สําหรับเรื่องฮาหลักของเราวันนี้ครับ เราจะมาดูเรื่องของ Grab ใช่ไหมครับ จากคลิปก่อนที่เราบอกว่า Grab เนี่ย ขาดทุนทุกออเดอร์เลยนะครับ ก็คือ โมเดลธุรกิจเนี่ย มันอยู่ไม่ได้นะ แต่ว่าตอนนี้นะครับ มีข่าวออกมาว่า Grab ทํากําไรเรียบร้อยแล้วนะครับ แล้วก็ยังเป็นบริษัทเดียวที่ทํากําไร บริษัทอื่นอื่นก็เริ่มล้มหายตายจากไป ไม่ได้จะเป็น เราเป็นฮุฑที่หายไป เพราะว่าขาดทุนยับยับ แล้ว Grab ทํายังไงถึงทํากําไรได้ วันนี้มาก่อนอีกกัน ถ้าคุณชอบคอนเทนต์แบบนี้และอยากเลี้ยงกาแฟผม สามารถที่จะทําได้ที่ระบบ Membership ครับ สมาชิกสามารถดูไลฟ์ย้อนหลังได้แบบเต็มๆ มีโพสต์หลังบ้านเฉพาะสมาชิก มีบัตรคิดิสีสวยอยู่หลังชื่อด้วยนะครับ และผมต้องขอขอบคุณสมาชิกทุกท่านครับ ที่ช่วยให้ผมสามารถสร้างสรรคอนเทนต์ได้แบบที่เป็นตัวของตัวเองสุดๆ และขอขอบคุณคุณผู้ชมทุกท่านที่รับชมนะครับ คอนเทนต์นี้เนี่ยมันเริ่มมาจาก มีคนเอารูปนี้เนอะ จาก Today นะครับ รายได้ 15,000 ล้าน แล้วตอนนี้กำไร 500 ล้านแล้วนะครับ ในขณะที่บริษัทอื่นๆ ยังขาดทุนอยู่เลยใช่ไหมครับ ทีนี้ก็เลยคิดว่าถึงเวลาแล้วที่เราจะต้องมาอัปเดตกันว่า ตอนนี้เนี่ยสถานการณ์เรื่องของ Food Delivery ในเมืองไทยเนี่ย มันเป็นยังไง คลิปก่อนถ้าเกิดว่ายังจำกันได้ครับทุกคนครับ ผมบอกไปแล้วว่า มันมีคนอยู่ 3 กลุ่มที่ Grab จะต้องทำให้ Happy ไว้นะครับ ก็คือ 1. ลูกค้า พวกคุณนั่นแหละคนซื้อ 2. ก็คือ ร้านค้า ร้านอาหารใช่ไหมครับ 3. ก็คือ Rider ใช่ไหมครับ คนที่ส่งของ ทีนี้ถ้าเกิดว่าร้านค้าขายอาหารเท่าเดิม ใช่ไหมครับ ราคาเท่าเดิม แล้วคุณสั่งในราคาอาหารเท่าเดิมเนี่ย แสดงว่ามันต้องมีใครเสียตังค์ถูกไหม เราคุยกันไปแล้ว ดังนั้นมันจะต้องมีค่าบริการของ Grab ที่ Grab จะต้องเอาไปแบ่งกับ Rider แล้วก็ Grab ก็จะคิดค่าบริการ Platform กับร้านค้าด้วย ดังนั้นนี่คือวิธีการทำเงินของ Grab ซึ่งในตอนที่เราคุยกันเมื่อคลิปก่อนเนี่ยนะครับ ต้องบอกเลยว่า Grab ลงทุนกับการซื้อตลาด ขนกลางเยอะ ทําให้ Grab เนี่ยขาดทุนทุก Order ทุก Order ที่สั่งกันไปจริงๆ แล้ว Grab ขาดทุนนะครับ แต่ว่าก็มีคนในคอมเมนต์ ใช่ไหม มาคอมเมนต์กันว่า โอ้ยพี่ไม่รู้อะไรไปดูมาใหม่นะครับ Grab อย่างเงินอย่างงี้ อ่ะ แต่จริงๆ คุณดูลงโรปการเงินเขา คุณก็จะรู้ว่าเขาขาดทุนนะครับ มันขาดทุนแต่ในกระดาษนั่นแหละ ใช่ไหม แต่ว่าจริงๆ แล้ว เจ้าของบริษัทก็รวยอู้ฟู้ อีกจริงๆ ไม่ใช่นะครับ Grab ลําบาก ลําบากมากนะครับ กว่าที่จะมาถึงจุดนี้ได้ ใช่ไหม ทีนี้ เรามาดูกันดีกว่าว่า แล้วตอนนี้มันกําไรยังไง อันนั้นคลิปก่อนเราคุยกันประมาณสองปีที่แล้วนะครับ สองปีก่อนเนี่ย ถ้าเกิดว่าคุณลองนึกย้อนกลับไปดูนะครับ ตอนที่คุณสั่งอาหารผ่านแกรปเนี่ย ค่าส่งเท่าไหร่ อ่า ตอนนั้นอาจจะฟรีด้วยซ้ํา ในช่วงหกเดือนหนึ่งปี มันมีฟรี สั่งฟรีมาให้บ่อยบ่อยใช่ไหมครับ ตอนนี้ลองคิดดูใหม่ว่า สั่งแกรปหนึ่งครั้งเนี่ย ค่าส่งเท่าไหร่ อ่า ตอนนี้นะ ลองแชทลองว่ากันมา สมมุติสั่งอาหารหนึ่งร้อย เสียค่าส่งเท่าไรเอ่ย อ่ะ ก็มีบอกฟรีแต่เสียค่าสมาชิก ก็โอเค วันนี้บอกเก้าสิบ ยี่สิบถึงยี่สิบห้า