Transcript for:
สมบัติของสารประกอบอินซี

สวัสดีค่ะเด็กเด็กวันนี้มาต่อกันที่สมบัติของสารประกอบอินซีที่มีออกซิเจนเป็นองค์ประกอบแล้วก็ไนโตเจนเป็นองค์ประกอบจ้าเริ่มต้นที่มีออกซิเจนเป็นองค์ประกอบก่อนได้แก่อะไรบ้างได้แก่แอลกอฮอล์ค่ะอีเทอร์เนาะ แอลดีไฮค่ะ คีโตนค่ะแล้วก็โกสคาร์บอคซิลิกแล้วก็เอสเทอร์ค่ะมีทั้งหมดหกชนิดที่มีออกซิเจนเป็นองค์ประกอบค่ะ โดยสมบัติของพวกเขานะคะ จะมีความแตกต่างจากสารประกอบไฮโดคาบอนเพราะอะไรนั้น ไปดูกันเลยค่ะเพราะว่าในหมู่ฟังก์ชันของเขาค่ะมันจะมีออกซิเจนเป็นองค์ประกอบอย่างที่เราเล่ากันไปเมื่อกี้ตัวออกซิเจนที่เป็นองค์ประกอบนั้น จะทำให้โมเลกุลนั้นมีสภาพคั่วมากยิ่งขึ้นนั่นหมายถึงว่าทำให้โมเลกุลนั้นมีคั่วนั่นเอง เอาง่ายๆ โอเคนะ เป็นโมเลกุลที่มีคั่วนั่นเอง และสามารถเกิดพันธาไฮโดเจนกับโมเลกุลของน้ำได้ด้วยจึงส่งผลทำให้สารละลายในกลุ่มนี้สามารถที่จะละลายน้ำได้ยกตัวอย่างสารประกอบในกลุ่มนี้เช่น แอลกอฮอล์ค่ะคุณครูยกตัวอย่างแอลกอฮอล์แล้วมันจะเชื่อมยงไปถึงอีเทอร์ แอลดีไฮ คีโทน กรดคาร์บอสซิลิก แล้วก็เอสเทอร์ได้ด้วยมาดูส่วนของแอลกอฮอล์ค่ะ แอลกอฮอล์เนี่ยมีหมู่ฟังก์ชันหรือสูตรทั่วไปคือ R-OH แบบเนี่ยR-OH อย่างที่เราเล่ากันไปค่ะส่วนของ R ค่ะ แล้วก็ส่วนของหมู่ฟังก์ชันแสดงว่าตอนนี้เขามีอยู่ทั้งหมด 2 ส่วนค่ะส่วน R เนี่ยจะเป็นส่วนของสารประกอบไฮโดคาร์บอนหรือสายโซ่ไฮโดคาร์บอนอย่างที่เราเคยเล่ากันไปค่ะเป็นส่วนของหมู่ LQ นั่นเอง ส่วนนี้จะเป็นส่วนที่ไม่มีขั้วค่ะ ส่วน ส่วนของหมู่ฟังก์ชัน ส่วนของ O H ตรงนี้ค่ะหมู่ฟังก์ชันตรงนี้จะเป็นส่วนที่มีคั่วแสดงว่าแอลกอฮอล์ประกอบด้วย 2 ส่วนส่วนที่ไม่มีคั่วกับส่วนที่มีคั่วนั่นเองอะ เติมให้หน่อยฟังนี้ไม่มีคั่วจ้ะฟังนี้มีคั่ว โอเคนะโมเลกุลของแอลกอฮอล์เขามีหมู่ฟังก์ชันคือ O กับ H ค่ะแสดงว่า O กับ H เนี่ยสามารถทำให้โมเลกุลนั้นมีคั่วขึ้นมาได้เป็นอย่างไร ทำไมถึงมีคั่ว เราดูที่ค่า E N ค่ะ ค่า E N ของฮัยโดรเจนมีค่าเดียวกับ 2.2ค่า E N คือความสามารถในการยึ่งดูดอิเล็กตอนทีนี้ไปดูที่ออกซิเจนค่ะ 3.4 ซึ่งมีค่า E N สูงแล้วความแตกต่างระหว่างค่า E N ของฮัยโดรเจนแล้วออกซิเจนมันก็สูงมากด้วยจึงสามารถที่จะเกิดพันธาฮัยโดรเจนได้ดอกจันทร์ 8 ล้านดอกไว้ที่พันธาฮัยโดรเจน นี่คือสิ่งที่เด็กๆต้องรู้ก่อนพันธาฮัยโดรเจนจะ เกิดกับทาสที่เป็นฮายโดรเจนค่ะ นั้นมาสร้างพันธากับทาสสามตัวในโลกฟูออรีน ออกซิเจน แล้วก็ไนโดรเจนค่ะ เวลาเด็กเด็กจําจําว่าฝนค่ะ เอฟโอเอ็น ดังนั้นค่ะ ฮายโดรเจนไปสร้างพันธากับฟูออรีนฮายโดรเจนไปสร้างพันธากับออกซิเจน แล้วก็ฮายโดรเจนไปสร้างพันธากับไนโดรเจนซึ่งภานะฮายโดรเจนเป็นแรงยึดเหนียวระหว่างมูลคุณ เมื่อเปรียบเทียบกับแรงระหว่างคั่วแล้วก็แรงแผ่กระจายลอนดอน พันธาไฮเดอร์เจนจะมีความแข็งแรงที่สุดแรงแผ่กระจายลอนดอนจะมีค่าอ่อนที่สุดเดี๋ยวคุณครูเทียบให้หน่อยนิดนึงนะแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกูลมันจะประกอบไปด้วย 3 แรงแรงแรกคือแรงแผ่กระจายลอนดอนแรงที่ 2 คือแรงระหว่างคั่วและแรงที่ 3 คือพันธาไฮเดอร์เจนเดี๋ยวเจนเขียนยอบไว้เลยที่นี้แรงไหนที่มีความแข็งแรงมากที่สุด นั่นคือพันธาไฮโดรเจนค่ะ ลองลงมาคือแรงระหว่างคั่วแล้วก็แรงที่มีค่าน้อยที่สุดหรืออ่อนที่สุดจะเป็นแรงแผ่กระจายลอนดอนอันนี้เพิ่มให้เด็กๆ หน่อยนิดนึงทีนี้ค่ะ แอลกอฮอล์นี้จึงมีความสามารถในการเกิดพันธาไฮโดรเจนได้เหมือนกับโมเลกุลของน้ำเลย มาดูค่ะ โครงสร้างของแอลกอฮอล์เป็นแบบไหนแอลกอฮอล์ประกอบด้วย 2 ส่วนค่ะส่วนของ R