Transcript for:
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์

สวัสดีครับขอต้อนรับเข้าสู่ห้องเรียนติวเข้มมัธยมวันนี้พบกับพี่กิ้วอีกแล้วนะครับ เราจะมาเรียนรู้กันต่อในเรื่องของโครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ครับ สำหรับเรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์นะครับ ครูมีคำถามทบทวนกับการเรียนครั้งที่แล้วครับ หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตคืออะไร นักเรียนจำได้ไหม จากลักษณะสำคัญของสิ่งมีชีวิตเนี่ย นักเรียนเรียนรู้แล้วว่าสิ่งมีชีวิตเนี่ยจะมีหน่วยพื้นฐานเหมือนกัน นั่นก็คือมีเซลล์นั่นเอง แล้ววันนี้ครับเราจะมาคุยกันว่าเซลล์ของสิ่งมีชีวิตแต่ละประเภทเนี่ย มีความเหมือนและแตกต่างกันอย่างไร ลองสังเกตจาก 3 ภาพนี้ก็ได้ ภาพแรกนะครับ เซลล์มีหน้าตาอย่างไร ก้อนสีม่วง คืออะไร ทดไว้ในใจก่อนนะ ภาพที่ 2 เซลล์สีฟ้ามีโครงสร้างเป็นอย่างไร ลองดูสิ ขนาดมันแตกต่างจากเซลล์สีม่วงในภาพแรกไหม และภาพที่ 3 ขนาดของเซลล์ รูปร่างของเซลล์เป็นอย่างไร เดี๋ยววันนี้เรามาเรียนรู้กัน คำถามก่อนเริ่มเรียนนะครับ โครงสร้างพื้นฐานของเซลล์มีอะไรบ้าง คำถามที่ 2 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตแตก แต่ละชนิดเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไรครับ และคำถามสุดท้าย เราจะจำแนกสิ่งมีชีวิตโดยใช้เซลล์เป็นเกณฑ์ได้อย่างไร 3 คำถามนี้เดี๋ยวเราจะมาตอบพร้อมกันท้ายบทเรียนนะครับ ครูมีเซลล์ของสิ่งมีชีวิต 4 ชนิดมาให้ดู เซลล์แรกครับคือเซลล์แบคทีเรีย เซลล์ที่ 2 คือเซลล์ของสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน แล้วก็เซลล์ของสิ่งมีชีวิตที่ 3 คือ Paramecium และสุดท้าย Amoeba สี่ภาพนี้มีความเหมือนกันอย่างไร ถ้าเราค่อยค่อยซูมดูแต่ละภาพนะครับ ภาพแรกเนี่ย Bacteria ก็เป็นสิ่งมีชีวิตเซลเดียวเหมือนกัน แล้วก็เป็นสิ่งมีชีวิตเซลเดียวที่มาอยู่รวมกัน อ่า เห็นป่ะ อันนี้คือหนึ่งเซลของสิ่งมีชีวิต Cell Bacteria Cell Bacteria Cell Bacteria ภาพที่สองครับ สาหร่ายสีเขียวแกรมน้ำเงิน อ่า ก็เป็นเซล หนึ่งเซลคือหนึ่งสิ่งมีชีวิตนะ มาต่อครับ อยู่ร่วมกันเป็นสายเอายาวแบบนี้ ภาพที่ 3 ครับ Paramysiam นี่ก็ 1 เซลล์เหมือนกัน ขนาดใหญ่มากๆเลย ภาพที่ 4 ครับ Amoeba นี่ก็ 1 เซลล์เหมือนกัน นักเรียนคิดว่าเราจะสามารถจัดจำแนก สิ่งที่ 4 ประเภทนี้ ออกเป็นกลุ่มได้อย่างไร โดยใช้เกณฑ์อะไรในการจัดจำแนก ถ้าเราศึกษาเชิงลึกเข้าไป ในโครงสร้างของแต่ละเซลล์ เราจะพบว่าเซลล์บางเซลล์ จะมีโครงสร้างที่เรียกว่า ในขณะที่บางเซลล์ไม่มีนิวเคลียส ดังนั้น 4 ภาพนี้นะครับ ถ้าเราดูเข้าไปข้างในนะครับ เราจะเห็นว่าบางเซลล์ไม่มีนิวเคลียส และบางเซลล์มีนิวเคลียส ดังนั้นเราเลยสามารถแบ่ง ประเภทของเซลล์ออกเป็น 2 ประเภท ประเภทแรกทุกคนลองสังเกต เขาจะมีโครงสร้างสารพนุกรรม อยู่ภายในเซลล์เหมือนกัน เป็น Genetic Material เห็นไหมครับ ซึ่งมันก็คือ DNA นั่นเอง อันนี้คือเซลล์ที่ 1 นะครับ ส่วนเซลล์ที่ 2 ทุกคนลองดู มี Genetic Material เหมือนกัน แต่อยู่ในโครงสร้างที่มีเยื่อหุ้มมาล้อมรอบ ในนี้ก็มี DNA เหมือนกัน ลองสังเกตสิครับ สองภาพนี้แตกต่างกันอย่างไร ภาพแรก DNA ไม่มีอะไรมห่อหุ้มเลย ส่วนภาพที่สองมันมีโครงสร้างของเยื่อหุ้ม มห่อหุ้ม ดังนั้นภาพแรกถือว่าไม่มี Nucleus เราจะเรียกเซลล์ที่ไม่มี Nucleus หรือมี DNA ลอยเคว้งคว้างภายในเซลล์แบบนี้ เราเรียกเซลล์กลุ่มนี้ว่า Prokaryotic Cell ส่วนภาพที่สองมี Nucleus มีเยื่อหุ้ม มห่อหุ้ม DNA เราจะเรียกว่า U-karyotic cell คำว่า Pro เนี่ย แปลว่ากร ส่วนคำว่า U เนี่ย แปลว่าแท้จริง ดังนั้นเดาได้ไหมครับว่า karyotic หรือ karyote เนี่ย แปลว่าอะไร karyote นะครับ มันคือ nucleus ดังนั้น Prokaryotic Cell ก็คือเซลล์ก่อนที่จะมีนิวเคล็ดที่แท้จริง ดังนั้นถ้าเราศึกษาเซลล์ประเภทนี้นะครับ กลุ่มเซลล์ที่เป็น Prokaryotic Cell นะครับ เขาจะมีโครงสร้างของ Genetic Material หรือ DNA ลอยอิสระภายในเซลล์ ไม่มีเยื่อหุ้ม มห่อหุ้ม แต่ในขณะที่ Eukaryotic cell นะครับ เขาจะมีนิวเคลียร์ที่แท้จริงแล้ว ดูอย่างไรก็คือ DNA ของเขา สารพันธุกรรมของเขาเนี่ย จะมีเยื่อหุ้ม มห่อหุ้มนะครับ ดังนั้น 2 ภาพ 4 ภาพ สีภาพในสไลด์ก่อนหน้านี้ เราเลยสามารถแบ่งได้จากการมีนิวเคลียส แบคทีเรียกับสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน เป็นกลุ่มเซลล์ที่ไม่มีนิวเคลียส ดังนั้นเราจะเรียกว่าอะไรครับ เราจะเรียกว่า Prokaryotic Cell ส่วนถ้าคุณบอกว่า Paramecium กับ Amoeba ถ้าเราใช้กล้องสถาตริย์ที่ละเอียดกว่านี้ ศึกษาเข้าไปในโครงสร้างภายในเห็นนิวเคลียส เราจะจัดสิ่งอุณหิตกลุ่มนี้อยู่ในเซลล์กลุ่มไหนครับ ก็ U-cariotic cell ใช่ไหมครับ โอเคนะ ดังนั้นประเภทของเซลล์ในโลกของเราสิ่งฮิตนะครับ ถ้าไม่เป็น Prokaryotic cell ก็เป็น Eukaryotic cell โดยใช้การ มีนิวเคลียสเป็นเกณฑ์นั่นเอง คราวนี้เรามาดูความแตกต่างของ Prokaryotic Cell กับ Eukaryotic Cell มีอะไรบ้าง มาดูอย่างแรกเลย ตัวอย่างของสิ่งมีชีวิต ตัวอย่างของสิ่งมีชีวิตใน Prokaryotic Cell ได้แก่พวกแบคทีเรีย และก็เมื่อสักครู่เห็นไหม คือพวกสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน ดังนั้นเนี่ย คุณอยากให้ดูนะ สาหร่ายสีเขียวแกรมน้ำเงินเนี่ย ชื่อเป็นสาหร่ายนะครับ แต่ถ้าเรามาดูลักษณะแล้วเนี่ยนะครับ มันอยู่ในกลุ่มของพวกแบคทีเรียนะ นะครับ สาหร่ายสีเขียวแกรมน้ำเงินเนี่ย ก็คือแบคทีเรียชนิดหนึ่ง อ่า มาดูตัวอย่างของ Eukaryotic Cell บ้าง มีอะไรบ้างนะครับ อย่างแรกเลยก็คือ พืชกับสัตว์แน่ๆ มีนิวเคลียดแล้ว มีอะไรอีก รู้จักฟังจ่ายไหม ฟังใจคือพวกเห็ดรายีด ถ้าเราเอาเซลล์ของฟังใจ เซลล์เห็ด เซลล์รา เซลล์ยีดมาดู ต้องมีนิวเคล็ดแน่นอนเลย ถ้าครูบอกว่ามันเป็น Eukaryotic Cell แบบนี้ นะครับ มีอะไรอีก มีพวก Protosuva ก็คือพวกพารามีเซียมกับอบีบาเมื่อสักครู่นั่นเอง นิวเคลียสพูดไปแล้ว ใครมีนิวเคลียสใครไม่มีนิวเคลียส โปรคาริโอติกเซลล์ไม่มีนิวเคลียส ส่วนยูคาริโอติกเซลล์มีนิวเคลียสนั่นเอง มีนะ ส่วนนี้คือไม่มี ถ้าคุณมาดูลักษณะของสารพนุกรรมใน Prokaryotic Cell เราเห็นไหม มันไม่มีอะไรมาห่อหุ้มใช่ไหม ถ้าเราเอามาศึกษาเราจะพบว่า สารพนุกรรมของ Prokaryotic Cell ก็เป็น DNA ครับ แต่เป็น DNA สายคู่ปลายปิดครับ สายคู่ปลายปิด ที่เรามาศึกษา DNA ของ Eukaryote เนี่ย เดี๋ยวม.4 เทิม 2 เราจะได้เรียนเกี่ยวกับ DNA น้ำๆ เลยนะครับ ก็คือ Eukaryotic Cell เนี่ย DNA ของเขานะครับจะเป็นสายคู่ปลายเปิดครับ ยังไงคือสายคู่ปลายเปิดนะครับ เดี๋ยวครูว่าให้ดูนะครับ อันตราครับจะเป็นอย่างนี้ อันนี้คือ DNA สายที่ 1 DNA ของสายที่ 2 จะเรียงกันเป็นเกี่ยวแบบนี้ นี่คือสายคู่ปลายเปิดนะครับ ลักษณะของไลโบโซม เป็นออร์กาเนลชีวิตหนึ่งที่พบทั้ง Prokaryotic Cell และ Eukaryotic Cell เลย หรือพูดได้ว่าไลโบโซมต้องพบในทุก เซลล์ครับ ไลโบโซมของ Prokaryotic Cell เรามาเปรียบเทียบกับ Eukaryotic Cell เราจะพบว่ามันมีลักษณะแตกต่างกันเล็กน้อย โดยเราพบว่าไลโบโซมของ Prokaryotic Cell จะเป็นลักษณะแบบ 70S ไลโบโซม ในขณะที่ Eukaryotic Cell จะเป็น 80S-Dibosome ครับ น้อง ดูลักษณะสุดท้าย Organelle ที่นี้เยอะหุ้ม Organelle หลายคนอาจจะไม่รู้จัก Organelle คืออวัยวะที่อยู่ในเซลล์ หรือโครงสร้างที่อยู่ในเซลล์นั้นเอง Organs เห็นปะคำว่า Organ Organs เนี่ย ภาษาอังกฤษแปลว่า อวัยวะ Cells ก็คือ Nails Organs รวมกับ Cells ก็เป็น Organelles มันก็คืออวัยวะที่อยู่ใน Cell นะครับ นักเรียนคิดว่า Prokaryotic Cell เนี่ย เขาจะมี Organelles ที่มียกหุ้มไหม คำตอบคือ ไม่มีนะ คิดภาพสิ ขนาดเยื่อหุ้มนิวเคลียส เยื่อหุ้มสารพันธุกรรมของเขายังไม่มีเลยนะครับ ดังนั้น ออกเกเนลที่ไม่มีเยื่อหุ้ม ออกเกเนลของโปรคาริโอร์ด ถ้าเรามาศึกษาเนี่ย เราจะพบว่า ไม่มีโปรคาริโอร์ดที่มีออกเกเนลที่มีเยื่อหุ้มนะครับ ไม่พบนั่นเอง โอเค คราวนี้มาดูยูคาริโอต ยูคาริโอตมีออกแกนีลที่มียูฮุมไหม มีครับ แล้วถ้าเรามาพิจารณาเนี่ย ออกแกนีลของยูคาริโอติกเซลล์เนี่ย จะมีทั้งเยื้อฮุม 1 ชั้นก็มี แล้วก็ 2 ชั้นก็มี โอเคนะ นี่คือตารางเปรียบเทียบระหว่าง โปรคาริโอติกเซลล์แล้วก็ยูคาริโอติกเซลล์ ในวันนี้เราจะมาเจาะลึกกันในเรื่องของโครงสร้างพื้นฐานของเซลล์ยูคาริโอด เซลล์ยูคาริโอดจะมีโครงสร้างพื้นฐาน ทุกคนลองสังเกตนะครับ ภาพแรกเป็นโมเดลของเซลล์สัตว์ครับ ภาพที่สองเป็นโมเดลของเซลล์พืช ครูอยากให้เราดูโครงสร้างพื้นฐานนะ แต่ว่าอย่าสับสนนะ เซลล์สัตว์เนี่ยไม่จำเป็นต้องเป็นเซลล์กลมๆ เซลล์พืชไม่จำเป็นต้องเป็นเซลล์เหลี่ยมนะครับ เดี๋ยวเราจะเห็นอีกเยอะเลยนะครับลักษณะของเซลล์ แต่มาดูโครงสร้างพื้นฐานของเซลล์สัตว์กับเซลล์ สิ่งแรกที่เซลล์ยูคาริโอติกเซลล์จะมีร่วมกันนะครับ คือ 1 เขาจะมีส่วนที่หอคุ้มเซลล์ ซึ่งส่วนที่หอคุ้มเซลล์ที่มีทั้งพืชและสัตว์นะครับ เราเรียกว่า เยื่อคุ้มเซลล์ ต้องมีเยื่อคุ้มเซลล์นะ ภาษาอังกฤษ เรียกหลายๆอย่างเลย Plasma Plasma Membrane หรืออาจจะเรียกครับ ศัพท์ไปเลยว่า Cell Membrane ก็ได้นะครับ โอเค อย่างที่ 2 นะครับ สิ่งที่มีร่วมกันของสัตว์กับพืชคือ Nucleus และอย่างที่ 3 ก็คือไซโตพลาสซึม โอเคนะครับไซโตพาซึ้มเนี่ยนะครับถ้าเรามาพิจารณาต่อไซโตพาซึ้มก็จะสามารถแบ่งออกเป็นสองส่วนนะครับส่วนแรกเนี่ยเราจะเรียกว่าไซโตซ่อครับ ไซโตซ่อก็คือของเหลวเลยแล้วก็มีอีกอันหนึ่งคือ ออ กันเนลครับ โอเค นี่คือโครงสร้างพื้นฐานของเซลล์ สองภาพนี้ครับ เป็นภาพขยายจากภาพเมื่อสักครู่ เห็นไหมครับ ภาพซ้ายก็คือเซลล์สัตว์ ภาพขวาครับ คือเซลล์พืช แล้วที่เราสังเกตครับ ในสองภาพนี้เนี่ย มีอะไรบ้างที่แตกต่างกัน ครูอยากให้ลองดูส่วนที่อยู่นอกสุดเลยนะครับ ส่วนที่อยู่นอกสุดเราเรียกว่าส่วนที่หอวุ้มเซลล์ เราพบว่าภาพที่สองเนี่ย เขาจะมีโครงสร้าง นี่ เห็นไหมครับ โครงสร้างที่ห่อหุ้มเซลล์พืชอยู่นอกสุดเนี่ยนะครับ เราเรียกว่าผนังเซลล์ ทุกคนลองดูเห็นไหม เซลล์สัตว์มีไหมครับ เซลล์สัตว์ไม่มีผนังเซลล์นะ โอเค ดังนั้นเนี่ย ถ้าให้สรุปนะครับ ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์เนี่ย เขาจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใช่ไหมครับ ก็คือ 1. Year-Home-Cell ซึ่ง Year-Home-Cell จะต้องมีในทุก เซลล์ใช่ไหมครับ แต่องค์ประกอบที่ 2 ครับคือ ผนังเซลล์ ในเซลล์สัตว์ไม่มีแน่ๆ ในพืชมีแน่ๆ แล้วมีอะไรอีกไหม เซลล์ไหนอีกไหมที่มีผนังเซลล์นะครับ เราพอว่าเซลล์ในสิ่งที่แต่ละชนิดที่มีผนังเซลล์นะครับ มีดังนี้ก็คือ พืช สาราย ฟังจายคือเห็ดดายีด แล้วก็แบคทีเรีย โอเคนะ ส่วนในเซลล์สัตว์เนี่ย จะไม่มีผนังเซลล์ ภาพนี้เนี่ย เป็นโครงสร้างของ Year Home Cell สังเกตดูครับ Year Home Cell มีสีอะไรบ้าง ดูจากสีก่อนนะ มีสีม่วงใช่ไหม มีสีเหลืองใช่ไหม แล้วก็มีสีเทาๆที่เป็นกลมๆอยู่ข้างนอกสุดกับข้างใน สุด โครงสร้างเหล่านี้มันคืออะไรบ้างนะครับ เราไปดูกันเลยครับ โครงสร้างต่างๆเหล่านี้นะครับ เป็นการฟอร์มตัวกันครับ คือเรียงตัวเป็น Year-Hum Cell นะครับ Year-Hum Cell หรือ Cell Membrane เป็นส่วนที่ ขอหุ้มเซลล์ในทุกๆชนิดเลยนะครับ เราเรียกลักษณะการจัดเรียงแบบนี้ว่า Fluid Mosaic Model ลักษณะสำคัญของเยื่อหุ้มเซลล์เนี่ยนะครับ จะมีคุณสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน ลักษณะนี้นักเรียนต้องจำให้ได้ คืออะไร ก็คือว่าเซลล์เนี่ยมันจะไม่ยอมให้สารทุกชนิดผ่านเขาออกได้ มันจะอนุญาตให้สารบางอย่างที่มีคุณสมบัติตรงกับ องค์ประกอบในยื้อหุ้มเซลล์เท่านั้นที่ผ่านเขาออกได้ แล้วในยื้อหุ้มเซลล์ที่มีคุณสมบัติตรงกับในยื้อหุ้มเซลล์ที่ผ่านเขาออกได้ ยี่หุ้มเซลมีอะไรบ้างนะครับ เรามาดูกันเลย ลักษณะแรกนะครับ ของโครงสร้างในยี่หุ้มเซลก็คือ ทุกคนดูคำศัพท์ครับ Faust Faux Lipid คำว่า Faust Faux Lipid เนี่ยมาจากคำสองคำ ก็คือมาจากคำว่า Fault Fade ส่วนคำว่า Lipid มาจากคำว่า Lipid เลยก็คือไขมัน เพราะเราพบว่าในโครงสร้างของยื้อหุ้มเซลล์เนี่ย มันจะมีโครงสร้างนี้ที่เรียกว่า Fault Fade ส่วนโครงสร้างนี้ครับ เราจะเรียกว่า ลิปิด ดังนั้นพอเขาฟอร์มตัวรวมกัน เราเลยเรียกโครงสร้างนี้ว่า Faust for Lipid ถ้าคุณบอกว่าส่วนของ Faust Fade เนี่ยนะครับ เป็นส่วนที่มีคั่วชอบน้ำ เดี๋ยวลองมาเดากันนะ มีคั่วชอบน้ำ ส่วนลิปิดเนี่ย ไม่มีคั่ว ไม่ชอบน้ำ นักเรียนคิดว่าเซลล์จะต้องสัมผัสกับน้ำภายนอกปะ แล้วโครงสร้างภายในเซลล์สัมผัสกับน้ำปะ เห็นมั้ย ทั้งภายนอกและภายในเนี่ยมันต้องสัมผัสกับน้ำหมดเลย ดังนั้นนักเรียนคิดว่าส่วนที่ชอบน้ำควรหันออกไปด้านนอกอย่างเดียว หรือต้องมีส่วนที่ชอบน้ำเนี่ยหันทั้งด้านนอกและด้านใน ลองดูภาพนี้ครับ ภาพนี้จะเป็นตัวเบาะ เห็นไหม เราจะเห็นว่า เนี้ย เขาจะหันส่วนที่ชอบน้ําเนี้ย ออกไปข้างนอก นะครับ แล้วก็ด้านในเนี้ย ก็ยังเป็นส่วนที่ชอบน้ําอยู่ แล้วจะทํายังไงดี ให้มีส่วนที่ชอบน้ำทั้งสองฝั่งเลย Fortful Lipid ในยื้อห้มเซลล์ก็เลยเรียงตัวสองชั้นครับ โดยการที่เอาส่วนหัวออกไปด้านนอก แล้วก็เอาส่วนหัวเข้าไปด้านในนะครับ ทำให้เป็นโครงสร้างแบบนี้ หัวออกไปด้านนอก แล้วก็ส่วนหางหรือลิปิดจะมาประกบกัน ส่วนหางหรือลิปิดก็จะมาประกบกัน โอเค เราเลยเรียกนะครับโครงสร้างนี้ว่า Fortful FORCE 4 LIPID BY LAYER FORCE 4 LIPID คุยพูดไปแล้วเนาะ ก็มี FORCE FADE กับ LIPID ส่วน BY LAYER ล่ะครับ BY แปลว่า 2 LAYER คือชั้น ก็ YUMCELL มี FORCE 4 LIPID BY LAYER 2 ชั้นนั่นเอง โอเค มาต่อกัน นอกจากจะมี FORCE 4 LIPID BY LAYER แล้วนะครับ เราพบว่า ยืมเซลล์จะมีโปรตีนหลากหลายชนิดเลย แทรกอยู่ที่ฟอสโฟลิปิด บางชนิดทำหน้าที่ในการขนส่งสาร บางชนิดทำหน้าที่เป็นเอนไซด์ได้ด้วย บางชนิดเป็นตัวรับสารต่างๆ เป็นรีเซปเตอร์รับสารต่างๆ บางชนิดจับกับสารโมลิกุลอื่นๆ หรือบางชนิดเป็นโปรตีนที่ทำหน้าที่ในการยึดเกาะ โอเค นี่คือหน้าที่ของโปรตีนที่หลากหลายเลยนะครับ ในเยื่อมเซลล์ องค์ประกอบต่อมานะครับ เมื่อกี้มีอะไรบ้างนะ มีฟอสโฟลิปิดใช่ไหมครับ มีอะไรอีก มีโปรตีน องค์ประกอบต่อมานะครับ เป็นโครงสร้างที่เรียกว่าคาร์โบไฮเดรต ซึ่งคาร์โบไฮเดรตเนี่ยทุกคนลองดู มีสองรูป มีสองโครงสร้างในรูปนี้นะครับ มีสองโครงสร้างในรูปนี้นะครับ จะเห็นว่าอันเนี้ยเป็นคาร์โบไฮเดรตที่ติดกับไขมัน ส่วนรูปนี้ครับเป็นคาร์โบไฮเดรตที่ติดกับโปรตีน