ยี่สิบบาท ห้าสิบบาท ไกลไกลแปดสิบเก้าสิบ อ่ะ ประมาณนี้แล้วกัน ก็คือ แต่ก่อนเนี้ยมันประมาณสิบบาทยี่สิบบาท เดี๋ยวนี้เนี้ย ขึ้นไปละ ห้าสิบมีให้เห็น เก้าสิบมีให้เห็นใช่ไหมครับ อันนี้มันเกิดจากอะไร มันเกิดจากการที่แก๊ปเริ่มที่จะบอกว่า เฮ้ย เขาเรียกว่าอะไร เราไม่ตรงนี้แล้วนะ เราไม่เอากําไร เอาตังค์เราไปอีกคำตรงนี้นะ คุณต้องเริ่มจ่ายแล้ว เพราะว่าคุณติดตลาดแล้วใช่ไหม ตลาดคุณเนี่ย ตอนแรกก็คุณไม่รู้ไงว่ามันมีบริการแบบนี้อยู่ แต่พอคุณสั่งแล้ว อุ๊ย มันติดว่ะ มันเออ ฮุ้ย สั่งอะไรมากินก็ง่าย ตอนนี้แหละที่แกรปจะค่อยๆขึ้นราคาใช่ไหมครับ เราก็จะเห็นว่าราคาเนี่ยมันค่อยๆสูงขึ้น โปรโมชั่นที่มี ส่งฟรี ส่งอะไรอย่างงี้ก็จะเริ่มน้อยลง ยังมีอยู่ แต่ยังน้อยลง ก็จะไปเข้ากับตัวประเด็นที่เราบอกว่า อ่า สุดท้ายแล้วคุณนั่นแหละต้องจ่ายแพงขึ้น นอกจากนั้นแล้ว ค่า GP ล่ะ ร้านค้าที่แต่ก่อนค่า GP บอก 30 GP ตอนนี้อาจจะขึ้นเป็น 35-40 ที่เขาขึ้นค่า GP กับร้านค้าได้เนี่ย เพราะว่าคู่แข่งตายไปแล้วใช่ไหม ในตลาดเนี่ยทุกคนเอาตังค์มาลงหมดเลยนะครับ เพื่อที่จะซื้อส่วนแบ่งการตลาด เพื่อที่จะให้ตัวเองอยู่รอดใช่ไหมครับ ให้ตัวเองคุมร้านอาหารได้มากที่สุด ว่างั้นเถอะ ก็ต้องเอาตังค์ซื้อใช่ไหมครับ ทีนี้พอเขาเอาตังค์ซื้อ ยืนระยะมาผ่านมา 2-3 ปีแล้วเนี่ย ไอ้บริษัทไหนที่สายป่านสั้นหรือบอกว่าไม่ไหวและ ไม่ลงทุนและ ไม่ค้ำและ ก็จะล้มหายตายจากไปใช่ไหมครับ โลบินฮูทที่เพิ่งปิดไปเมื่อเดี๋ยวเร็วนี้ ก็บอกว่าไม่นานเหมือนกัน ก็ขาดทุนปีละสองพันล้านสามพันล้าน มันจะอยู่ยังไงใช่ไหม ก็เพราะว่าเอาตังค์มาค้ำเรื่องพวกนี้นะครับ พอเขาตายไปแล้วเนอะ ก็เหลืออยู่ไม่กี่เจ้า พอเหลืออยู่ไม่กี่เจ้าเนี้ย เราก็ต้องเคลมได้นะครับ ผมก็จะไปหาร้านค้าแล้วผมก็จะบอกว่า เฮ้ย ผมเนี้ยเป็นเจ้าตลาดนะ ใช่ไหม คนอยู่บนแพลตฟอร์มผมเยอะมาก ลูกค้าผมเยอะมาก ดังนั้น การที่คุณจะเอาร้านของคุณมาลงในแพลตฟอร์มผมเนี่ย นะครับ ผมจะต้องขอส่วนแบ่งเยอะหน่อย ตามคําทําหน่าย เราคุยกันไปแล้วว่ามันจะต้องเป็นแบบนี้แน่แน่ ในสองปีก่อน ก็ตอนนี้ก็เป็นอย่างงั้นเรียบร้อยนะครับ จะเห็นได้ว่า นอกจากที่เขาเก็บตังค์กุญมากขึ้น เขาก็เก็บตังค์ในส่วนของร้านค้าเพิ่มขึ้นด้วย ทีนี้เรายังไม่ได้พูดถึงส่วนหนึ่งที่สําคัญมากก็คือ Rider Rider เนี่ย ตอนแรกที่แต่ละรอบใช่ไหมครับ ถ้าเกิดว่าเราไปดูข้อมูลย้อนหลัง อันนี้ผมไปดูมาใช่ไหม ที่เขาบอกว่าเขามารีวิวกันเลยว่า Rider อ่า เจ้านี้ได้รอบละกี่บาทกี่บาทเนี่ย แต่ก่อน Rider ได้รอบละสี่สิบบาท วิ่งรอบหนึ่งได้ได้สี่สิบบาท ส่งของนะ แต่ลูกค้าจ่าย 10 บาท อ่า ร้านค้าอาจจะจ่ายอีก 10 บาท 20 บาท แก๊บอ่ะ ทํากําไรจากการส่งของได้ 30 บาท แต่จ่าย Rider รอบละ 40 บาท แสดงว่า อะไร แสดงว่าเขาขัดทุนอยู่ใช่ไหม ก็ค่อยๆ ลดค่ารอบ Rider ลงมาเรื่อยๆ ใช่ไหมครับ ลดลงมาตอนนี้เห็นว่าอยู่ที่ 28 บาท ลดลงมาเยอะนะ พอลดค่ารอบลงมาแล้วเนี่ย เราก็จะเห็นข่าวนะครับว่า Rider เนี่ยก็เกิดการประท้วงขึ้นค่อนข้างเยอะนะครับ ก็แน่นอนสิ คนเราเคยได้เงินรอบละ 40 บาท แล้วเหลือรอบละ 