แล้วก็ส่วนของหมู่ฟังก์ชันค่ะส่วนของ R เป็นส่วนที่ไม่มีคั่วนะส่วนของสายโซ่ไฮโดรคาร์บอตหรือหมู่แอลกิลไม่มีคั่วค่ะส่วนของหมู่ฟังก์ชันค่ะ จะเป็นส่วนที่มีคั่วโอเคนะ ส่วนที่มีคั่วค่ะดังนั้นเมื่อไหล่ส่วนของ R เพิ่มขึ้นแสดงว่าความมีคั่วก็จะลดลงถูกต้องไหม เพราะเรากำลังเพิ่มส่วนที่ไม่มีคั่วอยู่ โอเคนะโมเลกุลของน้ำเป็นแบบนี้ โมเลกุลของน้ำคือ H2O ใช่ไหมดังนั้น H 2 ตัวเห็นไหม H 2 ตัว S 2 ตัวแล้วก็ O 1 ตัวอยู่ตรงกลาง ซึ่งตรงนี้สามารถเกิดพันธาไฮโดรเจนได้แล้วอีกอย่างหนึ่งค่ะ แอลกอฮอล์ยังสามารถที่จะไปสร้างพันธาไฮโดรเจนกับน้ำได้เด็กๆเห็น O ของเขาตรงนี้ไหม O ตัวนี้สามารถมาสร้างพันธากับไฮโดเจนตรงนี้ได้ไหมดังนั้นค่ะ O กับ H สร้างพันธาไฮโดเจนการ O มาจากแอลกอฮอล์H มาจาก โมเลกุลของน้ำสามารถสร้างประณะไฮโดรเจนได้แบบนี้ทำให้แอลกอฮอนั้นสามารถที่จะละลายน้ำได้เชื่อมยงไปที่การละลายน้ำค่ะไปดูค่ะ โมเลกุลของแอลกอฮอล์ค่ะถ้าเมื่อไหร่โมเลกุลของเขาเล็กๆเช่นพวก Methanol, Echinol, Pen 1R แบบนี้อันนี้คือแอลกอฮอล์ใช่ปะ ทีนี้เขาบอกว่า 3 ตัวนี้จะละลายได้ดีมากเพราะว่าเขาเป็นโมเลกุลที่มีขนาดเล็กค่ะขนาดเล็กของแอลกอฮอล์จะละลายได้ดีมากดีมากแทบไม่มีขีดจำกัดเลยทีนี้ไปดูโมเลกุลที่ใหญ่ขึ้นค่ะถ้าเมื่อไหร่โมเลกุลที่ใหญ่ขึ้นค่ะการละลายน้ำจะแตกต่างกันออกไปนะเมื่อไหร่โมเลกุลใหญ่ขึ้นหมายถึงคาร์บอนเขากำลังเพิ่มขึ้นค่ะการละลายน้ำนะการละลายน้ำนะการละลายน้ำนะ การละลายน้ำของเขามันจะลดลงค่ะ มันจะสวนทางกันแบบเนี้ย โอเคนะแต่เมื่อไหร่ถ้ามีโมเลกุลใหญ่ขึ้น แล้วมันมีคาร์บอนเท่ากันค่ะให้เราพิจารณาตรงโครงสร้างด้วยนะ แอลกอฮอล์ที่มีโครงสร้างที่มีกิ่งก้านเกะกะเยอะเยอะค่ะเขาจะไปเพิ่มการละลายน้ําให้ดียิ่งขึ้น ยกตัวอย่างเช่นตอนนี้สองเม็ด Methylpropane 2 ก็ลองเขียนโค้งสร้างเขาออกมาเขาเป็นแอลกอฮอล์ที่มีเซอร์หลักอยู่ทั้งหมด 3หนูก็ 1 2 แล้วก็ 3 ค่ะแล้วเขามีแอลกอฮอล์อยู่ตำแหน่งที่ 2 ค่ะหนูก็ขีด O H ขึ้นมาแบบนี้ค่ะจากนั้นเขามี Methyl อยู่ตำแหน่งที่ 2 ค่ะหนูก็ขีดออกมา อ่ะ นี่คือโค้งสร้างแรกค่ะต่อไปโค้งสร้างที่ 2 ค่ะ เป็น Butan-1 อ้อแสดงว่าเป็นแอลกอฮอล์ที่ไม่มีหมู Alkyl แล้วเป็นแอลกอฮอล์ที่มีคาร์บอนโซ่ลักษณ์อยู่ทั้งหมด 4 ค่ะบิลคือ 4 1 2 3 แล้วก็ 4 โอเคเนอะแล้วมี OH อยู่ หมู่ฟังก์ชันของเขาอยู่ตำแหน่งที่ 1 OHจะเห็นว่าโครงสร้างที่เด็กๆได้เจอตอนนี้โครงสร้างแรกจะเป็นแบบโซ่กิ่ง มีกิ่งก้านสาขาส่วนโครงสร้างที่ 2 ค่ะ จะเป็นโครงสร้างที่เป็นโซ่ตรงแล้วเขามีคาร์บอนอัตอมเท่ากันเลย เด็กๆลองนับคาร์บอนนะนับไปพร้อมกับคุณครูเลยค่ะ 1 2 3 4 ค่ะ 1 2 3 4 เห็นไหม เขามีความว่านเท่ากันเลยแล้วเขาก็มีหมู่ฟังก์ชั่นชนิดเดียวกัน เขามี โอ เอ ช โอ เอ ช เหมือนกันแค่อยู่คนละตำแหน่ง แล้วตัวหนึ่งมี แล้วตัวแรกมีกิ่งตัวที่สองไม่มีกิ่งค่ะ พบว่าตัวที่มีกิ่งหรือตัวที่เป็นสองเม็ดชื่อโพเพ็นสองเอ้าเนี้ย สามารถละลายน้ําได้ดีกว่าตัวที่เป็นโซ่ตรงนั่นเองดังนั้นในการละลายน้ําของแอลกอฮอล์อะ ถ้าโมเลกุลเล็กๆ เขาจะละลายน้ำได้ดีมากคาร์บอน 1 ตัว 2 ตัว 3 ตัวเนี่ยของแอลกอฮอล์เนี่ยละลายน้ำได้ดีมากๆ แทบไม่มีขิดจำกัดเลยแต่ถ้าเมื่อไหร่คาร์บอนเพิ่มขึ้นการละลายน้ำเขาจะ ลดลง ถ้าเมื่อไหร่มีคาร์บอนเท่ากันให้เราพิจารณาโครงสร้างด้วยค่ะโครงสร้างที่มีกลิ่งกั้นเยอะเยอะมันเกะกะ มันจะไปเพิ่มการละลายน้ำได้ดียิ่งขึ้นนี่คือการละลายน้ำของแอลกอฮอล์ ไปต่อกันเลยค่ะส่วนถ้าเป็นพวกอีเทอร์ล่ะ เอลจีฮาคีโทน หรือว่ากดคาร์บอคซิลิกล่ะที่มีขนาดโมเลกุลเล็กๆ ก็มีแนวน้มในการละลาย