เราจะเรียกโครงสร้างของคาร์โบไฮเดรตที่อยู่กับไขมันเนี่ยเราจะเรียกว่า กรายโคลิปิตครับ ในขณะที่คาร์โบไฮเดรตที่ติดกับโปรตีนเนี่ย เราจะเรียกว่า กรายโคลิปิต โอเค และนี่ก็คือโครงสร้างของเยื่อหุ้มเซลล์ครับ ต่อมาผนังเซลล์นะครับ ผนังเซลล์อย่างที่ครูบอก มันไม่ได้พบในเซลล์สัตว์น้า แล้วพบในเซลล์อะไรบ้าง ก็พบในพืช พบในสาราย พบในแบคทีเรีย พบในฟังจายนะครับ ทำหน้าที่ให้ความแข็งแรงกับเซลล์ แล้วก็ทำให้เซลล์คงรูปอยู่ได้นะครับ แล้วคราวนี้ครูอยากรู้ต่อ พืชกับสาราย แบคทีเรีย ฟังจายมันมีสารที่ประกอบกันเป็นผนังเซลล์เป็นสารชีวิตเดียวกันไหม ถ้าเรามาศึกษาเราจะพบว่าพืชกับสารายจะมีโครงสร้างที่เป็นอบกรอบของผนังเซลล์เหมือนกัน เป็นสารชีวิตมลิกุลที่เรียกว่าเซลล์โรด เป็นคาร์โบไฮเดตชนิดหนึ่ง ส่วนฟังจาย ฟังจายคือเห็ดดายีทจะมีสารที่ชื่อว่าไข่ติน ก็เป็นคาร์โบไฮเดรตเหมือนกัน แต่คนละชนิดกับเซลโวโลด และสุดท้ายแบคทีเรียครับ โห อันนี้แหละ เวลาเราพัฒนายาเนี่ย ในการฆ่าแบคทีเรีย เราศึกษาจากยี่ห้อมเซลล์ก็ได้ ศึกษาจากผนังเซลล์ก็ได้ ก็คือเป๊บทิโดไกรแคลน Peptido Glycan นะครับ นี่คือสารต่างๆที่ประกอบกันเป็นผนังเซลล์ในเซลล์ของสิ่งมันที่แต่ละชนิด มีเซลล์โรด มีไครติน มี Peptido Glycan พวกนี้ล้วนแล้วแต่เป็นคาร์โบไฮเดรตหมดเลย ทำหน้าที่ให้ความแข็งแรงเกี่ยวกับเซลล์นั่นเอง โครงสร้างต่อมาก็คือไซโตพลาซึม จากภาพทุกคนสังเกตครับ จากภาพส่วนที่เป็นไซโตพลาซึมมี 2 กล่อง คือกล่องด้านบนกับกล่องตรงกลางครับ ทุกคนสังเกตครับไซโตพาซึมเนี่ยมีสองกล่องใช่ไหมมีลักษณะอย่างไรบ้าง กล่องด้านบนชี้ที่ของเหลวครับถูกต้องเลยเพราะว่าไซโตพาซึมเนี่ยจะมีส่วนที่เป็นของเหลวที่เรียกว่าไซโตซ่าว และมีโครงสร้างอีกส่วนหนึ่ง ที่เป็นอวัยวะต่างๆภายในเซลล์ ซึ่งเรียกว่า ออร์แกนเนล ดังนั้นเมื่อพูดถึงไซโทปัสซึม อย่าลืมคิดถึงสองประเด็นนี้ คือไซโตซอลกับออร์แกนเนล แล้วรูปที่สาม คืออะไร เราเคยคุยไปแล้ว ก็คือ เยื่อหุ้มเซลล์ใช่ไหม โอ้โห โอเค มาดูกันต่อครับ คราวนี้เราจะมาโฟกัสส่วนของไซโตปาซึม ในส่วนของออร์แกเนล ออร์แกเนลในเซลล์มีเยอะมากๆเลย แล้วแต่ละเซลล์นะครับ ก็จะมีออร์แกเนลมากน้อยแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับหน้าที่ เพราะออร์เกเนลแต่ละประเภทเนี่ย ก็จะมีหน้าที่แตกต่างกัน ในวันนี้เดี๋ยวเราจะมาเรียนรู้กันครับว่า แต่ละออร์เกเนลมีหน้าที่อย่างไร แล้วแต่ละออร์เกเนลเนี่ย มียุ่งหุ้มกี่ชั้นนะครับ โอเค นี่คือภาพรวมทั้งหมดนะครับ เดี๋ยวเราจะเจาะทีละตัวกันเลย ไปดูต่อเลย นะครับ ออกแกนีลแรกนะครับ ก็คือไลโบโซมนะครับ ไลโบโซมเนี่ยเป็นออกแกนีลขนาดเล็กที่ไม่มีเยอะหุ้ม ประกอบไปด้วยสองหน่วยย่อยก็คือ หน่วยย่อยขนาดเล็ก อันนี้เห็นไหมครับ หน่วยย่อยขนาดเล็ก หน่วยย่อยขนาดเล็ก และอีกส่วนหนึ่งนะครับ เราเรียกว่าหน่วยย่อยขนาดใหญ่หรือ large subunit นะครับ โอเค นี่คือโครงสร้างของไลวอโซมนะครับ ถ้าคุณพิจารณาหน่วยย่อย 2 หน่วยนี้นะครับ มันจะมีแค่โครงสร้างของโปรตีน กับ RNA เท่านั้น ไม่มีไขมัน ไม่มีฟอสโฟลิปิด ดังนั้นเนี่ยแน่นอนครับ เขาจะไม่มีเยื่อหุ้มแน่ๆ ถูกไหม หน้าที่สำคัญของไลโบโซมนะครับ ทำหน้าที่ในการสังเคราะห์โปรตีน จากภาพนี้จุดเล็กๆ คือไลโบโซมหมดเลย ทุกคนลองดูไลโบโซมมีที่อยู่กี่ที่ จากภาพนี้เห็นไหมครับ ไลโบโซมสามารถลอยอิสระได้ หรือไลโบโซมสามารถไปจับกับออร์กาเนลชนิดอื่นๆได้ จำภาพนี้ไว้นะ ภาพนี้คือไลโบโซมที่กำลังเกาะอยู่กับออร์กาเนลอื่นๆ เดี๋ยวเรามาดูกันต่อว่ามันเกาะกับอะไร องค์ประกอบต่อมาก็คือ ER ชื่อเต็มของเขาก็คือ Endoplasmic Reticulum อันนี้เป็นออร์กาเนลที่มีเยื่อหุ้ม 1 ชั้น ลักษณะเป็นถุงแบนๆ เชื่อมกันเป็นร่างแหลและเรียบ ตัวรอบนิวเคลียส ถ้ามาพิจารณาอีอาร์เนี่ยนะครับ พิจารณาอีอาร์เนี่ย อีอาร์มีสองประเภท คืออีอาร์ที่มีจุดเล็กเล็กมาเกาะ จําได้ไหม อะไรคือจุดเล็กเล็กที่มาเกาะตรงนี้ จำได้ปะครับ จุดเล็กๆที่มาเกาะคือ ไรโบโซมนั่นเอง ดังนั้นเนี่ย ER ที่มีไรโบโซมมาเกาะ มันดูลักษณะเหมือนขุขลาใช่ไหมครับ เราเลยเรียกว่า Ruff ER เพราะคำว่า Ruff เนี่ยคือ ขรุขระครับ ทำไมถึงเรียกว่ารัฟ ER นะ เพราะว่ามีอะไรมาเกาะ มีรายโบโซมมาเกาะนั่นเอง ส่วนสมูท ER ครับ คือไม่มีอะไรมาเกาะเลย เป็นโครงสร้างของ Endoplasmic reticulum เฉยๆเลย เลยนะครับ โครงสร้างแตกต่างกัน มีองค์ประกอบแตกต่างกัน ก็ทําหน้าที่แตกต่างกันครับ โอเค โดย RER เนี่ยนะครับ จะทําหน้าที่ในการสร้างโปรตีน ฟังไว้ก่อนนะ ส่วน SER เนี่ย ทําหน้าที่ในการสร้างเซียรอยด์ เยอะจังเลยนะครับ มันมีเพลงเพลงหนึ่งครับ คือ มาดูกันนะครับ เขาบอกกันว่า RER นะครับ ดูนะ ขึ้นต้นแล้วนะ RER ทำงานที่ในการสร้างโปรตีน ส่วน SER จะทำงานที่ในการสร้างสเตียรอย สร้างสเตียรอย และอีกหน้าที่หนึ่งนะครับ กำจัดสารพิษที่ตับ มีคนเคยร้องให้คู่ฟังนะครับ อ่า อ่า อ่า อ่า สร้างโปรตีน เอส อี อ่า สร้างสเตียรอย ตําจัดสารพิษ ถี่ ตับ ตับ ตับ ตับ ตับ จําได้ไหม อ่า อ่า อ่า อ่า สร้างโปรตีนนะ ส่วน SER เนี่ย สร้างเซียรอยด์ แล้วก็กําจัดสารพิษที่ตับนะครับ โอเค มาดูรูป ต่อเลย ภาพนี้เห็นไหม นี่คือ RER ที่กูพูดเมื่อสักครู่ Rough Endoplasmic Reticulum ก็คือ แบบผิวครูครับ ส่วน SER ก็คือ แบบผิวเรียบ จากเพลงเมื่อกี้ RER สร้างอะไรนะ สร้างโปรตีน อันใหม่ ส่วน SER มาที่อะไร สร้างเสียรอยด์ ก็คือสังเคราะห์ลิปิดนั่นเอง ลิปิดคืออะไรครับ ลิปิดนะครับ คือกลุ่มของสารชีวมลิกุลนะครับ ถ้าให้เจาะลึกนะครับ ของ SER เนี่ย มันคือเสียรอยด์ครับ เป็นสารหนึ่งใน เป็นสารหนึ่งในลิปิดครับ เป็นอมกรอบหนึ่งในลิปิดนะครับ โอเค ส่วนกำจัดสารพิษ กำจัดที่ไหนนะ เมื่อกี้สักครู่ กำจัดสารพิษที่ ที่ตับมันเอง โอเค นี่คือ RER กับ SER นอกจากนั้นเนี่ย เราพบว่า SER ที่อยู่ในกล้ามเนื้อนะครับ ยังสามารถเป็นแหล่งสะสมแคลเซียมได้ด้วย จบไปแล้วนะ 2 โอกาเนล ไลโบโซม สร้างโปรตีน แล้วก็ ER ER ก็จะมี 2 ประเภทคือ RER กับ SER นั่นเองนะครับ โอเค ต่อไป Goji Complex Goji Complex เนี่ย ถ้าให้เปรียบเทียบทุกคนลองดูภาพนี้ครับ เขาทำหน้าที่เป็นเหมือนรถ บรรทุกสิ่งของ ลดบรรทุกสิ่งของอย่างไรนะครับ เวลาที่ RER เขาสร้างโปรตีนเนี่ย นักเรียน เขาจะสร้างโปรตีนเพื่อส่งออกนอกเซลล์ แต่การที่เขาจะส่งออกเนี่ย เขาทําหน้าที่คนเดียวไม่ได้ เขาจะให้ Goji Body มาช่วยเหลือนะครับ โดยการที่ RER ที่สร้างโปรตีนนะครับ จะสร้างผ่านถุงแบบนี้ แล้วส่งมาให้ Goji Body Goji Body เนี่ย พอรับโปรตีนมาเนี่ย ไม่ทําหน้าที่ในการขนส่งอย่างเดียว ครับ เขา จะ ทํา หน้าที่ ในการ ร ว บ รวม สาร เพิ่ม นะครับ สาร ที่ อาร์ อี อาร์ สร้าง มา ใช่ไหม ร ว บ รว ม เพิ่ม เติม โป ร ตี น เติม คา ร โบ ฮ าย เด ร เติม สาร ต่าง นะครับ เพิ่ม ขึ้น จาก ที่ รับ มา จาก อี อาร์ จน ใน ที่สุด พร้อม ที่จะ ส่ง ออก นะครับ พอ พร้อม ที่จะ ส่ง ออก ก็เลย ส่ง ออก เป็น ถุง เป็น ถุง นะครับ อันนี้ เป็น ภาพ วาด ส่วน นี้ คือ เป็น ภาพ จริง เห็นไหม อันนี้ คือ ถุง เก็บ สาร ถุงก็จะมารวมที่ กอจิ แล้วพอกอจิ แพ็คเสริมเติมแต่งเติมสารที่มีประโยชน์ให้กับ ให้กับถุงที่สร้างมาจากอีอาร์แล้วใช่ไหมครับ ก็จะเตรียมพร้อมที่จะส่งออกข้างนอกไปนะครับ ดังนั้นเราก็เลยเปรียบว่ากอจิ คอมเพล็กเนี่ยนะครับ ทําหน้าที่ในการขนส่งสารเป็นเหมือนรถบรรทุกนั่นเองนะครับ นี่ภาพนี้เป็นภาพความสัมพันธ์ของ RER ที่สร้างโปรตีน สร้างเสร็จไปไหน สร้างเสร็จไปกอจิ มองออกไหมครับ ตรงนี้คือ Nucleus Nucleus เสร็จมี RER เห็นปะ เป็นเยื่อหุ้มหนึ่งชั้น มีไลโบโซมมาเกาะ สร้างสารไว้ในถุง ถุงนี้ก็จะมารวมกับ กอจิ กอจิเสร็จ ก็จะส่งออกนอกเซลล์ แต่อย่าลืมเนาะ กอจิไม่ได้ทำมาที่ในการขนส่งอย่างเดียว เขามีการเติมสารที่มีประโยชน์ มีการดัดแปลงสารที่รับมาจากอีอาร์ ก่อนที่จะส่งออกไปนะครับ โอเค Gorji Complex จบไป ต่อมา ไลโซโซม ไลโซโซม ครับ เป็นออกาเนียลที่อยู่ในเซลล์ มีเยื่อหุ้มหนึ่งชั้นนะครับ หน้าที่ของเขานะครับ ในถุงเนี้ยนะครับ ถุงของไลโบโซมหนึ่งชั้นเนี้ยนะครับ เขาจะ เขาจะมีเอนไซด์อยู่ภายใน ถุงไลโซโซมจะมีเอนไซด์อยู่ภายใน พูดว่าเอนไซด์เนี่ย ดังนั้นสามารถเร่งปัญญาเคมีได้ แล้วเพราะเอนไซด์พวกเนี้ยนะครับ สามารถย่อยสารต่างต่างได้ ดังนั้นเนี่ย ไลโซโซมนะครับ จะทําหน้าที่ในการย่อยสารต่างต่างที่เซลล์เนี่ยต้องการย่อย อะไรบ้างอ่ะที่เซลล์ต้องการย่อยนะครับ ยกว่าอย่างเช่น เซลล์นําอาหารเข้ามานะครับ ในถุงถุงนี้ เป็นอาหารนะ อยากจะเปลี่ยน อยากจะให้สารอาหาร อาหารที่กินเข้ามามีขนาดเล็กลงนะครับ ก็จะอาศัยไลโซโซม เห็นไหมครับ ไลโซโซมก็จะมารวมกันกับถุงที่เก็บอาหารเข้ามา แล้วเกิดการย่อย เห็นไหมครับ นอกจากนั้น นอกจากนั้น บางครั้งนักเรียน เราพบว่า ออร์แกนียลบางอย่างทำหน้าที่มากเกินไปแล้ว ทำหน้าที่มากเกินไปก็หมดอายุ หมดอายุทำยังไง จะต้องสลายออกไป การสลายออกไป การกําจัดออกไป ก็อาศัยไลโซโซมเช่นกัน ดังนั้นเนี่ย ไลโซโซมก็สามารถย่อยออร์แกเนลที่หมดอายุหรือเซลล์ที่เสียสภาพไปได้นะครับ โอเค นี่คือหน้าที่ของไลโซโซมนะ ต่อมา แวค คิ โอ โอ้โห ทุกคนดูภาพ มีหลายภาพเลย กี่ภาพนับสิ หนึ่ง สอง สาม เห็นไหมครับ หนึ่ง สอง สาม เลยนี่ครับ เพราะแวค คิ โอ เนี่ย มีหลากหลายมาก แล้วก็ขึ้นอยู่กับแต่ละสิ่งชีวิตด้วย เรามาดูกันเลย แวค คิ โอ แรกครับ แวค คิ โอ แรก เนี่ย เราเรียกว่า แซป แวค คิ โอ อันเนี้ยนะครับ พบในพืช ทํามาที่ในการเก็บสะสมสารต่างต่าง สารสี เก็บสะสมน้ํานะครับ โอเค นี่คือแซมแวคิโอ ต่อมา ถุง เห็นไหม ถุงที่เก็บอาหาร ถุงที่เก็บอาหาร ถุงหนึ่งถุง มียุ่มหนึ่งชั้น เก็บอาหารที่เซลล์กินเข้ามา ถุงเนี้ยนะครับ เราจะเรียกว่า food vacuo นะครับ อันเนี้ยนะครับ พบในพวกโปรโตซัว หรือพบในเซลล์สัตว์ได้นะครับ อย่างเช่นเซลล์ของเราครับ พบในเซลล์เม็ดเลือดขาวก็ได้ ทำมาที่อะไร โปรโตซัวคือเหมือบกินอาหาร พอกินเข้ามาในเซลล์ก็จะเก็บผ่านถุงนี่แหละ ถุงที่เก็บอาหารเราเรียก Food Vagio นอกจากอาหาร คือโปรโตซัวกินอาหารใช่ไหม เซลล์เม็ดเลือดขาวกินอะไร เซลล์เม็ดเลือดขาวบางทีมันมีเชื้อโรคเข้ามา พอมีเชื้อโรคเข้ามาเมล็ดขาวก็จะเขมือบกินเชื้อโรค เขมือบเสร็จก็จะเก็บไว้ในถุง ถุงที่เก็บเชื้อโรคที่กินเข้ามาก็เรียกว่า Food Vacuo โอเค Food Vacuo จบไป ต่อมาอีก Vacuo หนึ่งเห็นไหมครับด้านบน เราเคยเจอกันในเรื่องของการนักษาดุลยภาพแล้ว อันนี้ ออร์เกเนียลนี้ทำหน้าที่ในการบีบไล่น้ำ เราเรียกว่า Contactile Vacuo เห็นไหมครับ หน้าที่ของเขาคือ เขาจะเก็บน้ำเข้ามา พอเก็บน้ำเข้ามาเสร็จปุ๊บ เขาก็พอต้องการที่จะกำจัดออกไปแล้ว เขาก็จะบีบไล่น้ำออกไป นี่คือ Contactile Vacuo นะครับ ดังนั้นจะเห็นว่า Vacuo มีหลากหลายเลย แต่ล้วนแล้วมีแค่เยื่อหุ้มหนึ่งชั้นนะครับ ต่อมาอันนี้เป็นโครงสร้างที่เริ่มซับซ้อนขึ้นครับ จากภาพนี้นะครับ ทุกคนลองดู เขามีเยื่อหุ้มกี่ชั้น ภาพนี้นะครับ มีเยื่อหุ้มสองชั้น เห็นป่ะ เดี๋ยวครูวาดจากภาพจําลองก่อน อ่านี่คือข้างนอก ส่วนข้างในจะมีลักษณะเป็นเยื่อหุ้มที่พับเข้าพับออก พับเข้าพับออก พับเข้าพับออก อ่านี่คือชั้นที่สอง ดังนั้นเนี่ยถ้าเรามา สังเกตเยื่อหุ้มของไมโตคอนเดีย เราจะพบว่าเขามีเยื่อหุ้มทั้งหมด กี่ชั้น สองชั้น หน้าที่สำคัญของไมโตคอนเดีย เขาเป็นหน้าที่ในการสร้างสารพลังงานสูง ก็คือสร้าง ATP นั่นเอง โอเค นี่คือไมโตคอนเดีย มีเยื่อหุ้มกี่ชั้น มีสองชั้น แล้วถ้าเราสังเกตโครงสร้างภายในไมโตคอนเดีย ในไมโตคอนเดีย เขามี DNA เป็นของตัวเองด้วย ไลโบโซมจุดเล็กๆ เป็นของตัวเองด้วย เห็นไหมครับ เห็นจุดเล็กๆ พวกนี้ไหม นี่เขามีไลโบโซมเป็นของตัวเองด้วย ดังนั้นเนี่ย โอ้โห ไมโตคอนเดียมีความซับซ้อนมากนะครับ เพราะว่าแนวคิดหนึ่งของไมโตคอนเดียเนี่ย เขาเชื่อกันว่าไมโตคอนเดียเนี่ยคือ เคยเป็นเซลล์โปรคารีโอดนะครับ เดิม แล้วเข้ามาอยู่ในเซลล์ยูคารีโอด พอเข้ามาอยู่ในยูคารีโอดเนี่ย มันกลายเป็นออร์กานีล 1 เลยนะครับ ทำให้มีลักษณะบางอย่างที่คล้ายกับแบคทีเรียหรือพวกโปรคาริโอนนั่นเอง เช่น ไรโบโซมและดีเอนเอนะครับ ต่อมา กลุ่มต่อมาก็มียื้อหุ้ม 2 ชั้นเหมือนกัน แล้วมีหลากสีมากๆเลย ออร์กานีลพวกนี้ครับ เราเรียกว่าพลาสติตนะครับ ทุกคนสังเกตครับ จากภาพ คิดว่าพลาสติตสามารถแบ่งออกได้เป็นกี่ประเภทอะไรบ้าง มันสามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ก็คือ 1. ลิวโคลพลาส 2. คอโรพลาส 3. โครโมพลาส มันแตกต่างกันอย่างไร มันเหมือนกันอย่างไร เอามาดูเหมือนกันก่อน สิ่งที่เหมือนกันของ 3 ตัวนี้ มันมีเยื่อหุ้ม 2 ชั้นเหมือนกัน แล้วก็พบในเซลล์พืชเหมือนกัน รวมถึงพบในโปรติศบางชิดเหมือนกัน หน้าที่สำคัญของพวกพลาสติดเป็นแหล่งสร้างอาหาร ให้กับสิ่งบีชีวิตต่างๆ ก็คือเป็นแหล่งสร้างอาหารให้เซลล์พืชและโปรติศบางชีวิตนั่นเอง มาดูความแตกต่าง อย่างแรกพลาสติดที่เรียกว่า Chloroplast Chloroplast ที่เรามองเห็นเป็นสีเขียวเนื่องจากมีสารสีที่ชื่อว่า Chlorophyll Color Fill จะทำหน้าที่ในการรับพลังงานแสง และเปลี่ยนเป็นพลังงานที่ทำให้เกิดการสังเคราะห์ด้วยแสงได้ ดังนั้นหน้าที่ของ Color Plus สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ สังเคราะห์ดด้วยแสงจำได้ไหม สังเคราะห์ดด้วยแสงเพื่ออะไรครับ สังเคราะห์ดด้วยแสงเพื่อสร้างน้ำตาลใช่ไหมครับ การสร้างน้ำตาลเนี่ยคือการเปลี่ยนพลังงานแสงให้กลายเป็นพลังงานเคมีในรูปของน้ำตาลใช่ไหม โอเคแล้วโครงสร้างก็ซับซ้อนมากเลยครูสรุปให้แล้วนะครับว่าโครงสร้างแต่ละโครงสร้างในโคลโลพาสเรียกว่าอะไร โอเคเรามาดูต่อกันเลย อีกออกาเนลของพลาสติดนะครับก็คือโครโมพลาส ทําไมถึงเราเรียกโครโมพลาสนะครับ เพราะว่าเขามีสารสีเหลือง สีส้มสีแดงนะครับแตกต่างจาก โครโลพลาสนะเมื่อกี้โครโลพลาสมีสาร สารสีเขียว เพราะเขาว่า คอโร แปลว่า เขียว แต่นี่เราเรียกว่า โครโม พลาส เพราะเป็นพลาสติตที่มีสีอื่นอื่น สาเหตุที่เขามีสีอื่นอื่นนะครับ เพราะว่าเขามีสารสีที่ชื่อว่า แครอทีนอยค์ ขนาด อ่า จํานวนมากเลยนะครับ อันนี้คือสารสี สีนะครับ เขามีสารสีประเภทแครดอร์ชีนอลเยอะมากมากเลยนะครับ ทําให้พืชบางชนิดนะครับ ที่มีพลาสติดประเภทนี้เยอะเยอะเนี้ย มีสีสันสดใสนั่นเองนะครับ ต่อมา ลิลโคลพลาส ลิลโคลพลาสเนี้ย เป็นพลาสติดที่ไม่มีสี มันเกิดจากอะไร มันก็เกิดจากคอโลพลาสนั่นแหละ คอโลพลาสสะสม ทําหน้าที่ในการสร้างน้ําตาลใช่ปะ สร้างขึ้นเรื่อยเรื่อย น้ําตาลเปลี่ยนเป็นแป้ง พอกลายเป็นแป้ง จากโคลโลพลาสค่อยๆ เปลี่ยนแปลงรูปร่างจนกลายเป็น ลิวโคลพลาสนั่นเอง ดูลากศัพท์ครับ คำว่า ลิวโคล คำว่า ลิวโคล แปลว่าขาว ทำไมถึงเราเห็น ลิวโคลพลาส เป็นสีขาวนะ เพราะว่ามันเก็บสะสมแป้งใช่ไหม โอเค ออกาเนลต่อมา มันเยอะมากทุกคนต้องสู้นะครับ ออกาเนลต่อมาคือ Peroxisome Peroxisome ก็เป็นออกาเนลที่มีเยื่อหุ้ม 1 ชั้นนะครับ รูปร่างก็จะเป็นกลมๆ เห็นไหม มองเห็นไหม นี่ครับ นี่คือ Peroxisome มีฮุ่มหนึ่งชั้นนะครับ เขาจะบรรจุบรรจุของเหลวนะครับ ที่ประกอบไปด้วยเอนไซน์ เอนไซน์ใน เนี่ย จะสามารถทําหน้าที่ในการสลายสารพิษ ประเภท ได้ ทําไมต้องสลายครับ เพราะว่า ถ้ามันอยู่มากมากในเซลล์ของเราเนี่ยนะครับ มันจะก่อให้เกิดอันตรายได้ ดังนั้นเนี่ย ก็เลยต้องมีออร์กาเนลช่วยในการกําจัดสารพิษเหล่านี้ นะครับ นี่คือ นะครับ ต่อมา Sentio นะครับ Sentio เนี่ยเป็นออร์กาเนลที่ไม่มียาวหุ้มครับ อยู่ใกล้ๆ Nucleus นะครับทุกคนลองสังเกตนี่ครับ ก้อนนี้คือ Sentio นี่ เวลาที่มันอยู่ในเซลล์นะครับ มันจะเป็น Centio 2 อัน แบบนี้ ถ้าเรามาศึกษา Centio นะครับ เราจะพบว่า Centio เนี่ย มันประกอบไปด้วยโปรตีน ที่เรียงตัวกัน จนกลายเป็นหลอด เห็นปะ มันเกิดจากโปรตีนที่ชื่อว่าไมโครทูบู อันนี้คือโปรตีนไมโครทูบู เรียงตัวกันเป็นโครงสร้างเห็นปะ ที่เป็นลักษณะท่อ 2 อันตั้งฉากกันเห็นปะ 1 2 แบบนี้นะครับ 1 อันคือ 1 เซนทีโอเซนทีโอ 2 อันตั้งฉากกันเราเรียกว่าเซนโทโซมมันมีหน้าที่อย่างไรนะครับ เซนทีโอเวลาเรียงตัวกันเป็นเซนโทโซมเนี่ยจะทำหน้าที่ช่วยในการแบ่งเซลล์นะครับ อ่ะ เขาเขียนให้นะครับ เซนทีโอทำหน้าที่ช่วยในการแบ่งเซลล์ แล้ว Centio จะพบแค่ในสัตว์เท่านั้น ไม่พบในพืช อ้าว คำถามต่อมา แล้วพืชไม่มีการแบ่งเซลล์เหรอครับ พืชมีการแบ่งเซลล์นะ แต่พืชจะไม่ได้แบ่งเซลล์ ใช้ Centio ช่วยในการแบ่งเซลล์ เดี๋ยวเราจะได้เรียนกันในเรื่องของการแบ่งเซลล์ โอเคเดี๋ยวเรามาดูออกาเนลตัวต่อมาเลยนะครับ ออกาเนลตัวต่อมาที่อยู่ใน Cytoplasm เราจะเรียกว่า Cytoskeleton ทุกคนลองสังเกตครับ Cytoskeleton เป็นเส้นใยโปรตีนอีกแล้ว ถ้าครูบอกว่า Cytoskeleton เกิดจากโปรตีนเพียงอย่างเดียว Cytoskeleton จะมีโครงสร้างมหอหุ้ม จะมีเยื่อหุ้มมหอหุ้ม หุ้มไหมครับ ถ้ามีแค่โปรตีนก็คือไม่มีนะ ดังนั้นเนี่ยไซโตสเกรลิตันทั้งหมดเลย จะไม่มีเยื่อหุ้มออร์เกเนลนะครับ ไม่มีเยื่อห้มออร์แกนีล เพราะมันเกิดจากโครงสร้างของโปรตีนอย่างเดียวเลยถูกไหม แล้วไซโตสเกรเลตันมีอะไรบ้างนะครับ ไซโตสเกรเลตันนะครับ จะแบ่งจากโปรตีนและรูปร่างการจัดเรียงเนี่ย ได้เป็น 3 กลุ่ม ก็คือ ไมโครฟิลาเมนต์ อินเตอร์มีเดียตฟิลาเมนต์ แล้วก็ไมโครทูบูลนะครับ เดี๋ยวเรามาดูความแตกต่างทีละตัวกันเลย ตัวแรกคือไมโครฟิลาเมนต์ ไมโครฟิลาเมนต์ทุกคนลองสังเกตภาพครับ ไมโครฟิลาเมนต์จะเกิดจากโปรตีนที่มีชื่อว่าโปรตีนแอคติน เรียงตัวกันเป็นเส้นใยแบบนี้ เราจะเรียกเส้นใยโปรตีนที่เกิดจากแอคตินว่าไมโครฟิลาเมนต์ ไมโครฟิลาเมนต์มีหน้าที่อะไรบ้าง ทุกคนมาดูกันเลยนะครับ อย่างแรกเลยนะครับ ช่วยในการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของเซลล์ เซลล์เชฟ อย่างที่สองช่วยในการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อมือของเรา เราจะเดิน เราจะเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อต่างๆ ล้วนแล้วแต่ต้องอาศัยไมโครฟิลาเมนต์ การเคลื่อนที่ของไซโตพลาซึม การเคลื่อนที่ของเซลล์ ซึ่งการเคลื่อนที่ของเซลล์ประเภทนี้ ครูขอแข่งความนะ เป็นการเคลื่อนที่เรียกว่า สูดโดโพเดียม ทุกคนลองมาดูรากศัพท์นะครับ คําว่าสูโดนะครับ แปลว่าเทียม ส่วนคำว่าโพเดียมนะครับ โพเดียมเนี่ยคือเท้าคือขา ดังนั้นเนี่ย สูโดโพเดียมนะครับ คือการที่เกิดจากเยื่อหุ้มเซลเนี่ย ที่ถูกไมโครฟิลาเมนต์เนี่ย ดันเยื่อออกไป ทำให้มีลักษณะเหมือนเป็นเท้าช่วยในการเคลื่อนไหวได้ เราก็เลยเรียกว่าเท้าเทียมนะครับ ตัวอย่างที่สําคัญคืออัมมิบ้า ทุกคนลองดูนะ ปกติอัมมิบ้าเนี้ยมันมีรูปร่างไม่คงที่ ไม่แน่นอน เป็นสิ่งที่เซลเดียวแบบนี้ หากเขาต้องการเคลื่อนที่ เขาต้องการกินอาหารต่างๆ เขาจะใช้ไมโครฟิลาเมนต์นี่แหละ ในการดันยื่มเซลล์ ทำให้เกิดมีลักษณะคล้ายเป็นเท้าเกิดขึ้น โครงสร้างนี้ที่ยื่นออกมาครับ เราจะเรียกว่าสูโดโพเดียม ซึ่งสูโดโพเดียมเกิดจากอะไรนะ เกิดจากการทำงานของไมโครฟิลาเมนต์ นอกจากนั้นครับ เราพบว่าไมโครฟิลาเมนต์ยังสามารถทำหน้าที่ในการคลีเวทฟิลโรคือการแบ่ง ในการแบ่งเซลล์นั่นเอง ไซโตสเกรเลตันตัวต่อมาคือ Intermediate Filament Intermediate Filament พบในโครงสร้างหลากหลายเลย ตัวอย่างที่สำคัญนะครับ เขาจะมีโปรตีนที่ชื่อว่า เคอราติน เคอราตินนะ เขาจะมีโปรตีนชื่อว่าเคอราติน ทุกคนรู้ไหมครับว่าเคอราตินเนี่ยพบที่ไหน เคอราตินเนี่ยนะครับเป็นโปรตีนที่พบในเล็บ ในขน ในผมของพวกเรากันเองนะครับ ดังนั้นในเล็บ ในขนในผมก็จะเกิดจากโปรตีนนะครับที่ชื่อว่าเคอราตินซึ่ง เคอราตินสารรวมตวกันเนี่ยเราจะเรียกเป็นไซโตสเกเลตันประเภท intermediate filament นั่นเองครับและหน้าที่มีอะไรบ้างนะครับหน้าที่ของครัว ยกอย่างเช่นหนึ่ง หน้าที่ของเขาคือทำให้ maintain of cell shape คืออะไร ทำให้เซลล์มีรูปร่างคงที่ มีรูปร่างอยู่แบบนั้นได้ แล้วก็สามารถช่วยในการยึดติดกับนิวเคลียสและก็ออร์เกอร์เดลต่างๆ ให้องค์ประกอบภายในมันคงที่ นี่คือหน้าที่ของ intermediate filament ยกอย่างโปรตีน เช่น เคอราติน และตัวสุดท้ายนะครับ ใหญ่ที่สุดเลย คือภาพนี้ ไมโครทูบู ไมโครทูบูนะครับ เกิดจากโปรตีนอะไร ทุกคนดูชื่อครับ ทูบูนะครับ มาจากชื่อโปรตีน ทูบู แปลว่าท่อนะครับ มีโปรตีนที่สารกันเป็นท่อแบบนี้นะครับ โปรตีนเนี้ยมีชื่อว่า ทิวบุริน ชิ้วบูรินนะครับ ดังนั้นถ้าให้สรุปนะครับ ไซโตสเกเลตันเนี่ยเกิดจากโปรตีนเพียงอย่างเดียวเลยนะครับ ทําให้ไม่มีโครงสร้างไม่มีเยื่อหุ้มมห่อหุ้มแน่แน่นะครับ ซึ่งแต่ละชนิดมีโปรตีนอะไรบ้างนะครับ อ่ามาทวนนะ ไมโครฟิลาเมนต์นะครับ เรียกอย่างหนึ่งว่าแอคตินฟิลาเมนต์ได้เลย เห็นป่ะ เพราะประกบประกอบประกอบไปด้วยโปรตีนอะไร อันนี้เรียกอย่างหนึ่งว่าไมโครฟิลาเมนต์ใช่ไหมครับ พอประกอบไปด้วยโปรตีน แอคติน โอเค ส่วน Intermediate Filament ประกอบไปด้วยโปรตีนอะไรครับ เคอราติน นะครับ โอเค ไมโครทูบู เนี่ย ถ้าเรามาดูการจัดเรียงตัวนะครับ เราสามารถพิจารณาได้สองแบบครับ คือเรียงตัวจากที่เราเห็นใน Centio นะครับ ก็คือ 9 บวก 0 นะครับ กับ 9 บวก 0 9 บุก 0 พูดไปแล้วนะครับ คือ Sentio เขาเขียนให้นะ ตัวอย่างเช่น Sentio ส่วน 9 บุก 2 มีอะไรบ้างนะครับ 9 บุก 2 นักเรียนจะเห็นโครงสร้างของไมโครทูบู ใน C-LIA แล้วก็ใน Flax Gel Lumb โอเค นี่ก็คือเป็นภาพรวมของไซโตสเกล็ตันแต่ละประเภท มี Intermediate Filament, Micro-tubule แล้วก็ Micro-filament นะครับ สารรวมตัวกันภายในเซลล์ ช่วยทำให้เซลล์มีรูปด้านอยู่ มาดูต่อไซโตซ่อล ไซโตซ่อลก็เป็นส่วนของไซโตพัสซึม ที่มีลักษณะกึ่งแข็งกึ่งเหลว เราสามารถแบ่งไซโตซ่อลออกมา เป็นส่วนสองประเภทนะครับ คือไซโตซอลที่อยู่ติดกับเยื่อหุ้มเซล กับไซโตซอลบริเวณด้านใน ไซโตซอลที่อยู่ติดกับเยื่อหุ้มเซลนะครับ เราจะเรียกว่า เอ็กโตพลาซึมครับ ส่วนไซโตซอลที่อยู่บริเวณด้านในเนี่ย เรียกว่า เอ็นโดพลาซึมนะครับ ก็เป็นสารกึ่งแข็งกึ่งเลว เป็นที่อยู่ของออกแนวต่างต่าง เอ็นไซต์ต่างต่างได้นะครับ และสุดท้ายนะครับ โครงสร้างสุดท้ายของ เซลล์ยูคาริโอทนะครับ ก็คือนิวเคลียสนะครับ ซึ่งทุกๆเซลล์เนี่ยนะครับ มักมีเพียงหนึ่งนิวเคลียส แต่ก็ไม่เสมอไปนะครับ เดี๋ยวเราจะได้เรียนเยอะมากๆเลยบ้าง เซลล์เนี่ยมีนิวเคลียสมากกว่าหนึ่งด้วย ถ้าเรามาดูนิวเคลียสเนี่ยนะครับ เขาจะมีเยื่อหุ้มครับ ซึ่งเยื่อหุ้มของนิวเคลียสเนี่ยมีสองชั้นครับ อันนี้ก็คือลักษณะของเยื่อหุ้มนิวเคลียสครับ ทุกคนลองสังเกตครับ จะเห็นว่าเยื่อหุ้มนิวเคลียสเนี่ย มีสองชั้นเห็นไหมครับ ก็คือด้านในแล้วก็ ก็ด้านนอกแบบนี้ อ่า นี่คือสองชั้นนะครับ แล้วข้างในของนิวเคลียสมีอะไรนะครับ สังเกตดูครับ เห็นเส้นใยไหมครับ เห็นเส้นใยไหมครับ ข้างในของนิวเคลียสเนี่ย จะมีเส้นใยต่างต่างที่สารตัวรวมกันนะครับ รวมกับโปรตีน เส้นใยเหล่านั้นนะครับ คือ DNA DNA เนี่ยจะพันตัวรอบโปรตีน โครงสร้างที่เกิดจาก DNA พันรอบโปรตีน เนี่ย เราเรียกว่าโครมาติน สรุปโครมาตินก็คือ DNA บวก Protein คือเส้นใยโครมาตินเกิดจาก DNA บวก Protein แล้วเห็นก้อนทึบๆ นี้ไหมครับ ก้อนทึบๆนี้นะครับเป็นก้อนโปรตีนอีกก้อนหนึ่งเหมือนกันนะครับเราเรียกมันว่านิวคลีโอรัสเป็นองค์ประกอบของนิวเคลียสนะครับโอเคดังนั้นถ้าเรามาดูภาพรวมนะครับของนิวเคลียสเนี่ยจะมีสามส่วนหลักๆ เลยนะครับ ก็คือ หนึ่ง เยื่อ หุ้ม สอง ชั้น ใช่ไหมครับ แล้วก็สอง มีอะไรอีก นิว คลี โอ และ สุดท้าย มีอะไรที่สำคัญมากๆ เลยก็คือมีโครมาตินซึ่งเป็นเส้นใยเราเรียกว่าโครมาตินไฟเบอร์ โอเคซึ่งหน้าที่ของ Newcrest นะครับก็มีหน้าที่ในการควบคุมการทำงานของเซลล์ เกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมนะครับการแสดงออกของยีน การแบ่งเซลล์แล้วก็มีหน้าที่ในการควบคุมการสังเคราะห์โปรตีน ครับ วิชาชีวะอุทิยากับครูกิล ก็จบลงเพียงเท่านี้นะครับ เป็นยังไงบ้างกับสองเทปที่ผ่านมานะครับ อย่าลืมนะ ให้ทุกคนกลับไปทบทวนนะครับ แล้วก็หาสิ่งที่สนใจ อ่านประกอบเพิ่มเติมนะครับ ใครมีคำถามก็อย่าลืมที่จะค้นหาคำตอบนะครับ ครูเป็นกำลังใจในการเรียน ขอให้ทุกคนเรียนอย่างมีความสุขนะครับ แม้ว่าชีวะจะจบไปในวันนี้นะครับ แต่ว่าเรายังมีวิชาอื่น ที่น่าสนใจอีกมากมาย อย่าลืมนะครับ ที่จะเข้ามาเรียนกับห้องเรียนติว สำหรับวันนี้นะครับ ครูกิ้วก็ขอตัวลาไปก่อน สวัสดีครับ