28 บาท ค่าน้ำมันล่ะ แล้วแดดร้อนๆ ต้องมาขับมอเตอร์ไซต์ล่ะ ใช่ไหม แต่ว่าปัญหาก็คือว่า พอถึงจุดที่บริษัทเหล่านี้เนี่ย เป็นเจ้าตลาดแล้วเนี่ยนะครับ ก็จะต้องอยู่ในภาวะจำยอม บางคนต้องหางานทำ ต้องทำงาน บางคนก็ต้องกดรับงานในเรทรายได้ที่รู้สึกว่า เอ๊ะ มัน make sense หรือเปล่า ใช่ไหม ก็ต้องยอมทำไปเพื่อที่จะได้มีรายได้เข้ามาก่อน เป็นแบบนี้หมด จนกระทั่งมาถึงจุดหนึ่งที่มันยอมไม่ไหวละ ว่า เฮ้ย โอ้โห ค่ารอบมาได้เท่านี้เอง ค่าน้ํามันไม่คุ้มแล้วเนี่ย ใช่ไหม ก็เริ่มประทวงกันใช่ไหมครับ นั่นแหละ ก็คือสถานการณ์ของ Food Delivery ในตอนนี้นะครับ ถ้าเราจะมารีวิวกันอีกรอบหนึ่งว่า ไอ้ธุรกิจ Food Delivery ตอนนี้เนี่ย มันอยู่ได้ไหมเนี่ย ต้องบอกว่าอยู่ได้เลยครับ แต่ว่าต้องมีคนจ่ายเพิ่มขึ้น ราคาของแพงขึ้นแน่นอน ซึ่งมันเมคเซนต์ คือตอนแรกคุณสั่งข้าวอย่างเดียว ใช่ปะ คุณเดินไปกินที่ร้าน คุณจ่ายร้อยบาท ถูกปะ แต่คุณอยากจะได้ข้าวเนี่ย ที่บ้านของคุณโดยที่คุณไม่ต้องเดินออกไปเลย มีคนขับรถมาส่งให้คุณถึงหน้าบ้านเนี่ย มันต้องจ่ายตังค์อยู่แล้วถูกไหม คําถามคือราคาที่เหมาะสมคือเท่าไหร่ เห็นไหมครับ ผมก็คิดว่าน่าจะประมาณสี่สิบถึงห้าสิบบาท ใช่ไหม สําหรับคนที่ อ่า สมมุติว่าเราจ้างเพื่อนอ่ะ เฮ้ย ไปซื้อ ไปซื้อของหน้าปากซ้อยหน่อยดิ เออ ห้าสิบบาท ไปป่ะ ถ้าเกิดจ้างแบบสิบสิบห้าบาทไปป่ะ โอ้โห โห โห โห ไม่คุ้มแล้วถูกไหม แกล้ สตาร์ท มอเซ็ตก็ผิดล่ะ ใช่ไหม ดังนั้น มันก็เลย เราจะต้องจ่ายในราคาที่เหมาะสม แล้วตอนนี้เนี่ย สองสามปีผ่านไป ราคา ค่าบริการเนี่ย มันก็ กําลังปรับตัวไปที่จุดนั้นที่ค่อนข้างเหมาะสม แล้วยิ่งคู่แข่งหายไปจากตลาดหลายเจ้าใช่ไหมครับ ก็ยิ่งทำให้การปรับราคาตรงนี้ ทำอะไรมากขึ้นก็ได้เพราะว่าตอนนี้เป็นเจ้าตลาดแล้ว เริ่มมี Power แล้ว เป็นเฟสที่ตัวบริษัท Food Delivery เริ่มที่จะแบบโตใช่ป่ะ ตอนแรกเป็นไง ปีแรกเป็นยังไง ถ้าเกิดจำภาพก็ได้ โอ้พี่ครับมาขับ Rider ให้ Platform เรานะครับ เราจ่ายเงินอย่างดีเลยนะครับ อู๋ ร้านค้า เข้ามาไหมครับ ตอนนี้จะได้สร้างรายได้ร่วมกันครับ โอ้คุณลูกค้าสั่งกับเราสิครับ ส่งฟรีนะครับ ตอนนี้เป็นไง เอ้ย จะสั่งไม่สั่ง อยากสั่งก็จ่ายมา เออ ร้านอ่ะ อยากเข้ามาป่ะ อยากเข้าก็จ่ายมา ค่า GP เท่านี้ ถ้าเกิดว่าคุณไม่จ่ายก็ไม่ต้องเข้า แล้วแต่คุณนะ เออ สิทธิ์ของคุณ Rider ให้รอบราคาเท่านี้ เอาเปล่า ถ้าไม่เอาก็แย่หน่อยนะ ก็ไปขับอย่างอื่นแล้วกัน แต่แย่หน่อยนะ อย่างอื่นไม่ให้ขับเหรอ ใช่ ตอนนี้คือเป็นอย่างงี้แล้วนะครับ ก็ตาม Road Map ที่คุยกัน คืออันนี้ ผมเล่าแบบดรามาติกนิดหนึ่งเข้าใจปะ แต่ว่าทุกคนเห็นภาพใช่ปะว่า มันกําลังเกิดอะไรขึ้น บริษัทเขาอาจจะไม่ได้แบบว่าเข้มขนาดนั้น แต่ว่าคุณน่าจะนึกภาพออกว่า มันเกิดอะไรขึ้นในตลาดตอนนี้ใช่ไ กราฟกำไรได้ยังไง ต้องบอกเลยนะครับว่าหลังจากที่เราไปดูงบการเงิน อ่า เรามาดูงบการเงินดีกว่า คือต้องบอกว่าข้อมูลตรงนี้นะครับ มันเป็นข้อมูลของคนภายนอกที่มองเข้าไปใช่ไหม แล้วเราก็เดาอย่างเดียวนะ เดาเฉยๆนะ ถูกไม่ถูก ไม่รู้แต่ว่าเราจะมาลอง ลองสืบส่วนกันดูว่า