เช่นเดียวกันกับแอลกอฮอล์เลยนะคะ ถ้ามีคาร์บอนน้อยๆ แสดงว่าการละลายของเขาก็ดีเหมือนแอลกอฮอล์เลยเพราะอะไร เพราะว่า เขาจะเกิดแรงยิดเหนียวระหว่างโมเลกุลของสารประกอบอินซีค่ะกับใคร กับโมเลกุลของน้ำด้วยพันธาไฮโดรเจนค่ะแล้วแรงนี้มันมีค่ามากกว่า มากกว่าอะไรมากกว่าแรงยิดเหนียวระหว่างโมเลกุลของสารประกอบอินซีตัวนั้นนั่นเอง โอเคเนอะ ตัวนั้นนั่นเอง แรงที่เกิดจากพันธาไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของสารอินซีกับน้ำมันมีค่ามากมากกว่าแรงยิบเหนียวระหว่างโมเลกุลในสารประกอบอินซีก็เลยทำให้สารพวกนี้สามารถละลายในน้ำได้ยกตัวอย่างเช่น ตัวนี้ Methoxy-Metane ตัวนี้คือ Etherเด็กๆต้องรู้นะ อ่านชื่อแล้วเห็นโครงสร้างแล้วเด็กๆต้องรู้นะว่ามันเป็นสารประกอบชนิด อะไร เดี๋ยวนั้นเด็กๆต้องไปทวนเรื่องหมูฟังก์ชันให้ดีๆค่ะ ต่อไปค่ะ เอชานาน นี่คือเอลดีไฮค่ะต่อไปค่ะ โพแพนสอง โอน โอนลงท้ายด้วย โอนค่ะ ลงท้ายด้วย วัน ก็ต้องเป็นคีโตนต่อไปค่ะ เอชานโนอีแอซิด แอซิดเป็นแอซิด ต้องเป็นกรดคาร์บอคซิลิก อ่ะอันเนี้ย หนูต้องรู้ ทีนี้ มาดูโครงสร้างของพวกเขาค่ะ ว่าทําไมความสามารถของเขาถึงสามารถที่จะละลายน้ําได้ยกตัวอย่างเช่นตอนนี้ เอลดีไฮ อะ เอลดีไฮ เด็กเด็กดูนะ เขามีออกซิเจนอยู่ตรงเนี้ยและออกซิเจนตัวเนี้ยก็สามารถที่จะไปสร้างพันธุ์ไฮโดรเจนกับน้ําได้เห็นไหม ผู้หลายสร้างพันธาฮัยโดรเจนกับน้ำได้ แสดงว่ามโลกุลนั้นก็สามารถละลายน้ำได้จ้า��ช่นเดียวกัน คีโตนจ้า คีโตนก็มีออกซิเจนเหมือนกันออกซิเจนไปเจอกับไฮโดรเจนกับของน้ำเหมือนกัน ละลายน้ำได้จ้าต่อไปเอสเซอร์ล่ะจ้า เอสเซอก็เช่นเดียวกัน ออกซิเจนอยู่ตรงนี้ค่ะไปเจอไฮโดรเจนกับน้ํา เกิดพันธาฮัยโดรเจน แสดงว่าละลายน้ําได้ค่ะต่อไปกรดคาร์บอลซิลิกค่ะ ดูเด็กเด็กดูกรดคาร์บอลซิลิกนะคะเขามีออกซิเจนอยู่ตรงเนี้ย เขาไปเจอกับฮาโดรเจนของน้ำโอเค เกิดพันธาฮาโดรเจนกับน้ำแล้วเขายังมีฮาโดรเจนตัวนี้ฮาโดรเจนตัวสุดท้ายของเขาเนี่ยค่ะยังไปเจอกับออกซิเจนในน้ำอีกนะออกซิเจนในน้ำก็เกิดพันธาฮาโดรเจนกับน้ำได้แสดงว่ากฏคาร์บอลซิลิกนี่มีสมบัติในการลายน้ำได้ดีเลยนะเพราะมีความสามารถในการสร้างพันธาฮาโดรเจนกับมูลคุณของน้ำได้มากกว่านั่นเองโอเคนะ ต่อไปค่ะ ความสามารถในการละลายน้ำของสารเหล่านี้นะ มันจะลดลงลดลงเมื่ออะไร เมื่ออัตอมของคาร์บอนเพิ่มขึ้นอัตอมของคาร์บอนเพิ่มขึ้น แสดงว่าส่วนที่เพิ่มขึ้นก็คือส่วน R ค่ะส่วน R คือส่วนของหมูแอลเคี่ยว คือส่วนที่ไม่มีขั้วแสดงว่าส่วนที่ไม่มีขั้วมันเพิ่มขึ้น ส่วนที่ไม่มีขั้วมันไม่ละลายน้ำไง ดังนั้น มันก็เลยทำให้การละลายมันลดลง โอเคนะดังนั้นเราก็เลยบอกได้ว่าคาร์บอนน้อยๆ มันจะละลายได้ดีเพราะส่วนอามาน้อยส่วนไม่มีคั่วมาน้อย แต่เมื่อไหร่คาร์บอนเพิ่มขึ้น อาหนูก็ใหญ่ขึ้น อาใหญ่ขึ้นการละลายหนูจะลดลงแล้วถ้าเขาเป็นสารประกอบอินซีชนิดเดียวกันล่ะแล้วมีจำนวนอัตอมของคาร์บอนเท่ากันด้วย ให้พิจารณาที่อาก่อนให้พิจารณาที่อาก่อนค่ะ อ่ามีกิ่งไหม ถ้ากิ่งมันเกะกะเยอะแยะ ความสามารถในการเพิ่มการละลายมันเพิ่มไหมเพิ่มขึ้นค่ะ ยิ่งจะละลายน้ำได้ดี โอเคเนาะ ยิ่งจะละลายน้ำได้ดีซึ่งมีแนวนมเหมือนกันกับแอลกอฮอล์อย่างที่เราว่ากันไป โอเคเนาะสรุปให้อีกรอบหนึ่งว่า สารประกอบอินซีที่มีออกซิเจนเป็นองค์ประกอบค่ะจะละลายน้ำได้ เพราะโมเลกุลของเขามีคั่ว โอเคนะสรุปว่า มีคั่ว เขาจะละลาย น้ําได้ โอเคเนอะ ละลายน้ําได้ คาร์บอนน้อยน้อย ละลาย ละลายได้ดีโอเคเนอะ ดังนั้น คาร์บอนมากขึ้น ละลาย ลดลง อ่า คาร์บอนมากขึ้นละลายลดลง เพราะเรากําลังไปเพิ่มส่วนอ่า เพราะอ่าเพิ่มขึ้น