครับ เพราะว่าศิลปะคืออะไรครับ บางคนบอกว่า เฮ้ย อารมณ์สิน ตอนเนี้ยอารมณ์ไม่มา ก็ไม่อยากทํา ว่าไม่ได้ แต่ถ้าท่านสามารถบังคับอารมณ์สินของท่านได้ มันจะเกิดอะไรขึ้น สั่งได้เลยนะครับ ตอนนี้ท่านเป็นนายของตัวเอง สั่งว่าวันนี้จะวาดรูปมังกรแบบนี้ จะต้อง create ให้ออก ด้วยสมาธิ แล้วท่านทําได้ ถ้าท่านมีจิตรากรเก่งมากสองคน คนหนึ่งสามารถทําอะไรก็ได้ เมื่อไหร่ก็ได้ อีกคนหนึ่งต้องรออารมณ์สินมา ท่านจะเลือกคนไหน นะครับ นี่คือสิ่งหนึ่งซึ่งผมรู้สึกว่า มันน่าจะมีประโยชน์นะ เราไม่ต้องน้อยใจว่าวิธีการคิดของเรา มันมายังไงนะครับ พวกเนี้ยนะครับ ปล่อยตามสบาย แล้วก็วิธีในการเลือก ถ้าให้สรุปนะครับ ข้อแรกสําคัญสุด ตัวเราเองต้องเป็นคนสอนตัวเราเองให้ได้มากที่สุด ความรู้จากคนอื่นเป็นแค่ส่วนประกอบที่เราอาจจะไปถามเขา แต่คนหลักที่สอนตัวเองคือเรา ไม่ว่าเรื่องนั้นมันจะยากแค่ไหน เราก็ต้องเป็นคนเรียนรู้ด้วยตัวเอง เพราะว่ายังไงจบไปเราก็ต้อง เรียนรู้ด้วยตัวเองตลอดชีวิต เรียนรู้ไม่มีวันจบนะครับ อันที่สอง เลือกหนังสือ ถามคนในวงการก็ได้ แล้วมาดูว่าใครแต่ง ตามไปเช็คประวัติคนแต่ง ถ้าประวัติคนแต่งมันเทพมาก หนังสือ ล่ะล่ะล่ะครับ มันน่าจะมีอะไรดีดีนะครับ มันอาจจะไม่ใช่หนังสือที่อ่านง่ายนะครับ ผมบอกไว้ก่อนนะครับ อย่างหนังสือ ส.ส.วท.ของกระทรวงสมัยก่อนเนี่ย ไม่มีคนอยากจะอ่านเพราะว่า มันเขียนเบสิกมาก เขียนง่ายมาก แล้วก็หน้ากระด่ามก็เก่าเก่าเหลืองเหลือง ใครเขาอยากจะอ่านกัน แต่ผมอ่านครับ แล้วมันก็เป็นอะไรที่ทำให้ขนาดของผมกระโดดรวดเป็น 4 ตลอดเลย หลังจากนั้นในวิชาที่ผมเรียนนะครับ มันทำได้จริงๆ ท่านต้องลองทำดู ผมอยากจะให้ลองทำเล่นๆ ทำเล่นๆ ก็ได้ไม่ต้องจริงจังกันมากนะครับ อ่านหนังสือ เรียนรู้อย่างไง วิธีในการเรียนรู้ขึ้นอยู่กับว่าท่านกำลังเรียนรู้ในศิลปะหรือในเชิงวิทยาศาสตร์ ถ้าเรียนรู้ในศิลปะให้ใช้ความคิดจินตนาการ ความ relax ความผ่อนคลายในการนำ แต่ถ้าเชิงวิทยาศาสตร์ให้ใช้สมาธิในการนำ แล้วแบ่งเป็นแบบ Pomodoro Technique ก็คือ ถ้าเป็นสายวิทยาศาสตร์ 25 นาทีมีสมาธิสูง 5 นาทีเป็นการ relax เอาสมองผ่อนคลายคิดเล่นๆ สบายๆ นะครับ แล้วกลับมามีสมาธิใหม่ แต่ถ้าเป็นสายศิลปะผมคิดว่า เอา relax นำ นำมัน 25 นาทีแล้วคิดปล่อยไอเดียบันเจิดคิดอะไรไปก็ได้ แล้ว 5 นาทีเป็นช่วงสมาธิที่ท่านจะต้องคิดวิเคราะห์ลงตัว ทำลงไปเลยนะครับ แบบนี้เลยนะครับ แล้วมันจะได้ผลจริงจริง เวลาคิดปัญหาไม่ออกอะไรนานนาน ให้ลองทำแบบนี้ดูนะครับ นี่เป็นวิธีเล่นเล่นของผมที่ผมทำมาตั้งแต่ตอนช่วงเด็ดเด็ด ก็ไม่อยากรู้ว่ามันจะมี เอ่อ มีชื่อเรียกด้วยนะครับ แล้วก็ไม่อยากรู้ว่ามันจะเป็นประโยชน์ แต่ว่าในเมื่อมันเป็นสิ่งที่ผมได้ประสบทบเจอบันกับตัวเอง แล้วผมก็คิดของผมขึ้นมาเรื่อยเรื่อยแบบนี้เองนะครับ ผมก็อยากจะบอกให้ทุกทุกคนรู้ไว้ว่า เฮ้ย มันมีวิธีแบบนี้ ท่านเอาไปลองทําเล่นเล่นก็ได้ครับ ไม่ต้องซีเรียนไม่ต้องจริงจังอะไร กับสิ่งที่ผมพูดทั้งนั้นนะครับ มันไม่ได้มีประโยชน์อะไรมากขนาดนั้น แต่เอาเป็นขําๆ แล้วกัน เอาไปลองคิดเล่นนะ ถ้าท่านชอบ ไปลองทําดูครับ แต่ถ้าท่านทําแล้วมันไม่เหมาะกับตัวเอง ไม่ชอบเลย เฮ้ยไม่รู้เรื่องอะไร อะไรผมพูดอะไรไม่รู้