เอ๊ะมันเกิดอะไรขึ้น ทำไมเรียกกำไรใช่ปะ ผมมีข้อมูลมารออยู่แล้วนะครับ อันนี้จากดีบีดีใช่ปะ อันนี้คือแก๊ปแท็กซี่นะ ซึ่งรวมแท็กซี่รวมเจริฟลี่นะครับ ก็กําไรมาตั้งแต่ปีหกห้าแล้วครับ กําไรห้าร้อยล้าน โอ้โห เนี้ย ตัวเลขเดียวกันปะเนี้ย ตัวเลขเดียวกันกับเวิร์กพอยต์ป่ะ อ่า ห้าร้อยเจ็ดสิบหกล้าน อันนี้คือปีหกห้าใช่ไหมครับ แล้วปีด้านสุดก็ย้ําเข้าไปอีกนะครับ อันนี้หลังจากกราฟิกเวิร์กพอยต์เนี้ย ตอนนี้ขึ้นไปเป็นพันสามร้อยล้านละ ขึ้นมาเจ็ดร้อยล้าน กําไรนะ จากห้าร้อยเป็นพันสาม ทีนี้เรามาดูว่า เฮ้ย กำไรนี้มันมาจากไหนล่ะ อ่ะ ก็บอกเลยว่า เอ๊ะ รายได้หลัก ไม่รู้อ่ะ อันนี้เขาได้หมื่นห้าพันล้าน ปีนี้ยอดขายเพิ่มมาห้าร้อยล้าน จากหกห้ามาหกหก ค่าใช้จ่าย ต้นทุน เอ๊ะ ต้นทุนเพิ่มไม่เยอะ ต้นทุนเพิ่มมาสามร้อยล้านอีก แต่ยอดขายเพิ่มมาห้าร้อยล้าน อันนี้มาดูค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายในการขายบริการ ก็คือ cost of business นะครับ อันนี้ก็จะรวมเรื่องของค่า operation ค่าจังพันธการที่ดูแลเรื่องของการโฆษณา ผมคิดว่ารวมอยู่ในนี้ทั้งหมดนะครับ ก็จะเห็นได้ว่า งบเนี่ย เขารดลงนะ ใช่ปะ ค่าใช้จ่ายเนี่ย จาก 5,700 ล้าน เหลือ 5,100 ล้าน ก็คือตัดค่าใช้จ่ายไป 600 ล้านเงินทีเดียว ก็คือคัดคอร์สนั่นแหละ ไอ้ 600 ล้านเนี่ย จริงๆ ที่คัดไปเนี่ย ใช่มั้ยครับ บวกกับอีก 100 กว่าล้าน 200 ล้านเนี่ย มันก็คือตัวกำไรที่เพิ่มขึ้นมานั่นแหละ 800 ล้าน ก็สรุปว่า ยอดขายเพิ่มหน่อยนึง แล้วก็คอร์สทำธุรกิจเนี่ย ก็ลดลงด้วย คอร์สพรุ่งนี้ลดได้จากอะไร ก็ต้องบอกว่าลดจาก Incentive นั่นแหละ เรื่องของโปรโมชั่นต่างๆ ซึ่งแต่ก่อนต้องรันเยอะ เดี๋ยวนี้ก็ใช้น้อยลง ในเวลาวาน ใช่ไหมครับ แล้วก็อีกเรื่องหนึ่งที่เขาใช้ลดค่าใช้จ่ายก็คือ ค่าจ้าง Rider ลดค่ารอบจาก 40 เหลือ 28 ไม่พอ มีมาตรการในการเซฟเงินค่อนข้างเยอะ อย่าง Rider เนี่ย ถ้าเกิดว่าคุณเห็นข่าวในช่วงปี 2 ปีที่ผ่านมาเนี่ย เขาจะบ่นกันเรื่องของงานแบจ ใช่ไหม งานแบจคืออะไร คืองานแบบร้าน A กับร้าน B อยู่ใกล้กัน Rider คนนี้วิ่งผ่ามาจะมารับร้าน A อยู่แล้ว ขอให้รับร้าน B ไปด้วยได้ไหม แล้วก็ไปส่งลูกค้าสองคนพร้อมกันเลย พ่วงไปเลยใช่ไหม แล้วก็ระบบนี้เนี่ยเป็นแบบ Off-Out ก็คือ Rider ไม่รู้ตัวว่าแบบ เฮ้ยทำไมงานถูก Assign มาอย่างงี้ ให้ไปรับตรงนั้น ให้ไปรับตรงนี้ เขาไม่รู้ว่าลูกค้าเขาเป็นใครด้วยซ้ำถูกปะ แล้วทีนี้พอไปส่งลูกค้า A ไอ้ลูกค้า B เนี่ยรอนาน แล้วบางทีลูกค้า B เนี่ยสั่งไอติม แต่ว่าแก๊ปต้องไปส่งลูกค้า A ก่อน แล้วพอมันมาถึงลูกค้า B ไอติมมันลายหมดแล้ว ลูกค้าด่าใคร ด่า Rider ใช่ปะ ซึ่ง Rider เองไม่รู้เรื่องเลย ว่าไอ้ระบบนี้มันเข้ามายังไง เขาบอกว่าไอ้งานแบตช์เนี่ย มันทำให้ Grab หรือบริษัทต่างๆ ต้องบอกอย่างงี้ Uber นั่นนู่นนี่ ก็มีระบบนี้เหมือนกัน เขาบอกว่า เอ๊ะ คุณทำงานใกล้กันอยู่แล้วไง ก็เลยให้ตังค์เพิ่มด้วยนะ แบบว่า เออ คุณจะได้แบบ เอาตังค์เพิ่มไปสิ ใช่ไหม แต่ว่า จริงๆ แล้วเนี่ยนะครับ ไอ้ตัว งานแบตช์เนี่ย สมมุติว่างานหนึ่งได้สิบบาท