โอเคน่ะนี่คือเหตุผลค่ะ แต่เมื่อไหร่ถ้ามีคาร์บอนเท่ากัน อ่าคาร์บอนเท่ากันให้เราดูที่ โครงสร้างค่ะ ดูโครงสร้างก่อนนะถ้าโครงสร้างแบบตรงกับแบบกิ่งค่ะแบบตรงกับแบบกิ่งแบบกิ่งจะละลายได้ดีกว่าโอเคเนอะแบบกิ่งจะละลายได้ดีกว่า เพราะเขามีโมเลกุลกิ่งกั้นสาขาที่เก๋กซึ่งจะเพิ่มความสามารถในการละลายน้ำนั่นเองโอเคนะ ต่อกันค่ะ ความสามารถในการเกิดพันธาไฮโดรเจนอย่างที่เราเล่ากันไปแล้วค่ะมันยังส่งผลต่อจุดเดือดด้วยนะ ส่งผลต่อจุดเดือดด้วยค่ะโดยสารที่สามารถเกิดพันธาไฮโดรเจน ระหว่างโมเลกุลของมันเองได้อ่ะเช่น แอลกอฮอล์ แล้วก็กรดคาร์บ็อกซิลิก พวกเนี้ยจะมีจุดเดือดสูงกว่าสารที่ไม่สามารถเกิดพันธาไฮโดรเจน ระหว่างโมเลกุลได้ เกิดพันธาไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลอย่างไรเด็กๆ ดูนะ ดูภาพก่อนนะคะตอนนี้ดูภาพโพลพาโนอิกแอซิดค่ะที่เป็นกรดอินซี ดูตรงนี้เหรอนะคะกรดอินซีตัวที่ 1 ค่ะแล้วนี่คือกรดอินซีตัวที่ 2 ค่ะปรากฏว่าโมเลกุล 1 กับโมเลกุล 2 ค่ะสามารถที่จะมาสร้างพันธาไฮโดรเจนกันได้ดูนะ ออกซิเจนจากโมเลกุลชิ้น 1 ค่ะมาเจอกับไฮโดรเจนโมเลกุลที่ 2 นี่เกิดพันธากัน เกิดพันธาไฮโดรเจนกันค่ะไฮโดรเจนจากโมเลกุลที่ 1 ค่ะมาเจอกันกับออกซิเจนในโมเลกุลที่ 2 นี่เกิดพันธาไฮโดรเจนกันได้แบบนี้คือความสามารถในการเกิดพันธาไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลโอเคเนอะถ้าเป็นแบบนี้แสดงว่าจุดเดือดของสารเหล่านี้มันจะสูง กว่าสารที่ไม่สามารถเกิดพันธาไฮโดรเจนได้โอเคเนอะต่อไปยกดูอย่างเช่น แอลกอฮอล์ตรงนี้เป็นโมเลกุลที่ 1 นะ ดูนะ แล้วตัวนี้เป็นโมเลกุลที่สอง แล้วตัวนี้เป็นโมเลกุลที่สามดูพันธาไฮโดรเจนที่เกิดใหม่ นี่จากโมเลกุลนี้มาหาโมเลกุลนี้จากโมเลกุลนี้มาหาโมเลกุลนี้ เห็นไหม แบบนี้แสดงว่าแต่ละโมเลกุลเขาสามารถที่จะสร้างพันธาไฮโดรเจนได้สรุปค่ะ กรดคาร์บอคซิลิกแล้วก็แอลกอฮอล์สามารถที่จะเกิดพันธาไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลได้ ทําให้สองตัวนี้ มีจุดเดือดที่สูงกว่าสารประกอบที่มีออกซิเจนเป็นองค์ประกอบอื่นๆค่ะยกตัวอย่างเช่นสารประกอบอินซีทั้ง 4 ชนิดนี้นะ1 2 3 แล้วก็ 4 ค่ะซึ่ง 4 ชนิดนี้มีมวลมูลกลุ่นใกล้เคียงกันค่ะ พบว่า กรดอินซีตัวแรกเห็นไหม แอซิดลงท้ายด้วย แอซิดต้องเป็นกรดอินซีค่ะมีจุดเดือดอยู่ที่ 141 องศาเซลเซียสค่ะพอมาเป็น แสดงว่าเป็นแอลกอฮอล์มีจุดเดือดอยู่ที่ 117 องศาเซลเซียส อ่ะ ลดหลั่นกันลงมาทำไมถึงลดหลั่นกันลงมา เพราะว่า กรดคาร์บอคซิลิกเนี่ยมันมีความสามารถในการเกิดพันธะไฮโดรเจนได้มากกว่าแอลกอฮอล์นั่นเองมาดูที่คีโตน่ะ ถ้าเป็นคีโตนอันนี้เขาไม่มีความสามารถในการเกิดพันธาไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลได้ใช่ปะเขาสามารถเกิดพันธาไฮโดรเจนได้แค่กับน้ำแต่ไม่สามารถสร้างพันธาไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลได้ไหมจุดเดือดจะลดตรงที่ 79.6 องศาเซลเซียสค่ะต่อไปค่ะ Methyl Methanoate อันนี้คือ Aster ค่ะลงท้ายด้วย A ต้องเป็น Aster จุดเดือดเขาอยู่ที่ 56.9 องศาเซลเซียสค่ะ อธิบายได้ว่า ไอ้ 2 ตัวเนี่ย มันสามารถเกิดพันธาไฮโดรเจน ระหว่างโมเลกุลได้แต่ 2 ตัวนี้ไม่สามารถเกิดได้ค่ะ2 ตัวนี้มีแรงยึดเหนียวระหว่างโมเลกุลอยู่ทั้งหมด 2 แรงแรงแรกคือแรงแผ่กระจายลอนดอน คุณครูขอเขียนสั้นๆว่าลอนดอนแล้วก็แรงที่ 2 เป็นแรงระหว่างคั่ว โอเคเนอะแรงระหว่างคั่วเพราะเขาเป็นโมเลกุลที่มีคั่วค่ะส่วน ถ้าเป็น 2 ตัวนี้ เขาจะมีทั้งพันธุ์ไฮโดรเจน 1 แรงแล้วแล้วเขาก็ยังมีแรงแผ่กระจายลอนดอนเหมือนกันค่ะแล้วเขาก็ยังมีแรงระหว่างคั่วเหมือนกัน เพราะเขาเป็นโมเลกุลที่มีคั่วสรุปตัวนี้มีทั้งหมด 3 แรงค่ะส่วนถ้าเป็นคีโตนแล้วก็เอสเตอร์ เขาจะมีทั้งหมด 2 แรง โอเคนะไปต่อค่ะ เวลาเทียบจุดเดือดของสารประกอบอินซีที่มีออกซิเจนเป็นอมประกอบกับสารประกอบไฮโดรคาร์บอนนะคะทีนี้ เทียบกันอย่างไร เด็กๆ ก็ไปดูเลยตอนนี้คุณครูกำลังจะเทียบบิลเทนบิลเทนคือคาร์บอน 4 ตัวใช่ปะบิลเทนเป็นแอลเคน ต่อไปโพเพน 2 โอนแล้วก็โพเพน 2 แสดงว่าเป็นแอลกอฮอล์แสดงว่าเป็นคีโตน แสดงว่าเป็นแอลเคนดูที่คำลงท้ายค่ะ มันจะบอกชนิดของ สารประกอบอินซีเราได้ โอเค ถ้าเป็นบิลเทนคุณครูวาดรูปให้ดูตรงนี้บิลเทนคาร์บอนสี่ตัวเป็นโซ่ตรงแบบนี้เลย บิลเทนจบแล้ว ต่อไปค่ะโพเพนสองโอน แสดงว่ามีคาร์บอนโซ่หลักทั้งหมดสามตัวค่ะสามตัวแบบนี้ค่ะ แล้วก็ตรง แปรมแหน่งที่สองนั้นมี พันธาคู่อยู่เพราะเขาเป็น น่ะ คีตนสูตรทั่วไปของเขาคือ R-C-O-R'แบบนี้ใช่ไหมอันนี้เด็กๆต้องจำให้ได้นะคุณครูถึงบอกว่าเด็กๆต้องจำเรื่องหมู่ฟังชั่นกลับไปดูคลิปของหมู่ฟังชั่นนะคะถ้าใครยังจำไม่ได้เนอะต่อไปค่ะ อ้อลงชายด้วยอ้อต้องเป็นแอลกอฮอล์ค่ะมีเซอร์หลักอยู่ 3 ค่ะ 1 2 แล้วก็ 3 ค่ะแล้วก็มีหมู่ฟังชั่นของแอลกอฮอล์คือ O-H อยู่ตำแหน่งที่ 2เรียบร้อยอะ ปรากฏว่าเมื่อเปรียบเทียบจุดเดือดค่ะ แอลกอฮอล์มีจุดเดือดที่สูงที่สุดเลยตอนเนี้ยลองลงมาคือคีโตนค่ะและสุดท้ายคือบิลเชนทำไมถึงเป็นเช่นนั้นค่ะเพราะไอ้ตัวทั้งแอลกอฮอล์และคีโตนเขาเป็นโมเลกุลแบบมีคู่อ่ะเราเล่าไปแล้วค่ะ จึงมีแรงยิดเหนียวระหว่างโมเลกุลทั้งแรงแผ่กระจายลอนดอนแล้วก็แรงระหว่างคั่วแล้วก็อีกตรงแอลกอฮอล์เนี่ยมันยังมีจุดเดือดสูงกว่าอีกเพราะอะไร เพราะเขาสามารถสร้างพันธาไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลได้อีกโอเคปะทำไมแอลกอฮอล์ถึงสูงกว่าคีโตนเพราะว่าแอลกอฮอล์สร้างพันธาไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลได้ทำไมแอลกอฮอล์กับ อาคีโตนทำไมถึงสูงกว่าแอลเคน ก็เขาเป็นแบบมีคั่วไงแบบมีคั่วต้องมีสองแรง แรงแผ่กระจายลอนดอน แล้วก็แรงระหว่างคั่วส่วนตัวแอลเคนล่ะ แอลเคนเราเป็นโมเลกุลไม่มีคั่ว เราเล่ากันไปแล้วเขามีแรงที่อ่อนแอ อ่อนแออยู่แรงเดียวค่ะ คือแรงแผ่กระจายลอนดอนนั่นเองแรงยืดเหนียวระหว่างโมเลกุลเขามีแค่แรงแผ่กระจายลอนดอนจ้าดังนั้นก็เลยอ่อนแอจัง จุดเดือดก็เลยน้อย โอเค ทีนี้จะสรุปให้อีกรอบนึงว่า ในการพิจารณาแนวน้มของจุดเดือดค่ะให้เราพิจารณา 1 ค่ะ ขนาดโมเลกุล ถ้าเป็นสารชนิดเดียวกันขนาดโมเลกุลใหญ่ขึ้น จุดเดือดมันต้องสูงขึ้นนั่นคือคาร์บอนเพิ่ม จุดเดือดเพิ่ม โอเคนะดังนั้นคาร์บอนเพิ่ม เดือดก็เพิ่มต่อไปค่ะ สภาพคั่วค่ะ สภาพคั่วพิจารณายังไงสารที่เป็นโมเลกุลที่มีคั่ว จะมีจุดเดือดสูงกว่าสารที่เป็นโมเลกุลไม่มีคู่เพราะอะไร เพราะมีคู่จะมีอยู่ 2 แรงแรงแผลกระจายลอนดอนและแรงระหว่างคู่แต่ถ้าไม่มีคู่จะมีแรงเดียวคือแรงแผลกระจายลอนดอนต่อไปค่ะ แรงยึดเหนียวระหว่างโมเลกุลเวลาพิจารณาแรง แรงไหนเยอะกว่า แสดงว่าจุดเดือดสูงกว่าต่อไป กิ่งก้านสาขาที่เกะกะมากๆของโมเลกุลทีนี้ ก้านสาขามันจะตรงข้ามกันกับการละลายน้ํานะ เมื่อกี้กิ่งก้านสาขาจะทําให้การละลายน้ําของเราดียิ่งขึ้นแต่ถ้าเป็นในเรื่องจุดเดือดค่ะ เมื่อไหร่กิ่งเยอะนะ เขียนกิ่งไว้ตรงนี้นะ เมื่อไหร่ เยอะค่ะ จุดเดือดนู้นเนี้ย มันจะต่ําลง มันจะลดลงสวนทางกันนะคะยกตัวอย่างให้ดูค่ะ ตอนนี้ค่ะ มีแอลกอฮอล์ที่มีคาร์บอนสี่อัตอมเท่ากันหนึ่ง สอง สาม สี่ค่ะ หนึ่ง สอง สาม สี่ โอเค หนึ่ง สอง สาม แล้วก็ สี่ อ่ะ สี่ เท่ากัน แต่ ตัว แรก เป็น โค ร ส ร ่าง