ถ้าคุณรับสองงานปกติคุณได้ยี่สิบบาทใช่ปะ แต่พอเป็นงานแบตช์ปั๊บเนี่ย คุณอาจจะได้ประมาณแบบสิบสี่ สิบหก นึกออกปะ มันไม่ใช่เท่ากับสองงานบวกกันอ่ะ แล้วมันได้เงินน้อยกว่าสองงานถูกปะ แต่โดนลูกค้าด่าเพิ่มขึ้นเยอะเลยใช่ปะ เพราะว่ามันไม่รู้ว่าเราจะต้องทำอะไรที่ไหน แต่ว่าสำหรับ Grab แล้วเนี่ย อันนี้คือการลด Cost ถูกปะ ได้ 2 Order ในราคาที่ลดลง นี่คือมาตรการในการลดค่าใช้จ่าย แล้วก็บังคับให้ Rider ทุกคนรับงาน Badge เป็นอัตโนมัติ ถ้าเกิดใครไม่อยากรับงาน Badge ก็แยกออกมา ก็ถอยออกมา คนที่แบบไม่รับงาน Badge ก็อาจจะได้ Priority ต่ำกว่า ใช่ไหม เพราะว่า Rider คนที่จะรับงานเนี่ยมันก็ต้องมากดหางาน มากดรับงานใช่ไหมครับ แล้วบริษัท Food Delivery เนี่ยก็จะบอกว่า เฮ้ย จะจ่ายงานให้ใคร ก็คุณบอกว่า โอ้ย ถ้าเกิดว่าคุณไม่เลือกรับงาน รับงานแบดด้วยเนี่ย คุณเอา Priority ไปเลย คุณเอางานเยอะๆ ไปเลยใช่ไหม คุณเป็น Star Rider ของเรา Rider ที่อยากจะได้งานเยอะๆ ก็ต้องยอมรับค่าจ้างที่น้อยลง เพื่อที่จะได้เป็น Star Rider เพื่อจะได้รับงานเยอะๆ คนที่ไม่ยอม ก็บอก โอ้ย เรื่องอะไร นึงแค่นี้ผมไม่ทำหรอก ก็รอไปดิ งานไม่เข้า ใช่ปะ ก็ไม่ได้ตังค์เลย ก็เลยเหมือนจะโดนประคับให้เรื่องระหว่างตังค์นิดเดียว แต่มา มานะ กับอยากได้ตังค์เยอะๆ แต่ไม่รู้จะมาเมื่อไหร่ ก็ไม่รู้ว่ายังไงแต่ว่ามันเวิร์คว่ะ หมายถึงว่า ไอ้ระบบเนี่ย มันเวิร์คในการตัดค่าใช้จ่าย เราดูด้วยจากงบประมาณ ภาษี เห็นไหมครับ ภาษีทำไม่จ่ายศูนย์ใช่ไหม ทุกคนถาม ผมคิดว่ามันคือ Capital loss นะ คือบริษัทกูขัดทุนมาแบบ ปีนี้ 200 ล้าน ปีนี้ 300 ล้าน ขาดทุน 1,600 ล้าน ขาดทุนมารวม 2,000 ล้านแล้ว กูเพิ่งจะมากำไร quarter นี้ จะมาเก็บภาษีได้ยังไง ใช่ปะ มันจะต้อง net positive ก่อนอ่ะ เริ่มมีกำไรจริงๆ เพราะว่านี่คือหนี้ใช่ปะ เออ นี่คือหนี้ทั้งนั้น ก็ต้องเอาไปจ่ายหนี้ให้ครบก่อน แล้วพอมีกำไรจริงๆ อ่ะ ถึงค่อยคิดภาษี งานพ่วงพอมีข้อมูลมากๆ ผมว่าน่าจะเริ่ม optimize ได้ละมั้ง งานพ่วงตอนแรกที่เป็นเคสไอติมอย่างเงี้ย ใช่ปะ มันก็ถูกแก้ไขแล้วล่ะ คิดว่าแบบ อุ๊ย ลูกค้า complain เยอะ ว่าแบบ อุ๊ย ถ้าเกิดเป็นไอติมเนี่ย มันไม่ควรจะอยู่ในงานห่วง หรือมันควรจะเป็นออเดอร์แรกที่ไปรับ ลําดับอะไรให้มันเสร็จ มันก็ใช่อยู่ แต่ว่า แล้วคุณมาเทสรันกับ กับ rider ที่เขาต้องรับหน้าเสือลูกค้าจริงจริง ลูกค้าเวลาด่า ด่าใครอ่ะ ด่า rider ใช่ป่ะ เพราะว่า rider เป็นคนเจอเขานี่ ใช่ไหม เขาไม่ได้เขาไม่ได้ไปด่าแพลตฟอร์มอะไรอย่างเงี้ย ซึ่งมันก็มีเรื่องของจิตวิญญาณด้วยเนอะ เรื่องของแบบเว้ยทําไมทํากันอย่างงี้ เรื่องของประกันอีกใช่ไหม อ่ะประกันเนี่ย เวลาที่เราขับรถนะ delivery เนี่ย เป็น rider เนี่ย บริษัทก็ควรจะมีประกันให้ถูกไหม แต่บริษัทก็บอกว่า เอ้ย ถ้าเกิดว่าคุณทําวันละไม่เกินยี่สิบรอบ ผมไม่ทําประกันให้แล้วกัน ตัวเลขอาจจะไม่ไม่แบบนี้แหละ แต่ว่าคุณต้องขับไปจํานวนนึงอ่ะ ตัวประกันมันถึงจะคิกอิน ถ้าเกิดว่าอยู่ดีดี วันนี้ทําสักชั่วโมงหนึ่งดีกว่า อยากเป็น rider ป่ะ ไอ้แบบนั้นไม่มี ไม่มีประกัน