ที่เป็นโซ ตรง โค ร ส ร่าง ที่สอง นั้น เป็น โค ร ส ร่าง ที่มี หมู ฟ ัง ช ันแต่ โค ร ส ร่าง ที่สาม นั้น เป็น โค ร ส ร่าง ที่เป็น แบบ กิ ่ง ดูจุด เด ือ ด ของ เขา ค่ะ ตัว ที่เป็น โซ ตรง จะ จุด เด ือ ดสูง ที่สุด ลอง ลงมา คือ ตัว ที่ มี หมู ฟ ัง ช ัน อยู่ ตํา แหน่งที่สอง และ ตัว ที่มี จุด เด ือ ด ต่ํา ที่สุด คือ ตัว ที่มีกิ ่ง นั่นเอง โอเค เนอะ ดัง นั้น ตัว ที่ ที่มีกลิ่งก้านเกะกะค่ะ โมเลกุลที่มีกลิ่งก้านเกะกะมันจะทําให้จุดเดือดของเราลดลง แต่ถ้าเป็นการละลายน้ํากลิ่งก้านนั้นจะทําให้การละลายน้ําดียิ่งขึ้น จําให้ได้ โอเคต่อกันเลยค่ะ ไปดูที่สมบัติของสารประกอบอินซีที่มีธาตุนายโตรเจนเป็นองค์ประกอบบ้าง มีสองตัว กับโมเลกุลของน้ําได้ แสดงว่าเขาก็ต้องละลายน้ําได้โอเคไหม เขาก็ต้องละลายน้ําได้ เดี๋ยวสรุปให้ตรงนี้ว่าละลายน้ําได้ต่อไปค่ะ ถ้าเขามีอัตอมของคาร์บอนน้อยน้อยเหมือนเดิมค่ะเขาก็จะละลายน้ําได้ดี แนวน้ําคล้ายคล้ายแอลกอฮอล์เลยหรือคล้ายคล้ายสารประกอบอินซีที่มีออกซิเจนเป็นองค์ประกอบเลยแต่เมื่อไหร่ที่มีคาร์บอนเยอะเยอะ นี่ คาร์บอนเพิ่มขึ้นเยอะเยอะการละลายของเขามันจะลดลงเหมือนเหมือนกัน โอเคเนอะ ต่อไปค่ะ เอมีน เอมายนั้นเขาเป็นโมเลกุลที่มีคั่วอย่างที่ว่ากันไปแล้วยังสามารถเกิดพันธาไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลได้ด้วยตรงไหน นี่ไง เอมีนเห็นไหม ไฮโดรเจนตัวนี้กับไนโดรเจนตัวนี้โมเลกุลที่หนึ่งกับโมเลกุลที่สองมาสร้างพันธากันพันธาที่เกิดขึ้นคือพันธาไฮโดรเจน ระหว่างไฮโดรเจนกับไนโดรเจนต่อไป ไม้ที่เนี้ย มีไฮโดรเจนตัวนี้มาเจอกับออกซิเจนตัวนี้ก็เกิด พันธาไฮโดรเจน ระหว่างโมเลกุลได้จึงทำให้เขามีจุดเดือดสูงเช่นเดียวกันจุดเดือดของเขาก็สูงเช่นเดียวกัน สูงกว่าสารประกอบไฮโดรคาร์บอนซึ่งเป็นโมเลกุลที่ไม่มีคั่วต่อไป จุดเดือดและจุดล้อมเหลือ เขาเหมือนกันเลยนะแนวนมของเขาจะเพิ่มขึ้น เมื่ออัตอมของคาร์บอนเพิ่มขึ้นโมเลกุลมันจะใหญ่ขึ้น เนื่องจากว่า มีแรงแผลกระจายลอนดอมเพิ่มขึ้นนั่นเอง เพิ่มขึ้นตามขนาดโมเลกุลที่ใหญ่ขึ้นอารางจุดเดือดของเอมีนกับเอมายเทียบกันหน่อย ที่มีมวลโมเลกุลใกล้เคียงกันนะตัวเอมีน 77 ค่ะ เอมายเป็น 213 โอ้ แตกต่างกันเยอะมากนะทั้งๆที่เขามีแรงยึดเหนียวระหว่างโมเลกุลคล้ายๆกันเลยค่ะ แต่โมเลกุลของเอมายค่อนข้าง พิเศษหน่อย โมเลกุลของเอมายมีความสามารถในการเกิดพันธุระไฮดโดรเจนได้มากกว่าเอมีนนั่นเองจึงมีจุดเดือดสูงกว่าค่ะแต่สิ่งที่เขามีเหมือนกัน นั่นคือเมื่อไหลคาร์บอนเขาเพิ่มขึ้น จุดเดือดของเขาก็จะเป็นไงขึ้น เพิ่มขึ้นเหมือนกับสารประกอบอินซีที่เล่ากันมาโอเค ต่อไปค่ะ สรุปอีกรอบนึงในสมบัติของสารประกอบอินซีสมบัติที่อธิบาย พอจะอธิบายอยู่ทั้งหมด 2 สมบัตินั่นคือจุดเดือดแล้วก็การละลายน้ำค่ะมันขึ้นอยู่กับอะไร ขึ้นกับหมู่ฟังก์ชันดังนั้นเด็กๆ ต้องจำหมู่ฟังก์ชันให้ได้ซึ่งหมู่ฟังก์ชันนี้จะส่งผลต่อแรงยึดเหนียวระหว่างโมเลกุลค่ะหมู่ฟังก์ชันจะบอกแรงยึดเหนียวเราได้ว่าเกิดแรงอะไรบ้าง ถ้าเป็นหมู่ฟังก์ชันเดียวกันให้เราดูแนวน้มจุดเดือดที่เพิ่มขึ้นตามขนาดโมเลกุลที่ใหญ่ขึ้นหรือจํานวนอัตรัมคาร์บอนเพิ่มขึ้นนั่นแหละให้ดูว่าคาร์บอนเพิ่มขึ้นจุดเดือดมันก็จะเพิ่มขึ้นต่อไปค่ะถ้าแนวน้มในการละลายน้ําค่ะมันจะตรงข้ามมันจะตรงข้ามกันแนวน้มในการละลายน้ํามันจะลดลงค่ะเมื่อขนาดโมเลกุลหนูใหญ่ขึ้น อ่าแต่ถ้าเมื่อไหร่คาร์บอนหนูเท่ากัน อย่าลืมพิจารณาคงสร้างด้วย ถ้าเป็นการละลายน้ำยิ่งมีกิ่งยิ่งละลายน้ำได้ดีแต่ถ้าเป็นจุดเดือดยิ่งมีกิ่งยิ่งจุดเดือดต่ำอันเนี้ยเด็กๆต้องจำให้ได้โอเค มาลองแบบฝึกขัดกันดีกว่าค่ะข้อที่หนึ่งเขาถามว่าA Channel ค่ะแล้วก็เม็ด Toxymethane เนี้ยเป็น Isomer กันค่ะแต่ A Channel นั้นจะมีสถานะเป็นของเหลวค่ะส่วนเม็ด Toxymethane นั้นจะมีสถานะเป็นแก๊สที่อุณหภูมิห้องที่อุณหภูมิเดียวกัน ทำไมถึงเป็นแบบนั้น เพราะเหตุใดอันดับแรกเด็กๆก็ต้องมาดูก่อนว่า A Channel นี่คืออะไร นี่คือแอลกอฮอล์ค่ะ แอลกอฮอล์สูตรทั่วไปของเขาคือ R ต่อด้วย OH ค่ะต่อไปค่ะ เมสท็อกซี่มีเทน หนูต้องรู้ว่าเขาคืออะไร เขาคืออีเทอร์ค่ะดังนั้นแอลกอฮอล์กับอีเทอร์เป็นไอซอร์เมอร์กัน ไอซอร์เมอร์คือมีทุกอย่างเท่ากันสูตรโมเลกุลเท่ากัน แต่สูตรคงสร้างต่างกัน อีเทอร์เขามีสูตรทั่วไปคือ R-O แล้วก็ R-PALM ค่ะดังนั้นตรงนี้ให้เป็น R-PALM ทีนี้สองตัวนี้ทำไมถึงมีสถานะ แตกต่างกัน เพราะอะไร ตัวแอลกอฮอล์นี่ฮะ ตัวเอชานอล์นี่ฮะเขามีจุดเดือดที่สูงกว่า หรือตัวเม็ดท็อกซี่มีเทนทําไมถึงมีจุดเดือดที่สูงกว่า เพราะว่าในแอลกอฮอล์เราเล่ากันไปแล้วเขาสามารถเกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลได้ อ่าดังนั้นสอบนะคะ เอชานอล์ค่ะ สามารถเกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลได้จุดเดือดถึงสูงค่ะ สูงกว่าใครด้วย สูงกว่าตัวอีเทอร์ นั่นคือสูงกว่าเม็ดท็อกซี่มีเทนค่ะซึ่งเม็ดท็อกซี่มีเทนนี้ไม่สามารถเกิดพันธะไฮโดรเจน ระหว่างโมเลกุลได้ทำให้แรงยึดเหนียวระหว่างโมเลกุลของเอชาเนิล จึงสูงกว่าเม็ดท็อกซี่มีเทนนั่นเองจึงทำให้มีสถานะที่แข็งแรงกว่าจ้าต่อกันที่ข้อที่ 2 ค่ะ เขาให้สำรวจแรงยิดเหนียวระหว่างโมเลกุลที่ส่งผลต่อจุดเดือดของสารอันดับแรกเราก็ไปดูสาร สารแรกค่ะสารแรกคือ เฮกเซน อาร์ ลงท้ายด้วย เอเอนอีเด็กๆก็ต้องรู้ก่อนว่าเขาคือแอลเคนค่ะแล้วแอลเคนเด็กๆก็ต้องรู้ว่าเขามีแค่ไฮโดเจนแล้วก็คาร์บอนเราเรียกว่าเป็นสารประกอบไฮโดคาร์บอนสารประกอบไฮโดคาร์บอนเป็นสารที่ไม่มีคั่วอันนี้เราต้องรู้มันต้องเชื่อมโยงกันเนาะ ไม่มีคั่ว ถ้าไม่มีคั่วแสดงว่าแรงยิดเหนียวระหว่างโมเลกุลเขาก็ต้องมีแค่แรงเดียวนั่นคือแรงแผลกระจาย London แรงอ่อนแอ อ่อนแอ จำได้มั้ยต่อไปค่ะ ตัวที่สองค่ะ ไทดีออล ดังนั้นก็ต้องเป็นแอลกอฮอล์แอลกอฮอล์สุดทั่วไปของเขาคือ R-OH ค่ะถ้าเป็น R-OH แสดงว่าโมเลกุลนี้เป็นโมเลกุลที่มีคั่วมีส่วนของ R ด้วย แสดงว่าก็ต้องมีส่วนที่ไม่มีคั่วแสดงว่าต้องมีแรงแผลกระจาย London ด้วย แล้วเป็นโมเลกุลที่มีคั่วก็ต้องมีแรงระหว่างคั่วแล้วอีกอย่างเขามี O Hเขามี O H แสดงว่าเขาสามารถที่จะเกิดพันธาไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลได้แสดงว่ามีครบทั้ง 3 แรงเลยจ้าต่อไปค่ะ 1 เมตรช็อกซี่บิลเชน ลงท้ายด้วยเชนค่ะแล้วมีออกซีด้วย ดังนั้นตัวนี้เขาคืออีเทอร์ อีเทอร์สุดทั่วไปคือ R-O แล้วก็ R-PALM ค่ะดังนั้นเขามีทั้งส่วน R แล้วก็ส่วน Oส่วน O เป็นส่วนที่ทำให้โมเลกุลนั้นมีคั่วค่ะดังนั้นแรงแผลกระจายลอนดอนต้องมาแล้ว มี R ไงมี O แสดงว่าแรงระหว่างคั่วต้องมาแล้วแล้วสามารถที่จะสร้างพันธาไฮโดรเจนระ หว่างโมเลกุลได้ไหมคะ หนูลองเอามาซิ หนูลองเอาอาขีด แล้วก็อาพารมอีกโมเลกุลนึงมาซิมันจะเกิดไฮโดรเจนได้ไหมเนี่ย มีตัวไหนที่จะมี โอ กับ เอช หรือ โอ กับ เอ็น หรือ โอ กับ เอฟได้ไหมคะ ไม่ได้อ่ะ ดังนั้นเขาเกิดพันธะไฮโดรเจนไม่ได้ ก็เกิดได้แค่กี่แรงสองแรงนั่นเองเรียบร้อยจ้า ต่อไปในข้อที่สามค่ะ จงเตรียบเทียบจุดเดือดของสารต่อไปนี้พร้อมอธิบายเหตุผลจ้าดูข้อแรกค่ะ บิลเชน 1 เป็นแอลกอฮอล์ต่อไป เพ็นเชน 1 ว้าว เป็นแอลกอฮอล์เหมือนกันถ้าเป็นสารชนิดเดียวกัน ให้เราพิจารณาที่คาร์บอนค่ะเมื่อไหร่คาร์บอนเยอะ แสดงว่าโมเลกุลเขาต้องใหญ่โมเลกุลใหญ่จุดเดือดก็ต้องสูง จำได้ไหมใส่เครื่องไม้ไปเลย ดังนั้นต้องเป็น เพ็นคาร์บอน 5 ค่ะ เรียบร้อยเหตุผลว่าอะไร สารทั้งสองนี้เป็นแอลกอฮอล์เช่นเดียวกันค่ะดังนั้นเราพิจารณาที่คาร์บอนมากขึ้น แสดงว่าขนาดโมเลกุลของเราเป็นไงคะสูงขึ้นไหม อ่ะ ใหญ่ขึ้นไหมคะ ใหญ่ขึ้นค่ะ เมื่อขนาดโมเลกุลใหญ่ขึ้นแสดงว่าแรงแผ่กระจายรอนดอน คุณครูขอเขียนย่อว่าแรงรอนดอนนะมันมากขึ้นไหมคะ มากขึ้น ทําให้จุดเดือดเราก็เป็นยังไงคะ เดือดก็สูงขึ้นเหมือนกัน ต่อไปค่ะAstanoic Acid มีคำว่า Acid ต้องเป็นกฎคาร์บอคซิลิกค่ะต่อไปค่ะ Methyl Methanoateนี่คือ Aster คาร์บอคซิลิกเขียนไว้ก่อนใบนี้คือ Aster เขียนไว้ก่อนขอสูตรทั่วไปค่ะ R-C-O-O-OH ค่ะขอสูตรทั่วไปค่ะ R-C-O-O-OR ค่ะ ตัวไหนจุดเดิดสูงกว่าต้องเป็นตัว ที่เป็นกรดคาร์บอคซิลิกค่ะ ทําไมกรดคาร์บอคซิลิกสูงกว่าเพราะเจ้าตัวกรดคาร์บอคซิลิกเนี้ย เขาเป็นสารที่สามารถสร้างพันธาไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลได้แรงระหว่างโมเลกุลเขาทั้งหมดสามแรงเลยน่ะ เขามีแรงแผ่กระจายลอนดอนด้วยมีแรงระหว่างคั่วด้วย มีแรงที่เป็นพันธาไฮโดรเจนด้วยสรุปว่าเขามีทั้งหมดสามแรงเลยอ่ะ แต่ตัวเม็ด ทิว เมทาโนเอส ซึ่งเป็นอีเทอร์เนี่ยไม่สามารถที่จะสร้างพันธาไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลได้โอเคเนาะมีทั้งหมดสองแรง นั่นคือแรงระหว่างคั่วค่ะแล้วก็แรงแผ่กระจายรอนดอนนั่นเองสรุปค่ะ กดคาร์บอคซิลิดนั้นสามารถที่จะ สร้างพันธาไฮโดรเจนระหว่างมนิกุลได้ก็เลยมีพันธาไฮโดรเจนซึ่งเป็นแรงที่แข็งแรงเพิ่มขึ้นมารวมทั้งหมดเป็น 3 แรงค่ะส่วนเอสเทอร์นั้นไม่สามารถสร้างได้จึงมีแค่แรงระหว่างควดแล้วก็แรงแผลกระจายลอนดอนนั่นเองต่อไปในข้อที่ 3 ข้อสุดท้ายค่ะHexane-1-OHexane-1-O ลงท้ายดีออลเป็นแอลกอฮอล์ค่ะแล้วต่อไปค่ะHexane-1-A-Meanยังไม่เคยเปรียบเทียบให้เด็กดู เด็กๆ ค้าขอสูตรทั่วไป แอลกอฮอล์ค่ะ R-OH ค่ะเด็กๆ ค้า เอมีนค่ะ R-NH3ทั้ง 2 โมเลกุลเนี้ย มันสามารถที่จะสร้างพันธาไฮโดรเจน ระหว่างโมเลกุลได้เหมือนกันแต่พันธาไฮโดรเจนระหว่างแอลกอฮอล์ จะเป็นพันธาไฮโดรเจนระหว่าง O กับ H ค่ะ ที่จะไปสร้างได้ถ้าเป็นเอมีนนั้น จะเป็นพันธาไฮโดรเจนระหว่าง N กับ H ค่ะ ทีนี้เราดูที่เดลต้าอีเอ็นหรือผลต่างอีเอ็นค่ะ เดลต้าอีเอ็นค่ะของโอกับเอ็ชเนี่ยมันจะมีค่าสูงกว่าเดลต้าอีเอ็นของเอ็นกับเอ็ช โอเคนะของเอ็นกับเอ็ชตัวนี้มันจะต่ําค่ะ ทําให้สภาพคั่วของแอลกอฮอล์จึงมีสภาพคั่วที่แรงกว่าเอมีนนั่นเอง ไม่มีสภาพคั่วที่แรงกว่าจึงส่งผลทําให้ พันธะระหว่างไฮโดเจนของแอลกอฮอล์ก็เลยแรงกว่าพันธะไฮโดเจนระหว่างเอมีนนั่นเองดังนั้นเมื่อพันธะไฮโดเจนมันแรงกว่าค่ะจุดเดือดมันก็เลยสูงกว่าสรุปแอลกอฮอล์สูงกว่าเอมีนที่มีมวลโมเลกุลใกล้เคียงกันอ่ะ ขอสรุปให้อีกนิดนึงพันธะไฮโดเจนระหว่าง O กับ H นะมันแข็งแรงค่ะ แข็งแรงกว่า แข็งแรงกว่าพนธุ์ไฮโดรเจนระหว่าง N กับ H ค่ะเพราะเดลต้า E N มันสูงขวานั่นเองทำให้สภาพคั่วมันแรงกว่าโอเคเรียบร้อยค่ะเด็กๆค่ะนี่คือสมบัติของสารประกอบ อินซีที่มีออกซีเจนและก็นายโดรเจนเป็นองค์ประกอบเขาจะต่างจากสารประกอบไฮโดรคาร์บอนนะทั้งในเรื่องของจุดเดือดและก็ในเรื่องของการละลายต่างกันเยอะเลยแล้วเด็กๆไปฝึกไปทบทวนบ่อยๆนะคะคุณครูเป็นกำลังใจให้เด็กๆทุกคนนะคะอย่าลืมกดไลค์ กดแชร์ กดติดตามช่องแล้วก็เป็นกำลังใจให้คุณครูในการทำคลิปต่อไปด้วยนะคุณครูจะมีคลิป ให้ดูทุกๆ วันเลย แล้วก็มีเอกสารแชร์ไว้อ่านได้เลยค่ะสำหรับวันนี้ บ๊ายบาย