แล้วมันก็ทําให้รู้สึกว่าแบบ ถ้าซื้อประกันเองแล้ว ไอ้เงินค่ารอบที่ได้เนี้ย มันคุ้มค่าประกันหรือเปล่า คุ้มค่าน้ํามันหรือเปล่า ก็ไม่รู้เหมือนกันถูกปะ ซึ่งถึงแพลตฟอร์มทําอย่างงี้ต้องอย่าลืมว่า กลับไปที่ Point แรกก็คือ แพลตฟอร์มเนี่ยจะต้องทําให้ทุกคน Happy ทั้งลูกค้า ทั้ง Rider ทั้งร้านค้าท ถ้าเกิดว่า Rider ไม่ Happy เนี่ย มันอยู่ไม่ได้ เอาจริงๆ ใครไม่ Happy เนี่ย แพลตฟอร์มอยู่ไม่ได้เลย ต้องทำให้ทุกคน 3 คนนี้ Happy ใช่ไหม แล้วพอ Rider ทำแบบนี้เริ่มประท้วงใช่ไหมครับ ก็ประท้วงแล้วก็... มันก็รู้สึกว่าเหมือน... ประท้วงรอบนึงก็จะได้บางอย่างกลับคืนมาอะไรอย่างนี้ จริงๆ แล้วพลังของ Rider เนี่ยก็สำคัญนะครับ ทุกครั้งที่ประท้วงเนี่ย ถือว่ามีผลมากๆ นะครับ ไม่ใช่ว่าเขาไม่สนใจนะ ถ้าเกิดว่ารวมตัวกันได้ก็ประท้วงได้อะไรอย่างนี้นะครับ ดังนั้นก็เป็นหน้าที่ของผู้บริหาร แต่ละ Delivery ว่า...
คุณจะไปทำยังไง ให้ทุกคน Happy ให้บริหารก็ประมาณได้ ในส่วนลูกค้าที่ไม่ต้องการให้ออเดอร์ตนเองไปรวมงานพ่วง เวลาจะมีตั้งส่งสามแบบ แบบปกติหรือแบบประหยัด แบบประหยัดจะโดนพ่วง แต่แบบแพงสุดคือส่งเร็วสุดจะไม่โดนพ่วง อ่ะ ใช่ป่ะ อันนี้ก็คือเพิ่มราคาอีก คือเข้าใจป่ะ ว่าไอ้ระบบงานพ่วงเนี้ย อ่า ถ้าเกิดว่าให้ลูกค้าเลือก สมมุติราคาส่งปกติตอนแรกยี่สิบบาท แต่ถ้าเกิดว่าคุณไม่อยากพ่วง แต่ก่อนอ่ะยี่สิบบาทก็ไม่พ่วงอยู่แล้ว แต่ถ้าเกิดตอนนี้คุณไม่อยากพ่วง เอาห้าสิบไหมล่ะ มาเร็วเลย ใช่ป่ะ มันก็คือเงินที่เพิ่มขึ้นถูกไหม แล้วไอ้ทั้งหมดทั้งมวลเนี่ย ก็มารวมกันที่ตัวเลขพวกนี้แหละ ลด Incentive เพิ่มกำไร อย่างที่เราเห็น เราเห็นชัดเจนมากเลยว่ารายได้ที่เข้ามา แต่ว่าต้นทุนมันเพิ่มไม่เยอะ เห็นปะ แล้วก็ลดค่าใช้จ่ายในการดำเนินการเนี่ย ค่อนข้างเยอะ ก็คือมาร์จิ้นมันดีขึ้นนั่นแหละ ใช่ไหม พอทำให้มาร์จิ้นมันดีขึ้น มันก็กำไรขึ้นมานะครับ อ่า ตูดูตัวเลขแล้วก็ก็ใช้ได้เลย มันก็ ธุรกิจมันเป็นแบบเนี้ย คือจริงจริงแล้วธุรกิจเนี้ย อย่างที่เราบอกก็คือมันก็ไม่ได้เกิดมาเพื่อที่จะแบบเอาเปรียบอะไรอย่างนั้นหรอก มันเป็น strategy เขาอ่ะ ซึ่งเราก็พูดมาตั้งแต่แรกแล้วว่าเขาต้องทําแบบนี้ ไม่อย่างงั้นมันอยู่ไม่ได้ มันก็เลยวิ่งมาจนถึงสถานการณ์ปัจจุบันนี่แหละครับทุกคน สุดท้ายแล้ว คนต้องยอมจ่ายครับ คุณต้องเข้าใจว่าราคาที่มันเหมาะสมกับการสั่ง food delivery เนี้ย มันค่าส่งมันต้องประมาณห้าสิบถึงร้อยบาท ซึ่งถ้าเกิดว่าคุณทําใจได้คุณก็ซื้อ ก็คือจะมีลูกค้าที่ ที่เป็น sector นี้ที่โอเคเข้าใจแล้วว่า มันราคาประมาณเนี้ยก็จ่ายไป อันเนี้ยคือธุรกิจมันจะอยู่ได้ครับ เพราะว่า ทุกอย่างมัน make sense ทุกคนต่างเอาแต่ละส่วนไปร้านค้า เอาตังค์ไปเท่านี้ เอาตังค์ไปเท่านี้ เอาตังค์ไปเท่านี้ ใช่ไหมครับ ทุกคนก็จะ ครับ สรุปก็คือธุรกิจ เนี้ย มันคงไม่ไปไหนอะครับ ก็คงอยู่กับเราประมาณนี้แหละ แล้วก็ หมายถึงราคาเนี้ย มันก็จะเข้าใกล้กับความเป็นจริง มากขึ้นเรื่อยๆ นะครับ ราคาที่เราจ่ายมันก็จะมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งตอนนี้เนี่ย มันก็เหมือนกับจะเข้าสู่สมดุลแล้วนะ ว่าแบบโอเค คู่แข่งที่สายป่านยาวไม่พอก็เริ่มตายจากไป ตอนนี้ก็เข้าสู่ราคาที่เหมาะสมแล้ว แต่ว่าคำถามขึ้นหลังจากนี้ที่ หลายเจ้าที่ยังขาดทุนอยู่เนี่ยนะครับ ถ้าขาดทุนไปเรื่อยๆ ก็จะต้องออกจากตลาด แล้วจะทำให้เกิดการผูกขาดหรือเปล่า แล้วถึงตอนนั้นราคามันจะเป็นยังไง ก็ต้องมาจับตาดูกันต่อไป ใช่ไหมครับ คิดว่า Rider จะมี Package ไหมครับ แบบงานเยอะ งานน้อย เอ่อ สําหรับ Rider เนี้ย มันมีการ Optimize แบบนี้ครับ ก็คือว่า มันอาจจะมี Incentive อะไรบางอย่าง สําหรับ Rider ว่าแบบว่า อ่ะ ถ้าเกิดว่าคุณทํางานในช่วงสิบโมง ถึงบ่ายสอง แล้วส่งเกินยี่สิบ Order คุณจะได้รับค่ารอบเพิ่มรอบละสามบาท อะไรอย่างเงี้ย ใช่ไหม มันก็มี Incentive ตรงนั้น นะครับ เพื่อที่จะหารายเดิมในระบบให้เพียงพอกับช่วงเวลาที่คนแถวนั้นเขาสั่งข้าวกันเยอะ ลูกค้าสายประหยัด ส่งปกติ ส่งช้าเตรียมตัว ปีหน้างานแบตช์พ่วงสามร้าน ส่งสามบ้าน มีระบบ อ่า มีระบบ ranking ก็คืออย่างงี้นะครับทุกคน คือระบบที่มันเป็นระบบแบบรับงานเนี่ย แล้วก็ให้บิดงานสู้กันเนี่ยนะครับ มันก็จะมีบางคนที่ราคาต่ําก็ยังรับทํางานอยู่ใช่ไหม เพราะว่าเขาต้องแค้นเงินจริงจริง แล้วก็คนแบบเนี้ยจะทําให้เกิดการ abuse ของระบบได้ก็คือ ไอ้คนจ่ายตังค์ก็แบบ อ่า นี่ไง จ่ายราคาเท่านี้ก็มีคนทํางาน ก็ไม่มีความจําเป็นที่จะต้องเพิ่มราคา ซึ่งเราก็เข้าใจทั้งสองฝ่ายถูกไหม ธุรกิจก็อยากจะประหยัด แล้วก็คนที่มาทํางานก็บางทีมัน เขาบอกว่าอย่ามีเงินน้อยอ่ะใช่ป่ะ ก็ก็ทําก็ทําไปก่อนอะไรอย่างเงี้ย ก็มีคนแบบนี้อยู่ ดังนั้นระบบมันก็จะแบบนิดหนึ่งอ่ะ รอแอปใหม่มาเปิดรอส่วนลด มึงคิดว่าจะมีแอปใหม่โผล่ขึ้นมาอีกหรอ เห็นสภาพป่ะ น้องเห็นสภาพป่ะเนี้ย เนี้ย ตัวเลขเข้มเข้ม แบงก์ยังเอาไม่อยู่ ทีนี้มันก็มีประเด็นอีกว่า เอ้า แก๊ปเขาไม่ได้แค่ทํางานรับส่งอาหารนะครับ เขามีการให้กู้เงินด้วยใช่ไหม เพื่อที่จะให้ Rider ไปซื้อรถมอเตอร์ไซต์ โทรศัพท์ มือถือมาประกอบการทำงานอะไรอย่างนี้ เป็น Financial Service แล้วก็เก็บดอกเบี้ยด้วยใช่ไหมครับ ซึ่งก็เป็นรายได้ส่วนหนึ่งนะ แต่ว่าต้องบอกตรงๆ ว่าจากการที่ไปดูมาเนี่ย ไม่ใช่รายได้ส่วนที่ทำให้เขาพลิกกลับมาทำกำไรนะครับ ตัว Financial Service เนี่ยมันเล็กนิดเดียวจริงๆ แล้วก็กว่าที่มันจะ Realize มันก็นาน อย่าง Robinhood เนี่ยก็มีข่าวว่าแบบที่ปิดไปเนี่ย ใครที่กู้เงินกับลโบรินทูตตอนนั้นนะ สมมุติว่าคุณกู้มาแบบห้าหมื่นอะไรอย่างเงี้ย แล้วลโบรินทูตแบบว่า เฮ้ย วันนี้เลิกทําธุรกิจแล้ว เลิกเลิกเลิก เงินที่กู้ไปขอคืนภายในสองวันนี้ได้ไหม อ่ะ ฮะ ก็สัญญากู้ตอนแรกปีสองปี พอคุณจะเลิกคุณบอกว่า จะเอาวันนี้เลย เห็นไหมครับ ซึ่งแน่นอนว่า ธนาคารแห่งประเทศไทยก็ไม่ยินยอบนะครับ ก็บังคับให้ลโบรินทูตเนี่ยนะครับ ให้วันชําระหนี้ตามเดิมนะครับ ไม่สามารถที่จะมาเร่งการชําระหนี้ได้ เพราะว่ามันไม่แฟร์กับคนกู้ ทีนี้เราไปดูกันต่อที่อูเบอร์ต่างประเทศเลย ตอนนี้อูเบอร์กําไรแล้วครับ เราคุยกันในสตาร์ทอัพซีรีส์ของเราว่า โอ้โห อูเบอร์มันยังไม่กําไรเลย มันใกล้จะเทิร์นพอฟิตแล้วใช่ป่ะ แต่ว่าตอนนี้อูเบอร์กําไรแล้ว แต่ว่าถ้าเกิดว่าเราไปดูใส่ในจริงจริง ก็คือปรากฏว่า เออ เขากําไรมาจากอารมณ์ประมาณนี้เลย อารมณ์เหมือนกับ rider งานแบจของของ food delivery เลย ก็คือว่าคนขับเนี่ยได้ตังค์น้อยลงครับ ไปเอาเรื่องของไอ้ระบบงานแบช งานอะไรอย่างเงี้ย เพื่อที่จะให้คนขับเนี่ยมาย่งทํางานกัน แล้วก็ทําให้ของอูเบอร์เนี่ยสูงขึ้น ตัวเลขออกมาเนี่ยก็ใช้ได้เลยทีเดียว นะครับ แต่ว่าตอนนี้อูเบอร์กําไรจริงจริงครับ แต่ว่ากําไรที่เพิ่มขึ้นมาเนี่ย มาจากส่วนแบ่งของคนขับรถที่น้อยลง อูเบอร์อีสต์กําไรไหม เราดูแล้วอูเบอร์อีสต์กําไร คือทุกคน อูเบอร์อีสต์ตอนที่เราคุยกันเรื่อง food delivery รอบก่อนเนี่ย เพราะว่าที่ต่างประเทศ ค่าส่งมันแพงมากไง มันสมเหตุสมผลใช่ปะ สมมุติว่าผมสั่งของราคาแบบ 15 เหรียญ ค่าส่งผมต้อง 5 เหรียญหรือ 10 เหรียญบวกกับค่าทริปของคนส่งอีก ใช่ไหม ดังนั้น ถ้าเกิดผมจะสั่งใครมาเนี่ย ค่าส่งผมต้องเตรียมไว้เลย 10 เหรียญ 15 เหรียญ รวมทริปนะ มันก็คือ 500 บาทละ ใช่ปะ มันก็แพงอ่ะ แต่ว่ามันก็คือราคาที่แท้จริง มันก็เลยอยู่ได้ มันก็เลยกำไร ต่างประเทศเขาบวกค่า GP เหมือนกันไหม เหมือนกัน ค่าทริปที่เมริกาจ่ายังไง ไม่มีใครรู้ ตอนนี้ก็คือทุกคนก็ให้ทริปกันแบบ เออ เออ แต่ก่อน ว่า เออ ทริปสักสิบเปอร์เซ็นต์แล้วกัน ของราคาของอะไรอย่างเงี้ย ซึ่งแบบว่าบางทีกูไปกินข้าวเนอะ บางทีกูกินกะเพราไก่มันยี่สิบบาท สิบเปอร์เซ็นต์มันก็สองบาท บางทีกูไปกินสเต็กเนอะ สองพัน สิบเปอร์เซ็นต์มันก็คือสองร้อย แต่ว่าพนักงานเสิร์ฟเนี้ย ก็ทํางานเท่ากันนะ เอาสเต็กจากครัวกับเอากะเพราไก่จากครัวเนี้ย มาฮะ เสิร์ฟ ถูกปะ แต่เสิร์ฟของแพงกว่า ได้ทริปเยอะกว่า อะไรอย่างเงี้ย คือเขาก็เถียงกันอยู่เรื่องทริป culture ใช่ไหม ซึ่ง 10% เดี๋ยวนี้เนี่ย ไม่ได้แล้วนะครับ เดี๋ยวนี้เนี่ย คือ 20% Expectation คิดดูแล้วกัน ว่าแบบ อ่า คนแบบ ถ้าเกิดแบบ sit down เล่นสลอง มีคนมา serve ก็แบบ อ่า 20% 15-20% ของค่าอาหาร ซึ่งมันเยอะนะ 100 นึง ทิป 20 อ่ะ จากอาหารราคา 100 นึง ก็เป็น 120 นั่นแหละ ก็ไม่รู้เหมือนกันว่า เมการ์เค้า อะไรยังไง ถ้าขอบริการไม่ดี ไม่ทิปได้ไหม ก็ได้แหละ แต่ว่าก็คำถามคือ บริการไม่ดีคืออะไรอ่ะ คือมันต้องเฮียสุดๆ ถึงจะแบบ ถึงจะแบบ ไม่ให้ทิฟต์ ใช่ปะ ถ้าคือเค้าบริการแบบทั่วไปอะ ก็เป็นงานแบบ ปกติพนักงานเสิร์ฟต้องทำอยู่แล้วอะ จะไม่ทิฟต์ได้หรอ หรือยังไง Mac AFC มีทิฟต์ไหมครับ ก็ติ Fast Food เราก็จะไม่ทิฟต์อยู่แล้วปะ แต่เดี๋ยวนี้ก็มีให้ทิฟต์ แต่ตอนจ่ายตังค่ะ เขาถาม แบบว่า iPad เขาจะถามว่า มึงทิฟต์ปะ เอ้า แต่ก่อนที่เคยทิฟต์แต่นั่งร้านอาหาร เดี๋ยวนี้ Fast Food ก็ต้องทิฟต์แล้วหรอ แล้วช่างไฟอะ ช่างไฟต้องทิฟต์ไหมเนี่ย แต่นี่มันแบบ เส้นมันเบอร์มาก ต้องทิศทุกคนปะเนี่ย กาแฟอย่างเงี้ย แบบชงกาแฟอย่างเงี้ย บาริสต้าต้องทิศหรือเปล่า บาริสต้าก็ต้องทํากาแฟชงกาแฟอยู่แล้วปะ หรืออย่างเงี้ย อะไรอย่างเงี้ย ผมเขียนโค้ด เสร็จปุ๊บ กดเขียนพีอาร์ เมิด เมิดเข้า โค้ดเวสหลัก ปุ๊บ ไม่ได้เลย ต้องทิศผมปะ 15% หรือ 20% ดี หรือ ใช่ปะ